SlideShare a Scribd company logo
1 of 39
ประเพณีว ัฒ นธรรมสัง คมไทย
สัง คมไทยในภาคกลาง
         ลักษณะภูมศาสตร์ของภาคกลางเป็นปัจจัยสำาคัญ
                     ิ
   ทำาให้บริเวณภาคกลางเป็นแหล่งอุดมสมบูรณ์ เป็นที่
   ตั้งของชุมชนทังในระดับหมูบ้าน และระดับเมืองมา
                   ้               ่
   เป็นเวลาช้านาน
         ภาคกลางพืนทีส่วนใหญ่ เป็นบริเวณ
                       ้ ่
   ดินดอนสามเหลี่ยม อันเกิดจากการทับถมของแม่นำ้า
   หลายสายทีไหลลงสู่มาจากภูเขา และทีสูงทางภาค
                ่                          ่
   เหนือ ซึ่งได้แก่ ลำานำ้าปิง วัง ยม นาน ที่มารวมกันเป็น
   ลำานำ้าเจ้าพระยา และพื้นทีส่วนใหญ่เป็นเทือกเขา
                                 ่
   และแม่นำ้า ทำาให้เหมาะแก่การปลูกข้าวเป็นอย่างมาก
   เพราะสามารถปลูกได้ทงข้าวนาดำา และนาหว่าน นั่น
                              ั้
                                                            1
   ก็คือ บริเวณใดทีเป็นทีค่อนข้างดอน หรือทีไม่ลุ่มจน
                        ่   ่                   ่
โดยเหตุที่เป็นบริเวณที่ราบลุ่มอุดมสมบูรณ์มี
นำ้าหล่อเลี้ยงเมือถึงฤดูกาล ทำาให้เป็นแหล่งปลูก
                 ่
ข้าว ซึ่งเป็นอาหารหลักของคนในภูมิภาค
เอเชีย
    จึงมีผู้คนอพยพ หรือเคลื่อนย้ายลงมาตั้ง
หลักแหล่งในบริเวณลุ่มนำ้าเจ้าพระยามากกว่า
บริเวณอื่นๆ ของประเทศ การเคลื่อนย้ายดัง
กล่าวนีเป็นกระบวนการเรื่อยมาตั้งแต่สมัยตอน
        ้
ปลายของยุคก่อน ประวัติศาสตร์แล้ว

                                                  2
ความลัก ษณะเชื่อ
     เป็นการทำาบุญตลอดจนบูชาและอุทิศส่วน
กุศลให้พระภูมิเจ้าที่ เจ้ากรรมนายเวร เพื่อขอ
ความคุ้มครองให้อยู่เย็นเป็นสุขและประสบความ
เจริญรุ่งเรืองในหน้าที่การงาน ขับไล่สงเลวร้าย
                                     ิ่
ต่าง ๆ ที่ผ่านมาให้หมดสิ้นไปด้วยการสะเดาะ
เคราะห์ และขอให้ฝนตกตามฤดูกาล อันจะทำาให้
พืชพันธุ์ธัญญาหารอุดมสมบูรณ์


                                                3
การประกอบอาชีพ
    เนื่องจากภาคกลางเป็นที่ราบลุ่มขนาด
ใหญ่มีนำ้าท่วมประชาชนส่วนใหญ่จึงมีอาชีพ
ทางเกษตรกรรม เช่น การทำานา การทำาไร่
ทำาสวน เลี้ยงสัตว์ ทำาประมง โดยเฉพาะการ
ทำาประมงนำ้าจืด เพราะมีแม่นำ้าหลายสาย
ปัจจุบนประชาชนส่วนใหญ่หันไปประกอบอุ
      ั
สาหกรรมมากขึ้น



                                          4
การประกอบอาชีพ
        เนื่องจากภาคกลางเป็นที่ราบลุ่มขนาดใหญ่
มีนำ้าท่วมประชาชนส่วนใหญ่จึงมีอาชีพทาง
เกษตรกรรม เช่น การทำานา การทำาไร่ ทำาสวน
เลี้ยงสัตว์ ทำาประมง โดยเฉพาะการทำาประมงนำ้า
จืด เพราะมีแม่นำ้าหลายสาย ปัจจุบันประชาชน
ส่วนใหญ่หันไปประกอบอุสาหกรรมมากขึ้น
ที่อ ยูอ าศัย
       ่
       เนื่องจากพื้นที่ภาคกลางเป็นที่ราบลุ่ม เมื่อถึง
หน้านำ้าจะมีนำ้าหลากมาท่วมขัง ชาวภาคกลางจึง
นิยมสร้างเรือนที่มีใต้ถุนสูงมากเพื่อไม่ให้นำ้าท่วม
ถึงตัวเรือน ลักษณะหลังคาเป็นจั่วแหลมเพื่อให้นำ้า    5

ฝนไหลลงได้เร็ว ไม่รั่วซึมเข้าตัวเรือน
อาหารการกิน
     ชาวภาคกลางนิยมบริโภคข้าวเจ้าเป็นอาหาร
หลัก เนื่องจากภาคกลางเป็นแหล่งปลูกข้าว
ส่วนอาหารต่างๆ
มีมากมายหลายชนิด เพราะเป็นแหล่งที่มีความ
อุดมสมบูรณ์ อาหารที่คนนิยมรับประทาน เช่น
นำ้าพริกปลาทู แกงจืด แกงส้ม แกงเผ็ด อาหาร
ประเภทผัด ทอด
ภาษาและการแต่ง กาย
   ภาษาของชาวภาคกลางมีสำาเนียงใกล้เคียง
กับภาษาของทางราชการ ลักษณะการแต่งกาย
นิยมใช้ผาฝ้ายสีเข้ม ซึ่งระบายความร้อนได้ดี
        ้                                    6
ประเพณี
     ชาวภาคกลางจะมีวิถีชีวิตที่เกี่ยวพ้นกับนำ้า จึง
มีประเพณีเกี่ยวข้องกับนำ้า เช่น ประเพณีแข่งเรือที่
จังหวัดพิษณุโลก
ประเพณีงานลอยกระทงเผาเทียนเล่นไฟที่ จังหวัด
สุโขทัย นอกจากนี้ยังมีประเพณีที่สำาคัญๆ เช่นงาน
ประเพณีตักบาตรดอกไม้ที่ จ.สระบุรี งานประเพณี
บวชช้าง จ. สุโขทัย งานตักบาตรเทโวที่ จ.
อุทัยธานี


                                                  7
ภูม ิป ญ ญาท้อ งถิ่น
       ั
       มีการทำาโอ่งที่ จ. ราชบุรี การทำามีดอรัญญิก
ที่ จ.ระนครศรีอยุธยา หัตถกรรมเครื่องจักรสานพื้น
บ้านการทำากลองยาว การทอผ้า การทำาเรือและ
ด้วยเบญจรงค์




                                                8
วัฒ นธรรมประเพณีใ นภาคกลาง
ประเพณีแ ข่ง เรือ ยาว




ประเพณีต ัก บาตรดอกไม้




                             9
วัฒ นธรรมครอบครัว และสัง คมใต้
    ชาวภาคใต้ส่วนใหญ่อยู่ในสังคม
เกษตรกรรม ที่ต้องพึ่งพาแรงงานครอบครัวชาว
ใต้จึงมักเป็นครอบครัวใหญ่ มีความสัมพันธ์กันดี
ระหว่างผู้สูงอายุ และบุตรหลาน มีวัฒนธรรมการ
ผูกญาติผกมิตร รักพวกพ้องและญาติอย่าง
          ู
เหนียวแน่น เป็นสังคมที่อบอุ่น มีนิสยเอื้อเฟื้อต่อ
                                   ั
กัน เนื่องจากภาคใต้เคยชินต่อการพบกับคน
แปลกหน้า ซึ่งผ่านเข้ามาติดต่อค้าขาย จึงเป็นผู้
มีนิสยนักเลง กล้าได้กล้าเสีย
     ั                                              10
มีค วามเชื่อ
    เป็นความเชื่อเกี่ยวกับการห้ามเดินทางใน
เวลาก่อนยำ่าคำ่าต้องรอให้มืดเสียก่อนจึงจะเดิน
ทางต่อไป เพราะเชือว่าเวลาดังกล่าวเป็นยำ่ายาม
                     ่
ของภูตผีปีศาจ ความเชือของชาวบ้านในเรื่องนี้
                        ่
ผูกพันกับเรื่องราวของโชคลาง
การประกอบอาชีพ
    เนื่องจากนี้มีฝนตกชุก ประชาชนส่วนใหญ่
จึงประกอบอาชีพในการทำาสวนยางพารา ทำา
สวนมะพร้าว ทำาสวนผลไม้ ทำาเหมืองแร่ ทำา
ประมง ประชาชนในภาคนี้จึงมีเศรษฐกิจดี แต่
ก็มักประสบปัญหาจากภัยธรรมชาติอยู่บอยๆ่
เช่น พายุ นำ้าท่วม                          11
ทีอ ยูอ าศัย
  ่ ่
     ภาคใต้เป็นภาคทีฝนตกชุกและบางครั้งคราวอาจ
                        ่
ประสบปัญหาจากภัยธรรมชาติ เช่น พายุ ทำาให้เรือนที่
ปลูกทางภาคใต้นี้มหลังคาทรงเตี้ยและลาดชัน เพื่อไม่ให้
                    ี
ต้านลมมากเกินไป เสาเรือนจะไม่นิยมฝังลงดิน แต่จะวาง
บนฐานทีทำาจากไม้เนือแข็ง หรือแท่งซีเมนต์หล่อ เพือไม่
         ่            ้                         ่
ให้เสาผุผังเร็ว
อาหารการกิน
    ชาวภาคใต้นิยมบริโภคข้าวเจ้า กับอาหารต่างๆ เช่น
แกงไตปลา แกงเหลือง นอกจากนียงมีอาหารพืนเมือง
                                ้ ั        ้
เช่น ข้าวยำา บูดูหลน ผัดสะตอ ลูกเนียง อาหารทะเลชนิด
ต่างๆ
ภาษาและการแต่ง กาย
    ภาษาทีใช้เป็นภาษาถินทีเรียกว่า ภาษาปักษ์ใต้ ซึ่งมี
            ่             ่ ่
สำาเนียงสั้นๆเร็ว และกระชับ การแต่งกายแตกต่างกันไป
                                                       12
ประเพณี
ภาคใต้มีสมโภชหลักเมืองที่ จ.ยะลา
งานสมโภชเจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยวที่ จ. ปัตตานี
งานประเพณีสารทเดือนสิบและงานแห่ผ้าขึ้นพระ
ธาตุที่ จ.นครศรีธรรมราช
งานประเพณีของดีเมืองนรา และแข่งเรือกอที่
จ.นราธิวาส
งานท้าวเทพกระษัตรี - ท้าวศรีสุนทรที่ จ.ภูเก็ต
งานประเพณีชกพระและ ทอดผ้าป่าที่
              ั
จ.สุราษฎร์ธานี เป็นต้น
ภูมิปญญาท้องถิ่น
     ั
    ภาคใต้มีงานหัตถกรรมที่มีชอเสียง เช่น เครื่อง
                             ื่                 13
วัฒนธรรมประเพณีใน
       ภาคใต้
  ประเพณีแข่งเรือกอ




                      14
สัง คมไทยในภาคตะวัน ออก
ภาคตะวันออกเฉียเฉียอ หรือภาคอีสาน เป็น
               งเหนื งเหนือ
ภาคที่กว้างใหญ่มาก มีพื้นที่ 160 ล้านไร่ มี
ประชากร 20 ล้านคน (พ.ศ. 2538)
    ทั้งพื้นที่และประชากรคิดเป็น 1 ใน 3 ของ
ความเชือ    ่
ประเทศ ประกอบด้วย 18 จังหวัด
   ชาวอีสานยังคงเชือถือเรื่องผีต่างๆ อยู่มาก เช่น
                     ่
ผีบรรพบุรุษ ผีนา ผีไร่ ผีปู่ตา (รักษาหมู่บ้าน) ทุก
หมู่บ้านต้องสร้างศาลปูตา และประกอบพิธี เซ่น
                       ่
ไหว้ อยู่เป็นประจำา
                                                     15
เนื่องจากเชื่อผีมอิทธิฤทธิ์ในให้คุณให้โทษทัวไปยัง
                        ี                        ่
ปฏิบัติกันอยูในวิถีประจำาวัน
             ่
ตัวอย่างพิธีบายศรีสขวัญในโอกาสสำาคัญ เช่น การ
                     ู่
แต่งงาน การบวช การเจ็บป่วย การต้อนรับแขกผู้มาเยือน
ความเชื่อในพุทธศาสนา ชาวบ้านเชื่อในเรื่องบาปบุญ
คุณโทษ กฎแห่งกรรม

ประเพณี และพิธ ก รรมต่า งๆ
               ี
มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับความเชื่อดังกล่าว ในการ
ประกอบพิธีกรรมต่างๆ
ชาวบ้านมุงให้เกิดความสุขความสบายใจเป็นหลัก เช่น
           ่
ประเพณีแห่ผีตาโขน
บั้งไฟ แห่เทียนพรรษา และไหลเรือไฟ เป็นต้น

                                                      16
ขนบประเพณี
    ชาวอีสานยึดมันและปฏิบัติตามฮีตสิบสองอย่างมันคง
                    ่                            ่
ฮีตสิบสอง หมายถึงจารีตประเพณี ที่ชาวอีสานปฏิบัติกน ั
ในโอกาสต่างๆ ทิงสิบสองเดือนของแต่ละปี จารีตประเพณี
                  ้
ทังสิบสิงเดือนทีชาวอีสานทำาบุญต่างๆ มีดังนี้
  ้             ่
1. เดือนอ้าย บุญเข้ากรรม เป็นการทำาบุญตักบาตรถวาย
ภัตตาหารและฟังเทศน์ เนื่องในโอกาสทีพระสงฆ์อาบติขึ้น
                                      ่
รองจากปาราชิก ให้เข้าไปอยู่ในทีอันจำากัด เพือทรมาน
                                 ่             ่
ร่างกายให้หายจากกรรม ชำาระจิตใจให้หายมัวหมอง และ
พ้นจากอาบัติ
2. เดือนยี่ บุญคูณลาน เป็นการทำาบุญสู่ขวัญทีนวดเสร็จ
                                             ่
แล้ว และกองไว้ในลานข้าว
3. เดือนสาม บุญข้าวจี่ ทำาบุญตักบาตร
4. เดือนสี่ บุญผะเหวดาหรือบุญมหาชาติ ทำาบุญฟังเทศน์17
มหาชาติ
7. เดือนเจ็ด บุญซำาฮะ ทำาบุญชำาระล้างสิ่งที่เป็นเสนียด
จัญไร อันจะทำาให้เกิดความเดือดร้อน แก่บ้านเมือง มีการ
เลี้ยงผีปู่ตาและผีตาแฮก (ผีรักษาไร่นา)
8. เดือนแปด บุญเข้าพรรษา
9. เดือนเก้า บุญข้าวประดับดิน ทำาบุญอุทศส่วนกุศลให้
                                          ิ
แก่เปรตและญาติมตรทีตายไปแล้ว
                        ิ ่
10. เดือนสิบ บุญข้าสาก (ข้าวกระยาสารท) ทำาบุญอุทศ      ิ
ให้แก่ผู้ตายและเปรต มีการแลกเปลี่ยนข้าวกระยาสารท
กันระหว่างญาติพน้อง และชาวบ้านใกล้เรือนเคียง
                     ี่
11. เดือนสิบเอ็ด บุญออกพรรษา มีการถวายปราสาท
ผึ้ง(ขี้ผึ้งประดิษฐ์เป็นปราสาท) การล่องเรือไฟ (ไหลเรือ
ไฟ) และการแข่งเรือพาย
12. เดือนสิบสอง บุญกฐิน
                                                      18
ลัก ษณะความเชือ ภาคอีส าน
              ่
คนโบราณมักจะเชื่อในเรื่องต่างๆ ว่าจะดี หรือร้าย หรือ
เจริญรุ่งเรืองอยู่เย็นเป็นสุข มีคนเกรงขาม นับหน้าถือตาขึ้น
อยู่กบว่าในบ้านต้องมีสิ่งต่างๆที่ชื่อเป็นมงคลนาม เช่น ต้นไม้
      ั
ที่ปลูกในบ้าน ,การก่อสร้างบ้าน การจัดสิ่งของเครื่องใช้
เครื่องนอนภายในบ้าน การแต่งกาย เป็นต้น
ความสำาคัญความเชื่อ ถ้าคนที่เชื่อแล้วปฏิบัติ หรือทำาตาม
ความเชื่อดังกล่าวแล้วจะทำาให้เกิดความสบายใจ

พิธ ีก รรม
การปลูกต้นไม้ในบ้าน
- ปลูกต้นมะขามหน้าบ้าน เชื่อว่าคนจะเกรงขาม
- ปลูกต้นมะยม เชื่อว่าคนจะนิยมชมชอบ
- ปลูกต้นเงิน ต้นทอง เชื่อว่าจะมีเงิน มีทอง ฯลฯ
                                                               19
การจัด ที่น อน - การจัดทีนอน หรือการนอน
                         ่
ต้องวางหมอน หรือศีรษะไปทางทิศตะวันออกสิ่ง
ศักดิสิทธิ์ในบ้าน ในบ้านต้องมีพระพุทธรูปกราบไหว้
     ์
เพือเป็นศิริมงคลสำาหรับชาวพุทธทุกครัวเรือน
   ่

การประกอบอาชีพ -เนื่องจากพื้นทีเป็น
                               ่
ทีราบสูงจึงเหมาะแก่การเลี้ยงสัตว์ มีการทำานาและ
  ่
การเพราะปลูกในแถบลุ่มแม่นำ้ามูลและแม่นำ้าชี
นอกจากนียังมีการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม และการทำาอุ
           ้
สาหกรรมในครัวเรือน เช่น การทอผ้าไหม ผ้าฝ้าย
เป็นต้น

ที่อ ยู่อ าศัย - การสร้างบ้านส่วนใหญ่มลักษณะเปิด
                                      ี
โล่งมีฝากั้นในส่วนทีเป็นพืนทีนอน และใต้ถุนยกสูง
                    ่     ้ ่                      20
อาหารการกิน - ชาวอีสานนิยมบริโภคข้าว
เหนียวเป็นอาหารหลัก เหมือนชาวเหนือโดยรับ
ประทานกับแจ่ว อาหารอื่นๆ เช่น ส้มตำา ลาบ
นำ้าตกเนื่องจากภาคอีสานมีพื้นที่แห้งแล้ง และ
อยู่ห่างไกลทะเลคนในภาคนี้จึงกินอยู่ง่ายและ
นำาพืชและสัตว์ที่หาได้ในท้องถิ่นมาประกอบ
อาหาร

ภาษาและการแต่ง กาย - ภาษาที่ใช้พูด คือ
ภาษถิ่นอีสานซึ่งมีจังหวะการพูดเร็วกว่าภาค
เหนือ การแต่งกายนิยมใช้ผาที่ทำาจากเส้นใย
                           ้
ธรรมชาติ เช่น ผ้าฝ้าย ผ้าไหม
                                               21
สำาคัญ ๆ เช่น
งานสมโภชพระธาตุเชิงชุมและงานแห่ปราสาทผึ้งที่
จ. สกลนคร
งานนมัสการพระธาตุพนมและงานประเพณีไหลเรือ
ไฟที่ จ. นครพนม
งานประเพณีแห่เทียนเข้าพรรษาที่ อุบลราชธานี
งานแห่ผีตาโขนที่ จ. เลย
งานประเพณีแห่นาคด้วยขบวนช้างที่ จ.สุรินทร์ และ
งานบุญบั้งไฟที่ จ. ยโสธร

ภูม ป ัญ ญาท้อ งถิน - มีการทอผ้าต่างๆ เช่น ผ้าแพร
    ิ             ่
วาของ จ.กาฬสินธุ์
การทำาหัตถกรรมเครื่องจักรสาน การทำาเครื่องดนตรี

                                                    22
วัฒนธรรมประเพณีในภาคตะวันออก
          เฉียงเหนือ
    งานประเพณีไ หลเรือ ไฟ




                               23
สัง คมไทยในภาคเหนือ
1. สภาพทางภูมิศาสตร์ ภาคเหนือตอนบนเป็นภาคที่มีภเขา และ
                                                  ู
เทือกเขาสูง แต่อยู่นอกเขตภูเขาไฟ มีที่ราบแคบๆ ระหว่างภูเขา
มีทมที่เป็ นแอ่ง เช่น ที่ราบลุ างนี้
กลุี่ราบเป็นภาคเหนือตอนล่่มแม่นำ้าปิง วัง ยม น่าน
จะมีลกษณะทางวัฒนธรรมที่แตกต่างจากภาคเหนือตอน
       ั
บนลักษณะทางวัฒนธรรมที่เกิดจากสภาพภูมิศาสตร์ อาจ
แบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มคนที่อยู่ตามหุบเขา ในที่ราบ
ตำ่าต้องมาร่วมมือกันในการจัดการกับแหล่งนำ้าที่ต้องอาศัย
ในการเพาะปลูกร่วมกันระบบปันนำ้า ระบบการร่วมแรง
ร่วมใจกันทำาเหมืองฝายจึงเกิดขึ้นเพื่อให้แจกจ่ายนำ้าทั่ว
ถึงกันการทำาเหมืองฝาย หมายถึง ทุกคนต้องให้ความร่วม
มือทำางานก่อสร้างเหมืองฝายหากไม่ร่วมมือก็จะไม่ได้การ
ปันนำ้า หรือหากมีการขโมยนำ้าจะถูกลงโทษปรับไหมส่วน
ระบบปันนำ้าทำาให้เกิดการมอบหมายให้ผู้ดูการแจกจ่าย
นำ้าเป็น "แก่นำ้า"ซึ่งได้รับการยอมรับนับถือว่ามีความ         24
ยุติธรรม
2. วิถีชีวิตของชุมชนในภาคเหนือ หนังสือภูมิทัศน์ไทย
ของสำานักนายกรัฐมนตรี กล่าวสรุปวิถีชีวิตของสังคมไทย
ในภาคเหนือ ในด้านต่างๆ ให้เป็นิถีชีวิตและความเป็นอยู่
ชาวไทยในภาคเหนือส่วนใหญ่มีว ภาครวมทั้งภูมิภาค
ในกรอบของวัฒนธรรมท้องถินทีปัจจุบันเรียกว่า
                               ่ ่
วัฒนธรรม "คนเมือง " หรือ "คนล้านนา"
ตามชื่อของอาณาจักรที่มีการปกครองแบบนครรัฐที่ตั้ง
ขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 18 โดยพญาเม็งราย และมี
ศูนย์กลางอยู่ทเมือง "นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่“ ถึง
               ี่
แม้ว่า อาณาจักรนี้ยังประกอบด้วยวัฒนธรรมท้องถิน ที่ ่
แยกย่อยออกไป องค์ประกอบที่สำาคัญก็ยังมีความ
คล้ายคลึงกันอยู่มาก โดยเฉพาะเรื่องการดำารงชีวตแบบ
                                               ิ
เกษตรกร
การานับถือสิ่งศักดิ์สิทธิ์และวิญญาณของบรรพบุรษ ที่
                                                 ุ
เรียกว่า "ผี"
ความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา แบบเถรวาท และการ             25

แสดงออกของความรู้สึกนึกคิด และอารมณ์โดยผ่าน
การประกอบอาชีพ – เนื่องจากภูมิประเทศใน
ภาคเหนือเป็นภูเขา ทำาให้มอากาศค่อนข้างหนาว
                         ี
อาชีพทีสำาคัญของคนในภาคนี้คือ การเพราะปลูก
       ่
การทำาสวนผลไม้ การทำาผลไม้ การทำาป่าไม้
นอกจากนี้ยงมีการทำา อุสาหกรรมในครัวเรือนเช่น
           ั
การปั้นถ้วยชาม การแกะสลัก เป็นต้น

ที่อ ยู่อ าศัย – คนในภาคเหนือนิยมปลูกเรือน
ใต้ถุนไม่สูงมากนัก เพราะสร้างเรือนอยูตามทีดอน
                                      ่    ่
ช่องหน้าต่างไม่กว้างเพือป้องกันไม่ให้ลมเข้ามาก
                        ่
ตัวเรือนมีลักษณะเด่นทียอดหลังคาทำาเป็นไม้ไขว้
                      ่
กันเป็น 2 แฉก เรียกว่า กาแล ซึงถือเป็นลักษณะ
เฉพาะของเรือนทางภาคเหนือ                         26
อาหารการ กิน - ชาวเหนือนิยมรับประทานข้าว
เหนียวกับนำ้าพริกต่างๆ เช่น นำ้าพริกอ่อง นำ้าพริก
หนุม นอกจากนี้ยงมี แกงฮังเล แกงโฮะ ข้าวซอย
     ่           ั
ไส้อั่ว แคบหมู รสอาหารจะมีรสเค็มนำา นิยมบริโภค
เนื้อหมูเพราะหาได้ง่ายและราคาถูกส่วนอาหารทะเล
ไม่ค่อยมี เพราะเป็นพืนทีไม่ติดทะเล
                     ้ ่

ภาษาและเครื่อ งแต่ง กาย - ภาษาถิ่นของ
ชาวภาคเหนือ มีลักษณะอ่อนหวานนุมนวล ส่วนการ
                                    ่
แต่งกายทั่วไป หญิงสวมเสื้อแขนกระบอกนุ่งผ้าซิ่น
กรอมเท้า
ชายนิยมสวมเสื้อม่อฮ่อม ซึ่งเป็นผ้าฝ้ายสีกรมท่า แต่
ถ้าเป็นชาวเขาจะแต่งกายแตกต่างกันไปตามเผ่า            27
ประเพณี - ทางภาคเหนือมีประเพณีที่
สำาคัญๆ เช่น
งานนมัสการพระธาตุดอยตุงที่ จ. เชียงราย
งานนมัสการพระบรมธาตุหริภุญชัยที่ จ.
ลำาพูน
งานนมัสการพระธาตุชอแฮที่ จ.แพร่
                     ่
งานพิธีถวายพระเพลิงพระพุทธเจ้าที่ทุ่งยั้ง
งานพระยาพิชยดาบหักที่ จ. อุตรดิตถ์
             ั
งานปล่อยส่างลองที่จ.แม่ฮองสอน เป็นต้น
                        ่

                                            28
ภูม ิป ัญ ญาท้อ งถิ่น - ทางภาคเหนือ
มีการทำาเครื่องเขิน
งานหัตถกรรมประเภทเครื่องจักรสาน
เครื่องปันดินเผา งานแกะสลัก การทำา
         ้
ร่ม ซึ่งผลงานเหล่านี้ถือเป็นภูมิปัญญา
ท้องถิ่น ที่สร้างความภาคภูมิใจให้กับ
ชาวเหนือ


                                        29
วัฒนธรรมประเพณีในภาคเหนือ

 ประเพณีปล่อยโคม




งานนมัสการพระธาตุดอยตุง




                                   30
ด้า นสัง คมภาค ตะวันออก
     พืนทีส่วนใหญ่ในภาคกลางเป็นทีราบลุ่มและ
       ้ ่                           ่
เป็นแหล่งผลิตเกษตรทีสำาคัญของประเทศคนใน
                              ่
พืนทีเดิมจึงมีพนฐานมาจากสังคมภาคเกษตรเป็น
   ้ ่           ื้
ส่วนใหญ่แต่เมือพืนที่ปรับเปลี่ยนไปสู่ภาค
                    ่ ้
อุตสาหกรรมมากขึ้น
นอกจากคนในพืนทีจะปรับเปลี่ยนไปเป็นแรงงาน
                        ้ ่
ในภาคอุตสาหกรรมด้วยแล้วยังมีแรงงานทีย้าย ่
ถิ่นเข้ามาในแหล่งอุตสาหกรรม
จึงทำาให้มการขยายตัวในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
           ี
เช่น อพาร์ทเมนท์ บ้านเช่า หอพัก รวมไปถึงห้าง
สรรพสินค้าเพือรองรับการอุปโภคบริโภคของ
               ่
คนในพื้นที่ แต่ยงไม่มปัญหาแรงงานต่างด้าว
                      ั     ี                  31
เนื่องจากแรงงานไทยมักไม่ทำางานนี้ เพราะ
เป็นงานหนัก ต้องอาศัยความอดทนสูง และ
ต้องอยู่ในทะเลเป็นเวลานาน จึงกลายเป็นผลก
ระทบทางสังคมทางหนึง หากยังไม่ได้รับการ
                     ่
บริหารจัดการที่ดี การขยายตัวในภาค
อุตสาหกรรมของหลายพื้นที่




                                              32
ความเชือและขนบธรรมเนียมประเพณี
          ่
มนุษย์ในโลกตะวันออกแต่ละชาติแต่ละภาษามี
ความเชือถือทีแตกต่างกันออกไปบ้างและ
            ่    ่
คล้ายคลึงกันบ้าง ส่วนที่คล้ายคลึงกันนั้น เป็น
เพียงเรื่องของศาสนาซึ่งเป็นสื่อทีปฏิบัติอย่าง
                                 ่
เดียวกันเพียงบางส่วนเท่านัน เช่น ศาสนาพุทธ
                           ้
เป็นต้น มีการอุปสมบทกุลบุตร และพิธีกรรมทาง
ศาสนาเหมือนกันแต่การสร้างสรรค์ศิลปะของ
แต่ละประเทศแตกต่างกันออกไป เช่น
ประเทศไทยกับประเทศพม่า เวียดนาม เป็นต้น
แสดงให้เห็นว่า ขนบธรรมเนียม ประเพณี และ
การประพฤติปฏิบัติทกระทำาอย่างเดียวกันใน
                    ี่
แต่ละชาตินน ยังแตกต่างกันออกไปด้วยและทุก
              ั้                                33
1.มนุษย์ในตะวันออกมิได้มศาสนาใดศาสนา
                               ี
หนึงทีเป็นแกนสำาคัญของสังคมร่วมกันแต่จะ
     ่ ่
แยกกันออกไปตามความเชื่อถือและแม้ว่าส่วน
หนึงจะนับถือศาสนาพุทธแต่ไม่มศูนย์กลางอัน
      ่                          ี
เป็นแกนสำาคัญร่วมกันเหมือนคริสต์ศาสนาโรมัน
คาทอริกส่วนศาสนาอิสลามแม้ว่าจะมีแหล่ง
ศักดิ์สิทธิ์ร่วมกันทีประเทศซาอุดิอาระเบีย แต่ก็
                     ่
มิได้เป็นไปในรูปองค์กรเหมือนแหล่งกลางทีกรุง่
วาติกันของโรมันคาทอลิกนอกจากนั้นใน
ประเทศยังมีความเชื่อถือทีแตกต่างกันออกไป
                           ่
มากเช่น ในอินเดียมีลัทธิมากมายในญี่ปุ่นก็เช่น
เดียวกันแต่ก็มนบธรรมเนียมทางสังคมทีเข้มแข็ง
                 ี                      ่
เคร่งครัดอย่างยิ่งจึงทำาให้มการสร้างสรรค์ศิลปะ
                             ี
                                                  34
เพือจรรโลงศาสนาที่แตกต่างกันไปมากและเห็น
   ่
2. ความเชื่อถือในศาสนาของชาวตะวันออก แตก
ต่างกันออกไปแต่ละศาสนา บางศาสนาเชื่อว่า
มนุษย์เกิดมาด้วยกรรมซึ่งตนเองได้กระทำาไว้แต่ใน
ชาติปางก่อนผลอันบังเกิดในชาตินก็เป็นกระแส
                                   ี้
ของกรรมแต่ชาติปางก่อนมีส่วนให้เป็นไปด้วยและ
การกระทำาในชาตินก็ยงมีผลไปถึงชาติหน้าด้วยแต่
                     ี้ ั
บางศาสนามีความเชือรุนแรงมากกว่านันโดยเชื่อว่า
                       ่               ้
หากกระทำาตนเองให้ตำ่าต้อยหรือกดดันตัวเองให้ทน
ทุกข์ทรมานมากก็จะยิ่งได้บุญกุศลมาก โดยการ
ปล่อยจิตใจให้ลุล่วงพ้นไปสู่ภพทีสูงกว่าและในบาง
                                ่
ศาสนามีความเชื่อในเรื่องวิญญาณบรรพบุรุษอยู่
มากการน้อมเคารพบรรพบุรุษและการควบคุม
จริยธรรมในการประพฤติปฏิบัติเป็นสิ่งสำาคัญมาก       35

ทีสุด ทั้งหมดนีจึงมีส่วนสร้างสรรค์ศิลปะทีแตกต่าง
  ่            ้                         ่
3. ชาติตะวันตกให้ความสนใจกับจิตวิญญาณ
มาก ความผูกพันระหว่างคนเป็นกับคนตาย ยัง
เป็นเยือใยทีเคร่งครัด จึงมีการเซ่นไหว้และ
       ่    ่
บวงสรวงระลึกถึงกัน แม้บางประเทศจะมีการเผา
ศพ เช่น ประเทศไทย แต่บางประเทศก็ยงนิยม  ั
นิยมฝังศพ เพือรักษาเรือนร่างไว้ชั่วนิรันดร จะถูก
              ่
ทำาลายไม่ได้ ในการตกแต่งตามพิธีการเหล่านี้เอง
ทีใช้ศิลปะเข้าช่วยเป็นอย่างมาก ทำาให้เกิดแบบ
  ่
อย่างศิลปะเป็นพิธีการขึ้นอีกรูปแบบหนึ่ง

4. ขนบประเพณีต่าง ๆ ของชาวตะวันออก เป็น
ขนบธรรมเนียมประเพณีทยึดมันผูกพันอยู่กับ
                     ี่  ่
ชนชาติในอดีต
                                                   36
การประกอบอาชีพ - อาชีพในภาคนี้ส่วนใหญ่
เป็นพืช สวน พืชไร่ การประมง พืชสวนทีสำาคัญ
                                         ่
ได้แก่ เงาะ ส่วนพืชไร่มีอ้อย มันสำาปะหลัง และ
สับปะรด
ทำาการประมงทำากันตามชายฝั่งโดยทั่วไป และมี
การเลี้ยงกุง
           ้
มีการทำางานเป็นส่วนน้อยทีอยูอาศัย – มีบ้านเป็น
                           ่ ่
หลังๆ และอาคารชุดเป็นจำานวนมาก

อาหารการกิน - ประกอบอาหารขึ้นจากวัตถุดิบที่
มีอยูแล้วในท้องถิน เช่น กุ้ง หอย ปู ปลา เป็นต้น
     ่           ่

                                                  37
ภาษาและการแต่ง กาย – ประชากรพูด
สำาเนียงไทยภาคกลาง
แต่จะมีเสียงเพียนไปบ้าง การแต่งกายมีลักษณะ
               ้
เช่นเดียวกับคนภาคกลาง
ประเพณี - ของคนในภาคตะวันออกคือ งานบุญ
เช่นเดียวกับชนในภาคอื่น
ทีวัดทำาบุญในวันสำาคัญทางศาสนามีเทศกาล
  ่
นมัสการ หลวงพ่อโสธร ที่ จ.
ฉะเชิงเทรา งานสมโภชคันศรีมหาโพธิ 200 ปี ที่
จังหวัดปราจีนบุรี

ภูม ป ญ ญาท้อ งถิ่น - ประดิษฐ์เครื่องมือใช้ที่
    ิ ั
ทำาจากวัสดุในท้องถิ่นเช่น                        38

เครื่องจักสาน มีกระบุง ตะกร้า และของป่าเอามา
วัฒนธรรมประเพณีในภาคตะวันออก
ประเพณีแข่งควายชลบุรี



ระเพณีงานนมัสการหลวงพ่อโสธร




                                     39

More Related Content

What's hot

แผนการเรียนรู้เกษตร1
แผนการเรียนรู้เกษตร1แผนการเรียนรู้เกษตร1
แผนการเรียนรู้เกษตร1juckit009
 
สุขศึกษา ม.2 หญิงชายเท่าเทียมกัน
สุขศึกษา ม.2 หญิงชายเท่าเทียมกัน สุขศึกษา ม.2 หญิงชายเท่าเทียมกัน
สุขศึกษา ม.2 หญิงชายเท่าเทียมกัน Darika Surarit
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5อำนาจ ศรีทิม
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองIct Krutao
 
ความรู้ทั่วไปทวีปอเมริกาใต้
ความรู้ทั่วไปทวีปอเมริกาใต้ความรู้ทั่วไปทวีปอเมริกาใต้
ความรู้ทั่วไปทวีปอเมริกาใต้leemeanshun minzstar
 
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีเอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีSophinyaDara
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์Pazalulla Ing Chelsea
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4Ngamsiri Prasertkul
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
โครงสร้างลูกเสือม1
โครงสร้างลูกเสือม1โครงสร้างลูกเสือม1
โครงสร้างลูกเสือม1ดอย บาน ลือ
 
เตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ ม
เตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ มเตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ ม
เตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ มkrupornpana55
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้kruteerapol
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57Chok Ke
 
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้Nattapakwichan Joysena
 
แผนการเรียนรู้เกษตร6
แผนการเรียนรู้เกษตร6แผนการเรียนรู้เกษตร6
แผนการเรียนรู้เกษตร6juckit009
 
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 newเฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 newjuckit009
 

What's hot (20)

แผนการเรียนรู้เกษตร1
แผนการเรียนรู้เกษตร1แผนการเรียนรู้เกษตร1
แผนการเรียนรู้เกษตร1
 
สุขศึกษา ม.2 หญิงชายเท่าเทียมกัน
สุขศึกษา ม.2 หญิงชายเท่าเทียมกัน สุขศึกษา ม.2 หญิงชายเท่าเทียมกัน
สุขศึกษา ม.2 หญิงชายเท่าเทียมกัน
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 
ความรู้ทั่วไปทวีปอเมริกาใต้
ความรู้ทั่วไปทวีปอเมริกาใต้ความรู้ทั่วไปทวีปอเมริกาใต้
ความรู้ทั่วไปทวีปอเมริกาใต้
 
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีเอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
โครงสร้างลูกเสือม1
โครงสร้างลูกเสือม1โครงสร้างลูกเสือม1
โครงสร้างลูกเสือม1
 
เตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ ม
เตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ มเตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ ม
เตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ ม
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
 
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
 
แผนการเรียนรู้เกษตร6
แผนการเรียนรู้เกษตร6แผนการเรียนรู้เกษตร6
แผนการเรียนรู้เกษตร6
 
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 newเฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
 

Similar to ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว

งานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางงานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางorawan155
 
งานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนืองานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนือtonsocial
 
ภาคเหนือเจ้า3
ภาคเหนือเจ้า3ภาคเหนือเจ้า3
ภาคเหนือเจ้า3aoysumatta
 
วัฒนธรรมประเภณีเเละอาหารภาคอีสาน
วัฒนธรรมประเภณีเเละอาหารภาคอีสานวัฒนธรรมประเภณีเเละอาหารภาคอีสาน
วัฒนธรรมประเภณีเเละอาหารภาคอีสานJannarong
 
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่งtie_weeraphon
 
Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7tongsuchart
 
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงโครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงLookNam Intira
 
ธรรมชาติยาตรา เพื่อลำน้ำชี
ธรรมชาติยาตรา เพื่อลำน้ำชีธรรมชาติยาตรา เพื่อลำน้ำชี
ธรรมชาติยาตรา เพื่อลำน้ำชีbawtho
 
โครงการ สวนผลไม้ชาวเขา
โครงการ สวนผลไม้ชาวเขาโครงการ สวนผลไม้ชาวเขา
โครงการ สวนผลไม้ชาวเขาYves Rattanaphan
 
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”Tum Meng
 
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือtonsocial
 
สังคม ภาคกลาง
สังคม ภาคกลางสังคม ภาคกลาง
สังคม ภาคกลางtonsocial
 
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้Nattapakwichan Joysena
 

Similar to ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว (20)

งานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางงานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลาง
 
งานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนืองานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนือ
 
ภาคเหนือ
ภาคเหนือภาคเหนือ
ภาคเหนือ
 
Wisdom1
Wisdom1Wisdom1
Wisdom1
 
ภาคเหนือเจ้า3
ภาคเหนือเจ้า3ภาคเหนือเจ้า3
ภาคเหนือเจ้า3
 
วัฒนธรรมประเภณีเเละอาหารภาคอีสาน
วัฒนธรรมประเภณีเเละอาหารภาคอีสานวัฒนธรรมประเภณีเเละอาหารภาคอีสาน
วัฒนธรรมประเภณีเเละอาหารภาคอีสาน
 
presentation
presentationpresentation
presentation
 
4
44
4
 
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
 
Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7
 
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงโครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
 
1
11
1
 
บทที่ 1.docx
บทที่ 1.docxบทที่ 1.docx
บทที่ 1.docx
 
ธรรมชาติยาตรา เพื่อลำน้ำชี
ธรรมชาติยาตรา เพื่อลำน้ำชีธรรมชาติยาตรา เพื่อลำน้ำชี
ธรรมชาติยาตรา เพื่อลำน้ำชี
 
โครงการ สวนผลไม้ชาวเขา
โครงการ สวนผลไม้ชาวเขาโครงการ สวนผลไม้ชาวเขา
โครงการ สวนผลไม้ชาวเขา
 
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
 
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
 
สังคม ภาคกลาง
สังคม ภาคกลางสังคม ภาคกลาง
สังคม ภาคกลาง
 
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
 
File
FileFile
File
 

More from วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ

More from วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ (20)

แมลง ยุง
แมลง ยุงแมลง ยุง
แมลง ยุง
 
กาแฟ
กาแฟกาแฟ
กาแฟ
 
ราชสีห์กับหนู
ราชสีห์กับหนูราชสีห์กับหนู
ราชสีห์กับหนู
 
การคิด
การคิดการคิด
การคิด
 
ทายนิสัย
ทายนิสัยทายนิสัย
ทายนิสัย
 
การเช็ดตัว
การเช็ดตัวการเช็ดตัว
การเช็ดตัว
 
เรื่องแม่
เรื่องแม่เรื่องแม่
เรื่องแม่
 
เติมเต็มหรือยัง
เติมเต็มหรือยังเติมเต็มหรือยัง
เติมเต็มหรือยัง
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
แนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธิน
แนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธินแนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธิน
แนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธิน
 
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อแนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
 
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อแนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
 
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อแนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
 
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
รายชื่อสมาชิกกลุ่มรายชื่อสมาชิกกลุ่ม
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
 
Presentation งานกลุ่ม1
Presentation งานกลุ่ม1Presentation งานกลุ่ม1
Presentation งานกลุ่ม1
 
อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์
 

ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว

  • 1. ประเพณีว ัฒ นธรรมสัง คมไทย สัง คมไทยในภาคกลาง ลักษณะภูมศาสตร์ของภาคกลางเป็นปัจจัยสำาคัญ ิ ทำาให้บริเวณภาคกลางเป็นแหล่งอุดมสมบูรณ์ เป็นที่ ตั้งของชุมชนทังในระดับหมูบ้าน และระดับเมืองมา ้ ่ เป็นเวลาช้านาน ภาคกลางพืนทีส่วนใหญ่ เป็นบริเวณ ้ ่ ดินดอนสามเหลี่ยม อันเกิดจากการทับถมของแม่นำ้า หลายสายทีไหลลงสู่มาจากภูเขา และทีสูงทางภาค ่ ่ เหนือ ซึ่งได้แก่ ลำานำ้าปิง วัง ยม นาน ที่มารวมกันเป็น ลำานำ้าเจ้าพระยา และพื้นทีส่วนใหญ่เป็นเทือกเขา ่ และแม่นำ้า ทำาให้เหมาะแก่การปลูกข้าวเป็นอย่างมาก เพราะสามารถปลูกได้ทงข้าวนาดำา และนาหว่าน นั่น ั้ 1 ก็คือ บริเวณใดทีเป็นทีค่อนข้างดอน หรือทีไม่ลุ่มจน ่ ่ ่
  • 2. โดยเหตุที่เป็นบริเวณที่ราบลุ่มอุดมสมบูรณ์มี นำ้าหล่อเลี้ยงเมือถึงฤดูกาล ทำาให้เป็นแหล่งปลูก ่ ข้าว ซึ่งเป็นอาหารหลักของคนในภูมิภาค เอเชีย จึงมีผู้คนอพยพ หรือเคลื่อนย้ายลงมาตั้ง หลักแหล่งในบริเวณลุ่มนำ้าเจ้าพระยามากกว่า บริเวณอื่นๆ ของประเทศ การเคลื่อนย้ายดัง กล่าวนีเป็นกระบวนการเรื่อยมาตั้งแต่สมัยตอน ้ ปลายของยุคก่อน ประวัติศาสตร์แล้ว 2
  • 3. ความลัก ษณะเชื่อ เป็นการทำาบุญตลอดจนบูชาและอุทิศส่วน กุศลให้พระภูมิเจ้าที่ เจ้ากรรมนายเวร เพื่อขอ ความคุ้มครองให้อยู่เย็นเป็นสุขและประสบความ เจริญรุ่งเรืองในหน้าที่การงาน ขับไล่สงเลวร้าย ิ่ ต่าง ๆ ที่ผ่านมาให้หมดสิ้นไปด้วยการสะเดาะ เคราะห์ และขอให้ฝนตกตามฤดูกาล อันจะทำาให้ พืชพันธุ์ธัญญาหารอุดมสมบูรณ์ 3
  • 4. การประกอบอาชีพ เนื่องจากภาคกลางเป็นที่ราบลุ่มขนาด ใหญ่มีนำ้าท่วมประชาชนส่วนใหญ่จึงมีอาชีพ ทางเกษตรกรรม เช่น การทำานา การทำาไร่ ทำาสวน เลี้ยงสัตว์ ทำาประมง โดยเฉพาะการ ทำาประมงนำ้าจืด เพราะมีแม่นำ้าหลายสาย ปัจจุบนประชาชนส่วนใหญ่หันไปประกอบอุ ั สาหกรรมมากขึ้น 4
  • 5. การประกอบอาชีพ เนื่องจากภาคกลางเป็นที่ราบลุ่มขนาดใหญ่ มีนำ้าท่วมประชาชนส่วนใหญ่จึงมีอาชีพทาง เกษตรกรรม เช่น การทำานา การทำาไร่ ทำาสวน เลี้ยงสัตว์ ทำาประมง โดยเฉพาะการทำาประมงนำ้า จืด เพราะมีแม่นำ้าหลายสาย ปัจจุบันประชาชน ส่วนใหญ่หันไปประกอบอุสาหกรรมมากขึ้น ที่อ ยูอ าศัย ่ เนื่องจากพื้นที่ภาคกลางเป็นที่ราบลุ่ม เมื่อถึง หน้านำ้าจะมีนำ้าหลากมาท่วมขัง ชาวภาคกลางจึง นิยมสร้างเรือนที่มีใต้ถุนสูงมากเพื่อไม่ให้นำ้าท่วม ถึงตัวเรือน ลักษณะหลังคาเป็นจั่วแหลมเพื่อให้นำ้า 5 ฝนไหลลงได้เร็ว ไม่รั่วซึมเข้าตัวเรือน
  • 6. อาหารการกิน ชาวภาคกลางนิยมบริโภคข้าวเจ้าเป็นอาหาร หลัก เนื่องจากภาคกลางเป็นแหล่งปลูกข้าว ส่วนอาหารต่างๆ มีมากมายหลายชนิด เพราะเป็นแหล่งที่มีความ อุดมสมบูรณ์ อาหารที่คนนิยมรับประทาน เช่น นำ้าพริกปลาทู แกงจืด แกงส้ม แกงเผ็ด อาหาร ประเภทผัด ทอด ภาษาและการแต่ง กาย ภาษาของชาวภาคกลางมีสำาเนียงใกล้เคียง กับภาษาของทางราชการ ลักษณะการแต่งกาย นิยมใช้ผาฝ้ายสีเข้ม ซึ่งระบายความร้อนได้ดี ้ 6
  • 7. ประเพณี ชาวภาคกลางจะมีวิถีชีวิตที่เกี่ยวพ้นกับนำ้า จึง มีประเพณีเกี่ยวข้องกับนำ้า เช่น ประเพณีแข่งเรือที่ จังหวัดพิษณุโลก ประเพณีงานลอยกระทงเผาเทียนเล่นไฟที่ จังหวัด สุโขทัย นอกจากนี้ยังมีประเพณีที่สำาคัญๆ เช่นงาน ประเพณีตักบาตรดอกไม้ที่ จ.สระบุรี งานประเพณี บวชช้าง จ. สุโขทัย งานตักบาตรเทโวที่ จ. อุทัยธานี 7
  • 8. ภูม ิป ญ ญาท้อ งถิ่น ั มีการทำาโอ่งที่ จ. ราชบุรี การทำามีดอรัญญิก ที่ จ.ระนครศรีอยุธยา หัตถกรรมเครื่องจักรสานพื้น บ้านการทำากลองยาว การทอผ้า การทำาเรือและ ด้วยเบญจรงค์ 8
  • 9. วัฒ นธรรมประเพณีใ นภาคกลาง ประเพณีแ ข่ง เรือ ยาว ประเพณีต ัก บาตรดอกไม้ 9
  • 10. วัฒ นธรรมครอบครัว และสัง คมใต้ ชาวภาคใต้ส่วนใหญ่อยู่ในสังคม เกษตรกรรม ที่ต้องพึ่งพาแรงงานครอบครัวชาว ใต้จึงมักเป็นครอบครัวใหญ่ มีความสัมพันธ์กันดี ระหว่างผู้สูงอายุ และบุตรหลาน มีวัฒนธรรมการ ผูกญาติผกมิตร รักพวกพ้องและญาติอย่าง ู เหนียวแน่น เป็นสังคมที่อบอุ่น มีนิสยเอื้อเฟื้อต่อ ั กัน เนื่องจากภาคใต้เคยชินต่อการพบกับคน แปลกหน้า ซึ่งผ่านเข้ามาติดต่อค้าขาย จึงเป็นผู้ มีนิสยนักเลง กล้าได้กล้าเสีย ั 10
  • 11. มีค วามเชื่อ เป็นความเชื่อเกี่ยวกับการห้ามเดินทางใน เวลาก่อนยำ่าคำ่าต้องรอให้มืดเสียก่อนจึงจะเดิน ทางต่อไป เพราะเชือว่าเวลาดังกล่าวเป็นยำ่ายาม ่ ของภูตผีปีศาจ ความเชือของชาวบ้านในเรื่องนี้ ่ ผูกพันกับเรื่องราวของโชคลาง การประกอบอาชีพ เนื่องจากนี้มีฝนตกชุก ประชาชนส่วนใหญ่ จึงประกอบอาชีพในการทำาสวนยางพารา ทำา สวนมะพร้าว ทำาสวนผลไม้ ทำาเหมืองแร่ ทำา ประมง ประชาชนในภาคนี้จึงมีเศรษฐกิจดี แต่ ก็มักประสบปัญหาจากภัยธรรมชาติอยู่บอยๆ่ เช่น พายุ นำ้าท่วม 11
  • 12. ทีอ ยูอ าศัย ่ ่ ภาคใต้เป็นภาคทีฝนตกชุกและบางครั้งคราวอาจ ่ ประสบปัญหาจากภัยธรรมชาติ เช่น พายุ ทำาให้เรือนที่ ปลูกทางภาคใต้นี้มหลังคาทรงเตี้ยและลาดชัน เพื่อไม่ให้ ี ต้านลมมากเกินไป เสาเรือนจะไม่นิยมฝังลงดิน แต่จะวาง บนฐานทีทำาจากไม้เนือแข็ง หรือแท่งซีเมนต์หล่อ เพือไม่ ่ ้ ่ ให้เสาผุผังเร็ว อาหารการกิน ชาวภาคใต้นิยมบริโภคข้าวเจ้า กับอาหารต่างๆ เช่น แกงไตปลา แกงเหลือง นอกจากนียงมีอาหารพืนเมือง ้ ั ้ เช่น ข้าวยำา บูดูหลน ผัดสะตอ ลูกเนียง อาหารทะเลชนิด ต่างๆ ภาษาและการแต่ง กาย ภาษาทีใช้เป็นภาษาถินทีเรียกว่า ภาษาปักษ์ใต้ ซึ่งมี ่ ่ ่ สำาเนียงสั้นๆเร็ว และกระชับ การแต่งกายแตกต่างกันไป 12
  • 13. ประเพณี ภาคใต้มีสมโภชหลักเมืองที่ จ.ยะลา งานสมโภชเจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยวที่ จ. ปัตตานี งานประเพณีสารทเดือนสิบและงานแห่ผ้าขึ้นพระ ธาตุที่ จ.นครศรีธรรมราช งานประเพณีของดีเมืองนรา และแข่งเรือกอที่ จ.นราธิวาส งานท้าวเทพกระษัตรี - ท้าวศรีสุนทรที่ จ.ภูเก็ต งานประเพณีชกพระและ ทอดผ้าป่าที่ ั จ.สุราษฎร์ธานี เป็นต้น ภูมิปญญาท้องถิ่น ั ภาคใต้มีงานหัตถกรรมที่มีชอเสียง เช่น เครื่อง ื่ 13
  • 14. วัฒนธรรมประเพณีใน ภาคใต้ ประเพณีแข่งเรือกอ 14
  • 15. สัง คมไทยในภาคตะวัน ออก ภาคตะวันออกเฉียเฉียอ หรือภาคอีสาน เป็น งเหนื งเหนือ ภาคที่กว้างใหญ่มาก มีพื้นที่ 160 ล้านไร่ มี ประชากร 20 ล้านคน (พ.ศ. 2538) ทั้งพื้นที่และประชากรคิดเป็น 1 ใน 3 ของ ความเชือ ่ ประเทศ ประกอบด้วย 18 จังหวัด ชาวอีสานยังคงเชือถือเรื่องผีต่างๆ อยู่มาก เช่น ่ ผีบรรพบุรุษ ผีนา ผีไร่ ผีปู่ตา (รักษาหมู่บ้าน) ทุก หมู่บ้านต้องสร้างศาลปูตา และประกอบพิธี เซ่น ่ ไหว้ อยู่เป็นประจำา 15
  • 16. เนื่องจากเชื่อผีมอิทธิฤทธิ์ในให้คุณให้โทษทัวไปยัง ี ่ ปฏิบัติกันอยูในวิถีประจำาวัน ่ ตัวอย่างพิธีบายศรีสขวัญในโอกาสสำาคัญ เช่น การ ู่ แต่งงาน การบวช การเจ็บป่วย การต้อนรับแขกผู้มาเยือน ความเชื่อในพุทธศาสนา ชาวบ้านเชื่อในเรื่องบาปบุญ คุณโทษ กฎแห่งกรรม ประเพณี และพิธ ก รรมต่า งๆ ี มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับความเชื่อดังกล่าว ในการ ประกอบพิธีกรรมต่างๆ ชาวบ้านมุงให้เกิดความสุขความสบายใจเป็นหลัก เช่น ่ ประเพณีแห่ผีตาโขน บั้งไฟ แห่เทียนพรรษา และไหลเรือไฟ เป็นต้น 16
  • 17. ขนบประเพณี ชาวอีสานยึดมันและปฏิบัติตามฮีตสิบสองอย่างมันคง ่ ่ ฮีตสิบสอง หมายถึงจารีตประเพณี ที่ชาวอีสานปฏิบัติกน ั ในโอกาสต่างๆ ทิงสิบสองเดือนของแต่ละปี จารีตประเพณี ้ ทังสิบสิงเดือนทีชาวอีสานทำาบุญต่างๆ มีดังนี้ ้ ่ 1. เดือนอ้าย บุญเข้ากรรม เป็นการทำาบุญตักบาตรถวาย ภัตตาหารและฟังเทศน์ เนื่องในโอกาสทีพระสงฆ์อาบติขึ้น ่ รองจากปาราชิก ให้เข้าไปอยู่ในทีอันจำากัด เพือทรมาน ่ ่ ร่างกายให้หายจากกรรม ชำาระจิตใจให้หายมัวหมอง และ พ้นจากอาบัติ 2. เดือนยี่ บุญคูณลาน เป็นการทำาบุญสู่ขวัญทีนวดเสร็จ ่ แล้ว และกองไว้ในลานข้าว 3. เดือนสาม บุญข้าวจี่ ทำาบุญตักบาตร 4. เดือนสี่ บุญผะเหวดาหรือบุญมหาชาติ ทำาบุญฟังเทศน์17 มหาชาติ
  • 18. 7. เดือนเจ็ด บุญซำาฮะ ทำาบุญชำาระล้างสิ่งที่เป็นเสนียด จัญไร อันจะทำาให้เกิดความเดือดร้อน แก่บ้านเมือง มีการ เลี้ยงผีปู่ตาและผีตาแฮก (ผีรักษาไร่นา) 8. เดือนแปด บุญเข้าพรรษา 9. เดือนเก้า บุญข้าวประดับดิน ทำาบุญอุทศส่วนกุศลให้ ิ แก่เปรตและญาติมตรทีตายไปแล้ว ิ ่ 10. เดือนสิบ บุญข้าสาก (ข้าวกระยาสารท) ทำาบุญอุทศ ิ ให้แก่ผู้ตายและเปรต มีการแลกเปลี่ยนข้าวกระยาสารท กันระหว่างญาติพน้อง และชาวบ้านใกล้เรือนเคียง ี่ 11. เดือนสิบเอ็ด บุญออกพรรษา มีการถวายปราสาท ผึ้ง(ขี้ผึ้งประดิษฐ์เป็นปราสาท) การล่องเรือไฟ (ไหลเรือ ไฟ) และการแข่งเรือพาย 12. เดือนสิบสอง บุญกฐิน 18
  • 19. ลัก ษณะความเชือ ภาคอีส าน ่ คนโบราณมักจะเชื่อในเรื่องต่างๆ ว่าจะดี หรือร้าย หรือ เจริญรุ่งเรืองอยู่เย็นเป็นสุข มีคนเกรงขาม นับหน้าถือตาขึ้น อยู่กบว่าในบ้านต้องมีสิ่งต่างๆที่ชื่อเป็นมงคลนาม เช่น ต้นไม้ ั ที่ปลูกในบ้าน ,การก่อสร้างบ้าน การจัดสิ่งของเครื่องใช้ เครื่องนอนภายในบ้าน การแต่งกาย เป็นต้น ความสำาคัญความเชื่อ ถ้าคนที่เชื่อแล้วปฏิบัติ หรือทำาตาม ความเชื่อดังกล่าวแล้วจะทำาให้เกิดความสบายใจ พิธ ีก รรม การปลูกต้นไม้ในบ้าน - ปลูกต้นมะขามหน้าบ้าน เชื่อว่าคนจะเกรงขาม - ปลูกต้นมะยม เชื่อว่าคนจะนิยมชมชอบ - ปลูกต้นเงิน ต้นทอง เชื่อว่าจะมีเงิน มีทอง ฯลฯ 19
  • 20. การจัด ที่น อน - การจัดทีนอน หรือการนอน ่ ต้องวางหมอน หรือศีรษะไปทางทิศตะวันออกสิ่ง ศักดิสิทธิ์ในบ้าน ในบ้านต้องมีพระพุทธรูปกราบไหว้ ์ เพือเป็นศิริมงคลสำาหรับชาวพุทธทุกครัวเรือน ่ การประกอบอาชีพ -เนื่องจากพื้นทีเป็น ่ ทีราบสูงจึงเหมาะแก่การเลี้ยงสัตว์ มีการทำานาและ ่ การเพราะปลูกในแถบลุ่มแม่นำ้ามูลและแม่นำ้าชี นอกจากนียังมีการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม และการทำาอุ ้ สาหกรรมในครัวเรือน เช่น การทอผ้าไหม ผ้าฝ้าย เป็นต้น ที่อ ยู่อ าศัย - การสร้างบ้านส่วนใหญ่มลักษณะเปิด ี โล่งมีฝากั้นในส่วนทีเป็นพืนทีนอน และใต้ถุนยกสูง ่ ้ ่ 20
  • 21. อาหารการกิน - ชาวอีสานนิยมบริโภคข้าว เหนียวเป็นอาหารหลัก เหมือนชาวเหนือโดยรับ ประทานกับแจ่ว อาหารอื่นๆ เช่น ส้มตำา ลาบ นำ้าตกเนื่องจากภาคอีสานมีพื้นที่แห้งแล้ง และ อยู่ห่างไกลทะเลคนในภาคนี้จึงกินอยู่ง่ายและ นำาพืชและสัตว์ที่หาได้ในท้องถิ่นมาประกอบ อาหาร ภาษาและการแต่ง กาย - ภาษาที่ใช้พูด คือ ภาษถิ่นอีสานซึ่งมีจังหวะการพูดเร็วกว่าภาค เหนือ การแต่งกายนิยมใช้ผาที่ทำาจากเส้นใย ้ ธรรมชาติ เช่น ผ้าฝ้าย ผ้าไหม 21
  • 22. สำาคัญ ๆ เช่น งานสมโภชพระธาตุเชิงชุมและงานแห่ปราสาทผึ้งที่ จ. สกลนคร งานนมัสการพระธาตุพนมและงานประเพณีไหลเรือ ไฟที่ จ. นครพนม งานประเพณีแห่เทียนเข้าพรรษาที่ อุบลราชธานี งานแห่ผีตาโขนที่ จ. เลย งานประเพณีแห่นาคด้วยขบวนช้างที่ จ.สุรินทร์ และ งานบุญบั้งไฟที่ จ. ยโสธร ภูม ป ัญ ญาท้อ งถิน - มีการทอผ้าต่างๆ เช่น ผ้าแพร ิ ่ วาของ จ.กาฬสินธุ์ การทำาหัตถกรรมเครื่องจักรสาน การทำาเครื่องดนตรี 22
  • 23. วัฒนธรรมประเพณีในภาคตะวันออก เฉียงเหนือ งานประเพณีไ หลเรือ ไฟ 23
  • 24. สัง คมไทยในภาคเหนือ 1. สภาพทางภูมิศาสตร์ ภาคเหนือตอนบนเป็นภาคที่มีภเขา และ ู เทือกเขาสูง แต่อยู่นอกเขตภูเขาไฟ มีที่ราบแคบๆ ระหว่างภูเขา มีทมที่เป็ นแอ่ง เช่น ที่ราบลุ างนี้ กลุี่ราบเป็นภาคเหนือตอนล่่มแม่นำ้าปิง วัง ยม น่าน จะมีลกษณะทางวัฒนธรรมที่แตกต่างจากภาคเหนือตอน ั บนลักษณะทางวัฒนธรรมที่เกิดจากสภาพภูมิศาสตร์ อาจ แบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มคนที่อยู่ตามหุบเขา ในที่ราบ ตำ่าต้องมาร่วมมือกันในการจัดการกับแหล่งนำ้าที่ต้องอาศัย ในการเพาะปลูกร่วมกันระบบปันนำ้า ระบบการร่วมแรง ร่วมใจกันทำาเหมืองฝายจึงเกิดขึ้นเพื่อให้แจกจ่ายนำ้าทั่ว ถึงกันการทำาเหมืองฝาย หมายถึง ทุกคนต้องให้ความร่วม มือทำางานก่อสร้างเหมืองฝายหากไม่ร่วมมือก็จะไม่ได้การ ปันนำ้า หรือหากมีการขโมยนำ้าจะถูกลงโทษปรับไหมส่วน ระบบปันนำ้าทำาให้เกิดการมอบหมายให้ผู้ดูการแจกจ่าย นำ้าเป็น "แก่นำ้า"ซึ่งได้รับการยอมรับนับถือว่ามีความ 24 ยุติธรรม
  • 25. 2. วิถีชีวิตของชุมชนในภาคเหนือ หนังสือภูมิทัศน์ไทย ของสำานักนายกรัฐมนตรี กล่าวสรุปวิถีชีวิตของสังคมไทย ในภาคเหนือ ในด้านต่างๆ ให้เป็นิถีชีวิตและความเป็นอยู่ ชาวไทยในภาคเหนือส่วนใหญ่มีว ภาครวมทั้งภูมิภาค ในกรอบของวัฒนธรรมท้องถินทีปัจจุบันเรียกว่า ่ ่ วัฒนธรรม "คนเมือง " หรือ "คนล้านนา" ตามชื่อของอาณาจักรที่มีการปกครองแบบนครรัฐที่ตั้ง ขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 18 โดยพญาเม็งราย และมี ศูนย์กลางอยู่ทเมือง "นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่“ ถึง ี่ แม้ว่า อาณาจักรนี้ยังประกอบด้วยวัฒนธรรมท้องถิน ที่ ่ แยกย่อยออกไป องค์ประกอบที่สำาคัญก็ยังมีความ คล้ายคลึงกันอยู่มาก โดยเฉพาะเรื่องการดำารงชีวตแบบ ิ เกษตรกร การานับถือสิ่งศักดิ์สิทธิ์และวิญญาณของบรรพบุรษ ที่ ุ เรียกว่า "ผี" ความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา แบบเถรวาท และการ 25 แสดงออกของความรู้สึกนึกคิด และอารมณ์โดยผ่าน
  • 26. การประกอบอาชีพ – เนื่องจากภูมิประเทศใน ภาคเหนือเป็นภูเขา ทำาให้มอากาศค่อนข้างหนาว ี อาชีพทีสำาคัญของคนในภาคนี้คือ การเพราะปลูก ่ การทำาสวนผลไม้ การทำาผลไม้ การทำาป่าไม้ นอกจากนี้ยงมีการทำา อุสาหกรรมในครัวเรือนเช่น ั การปั้นถ้วยชาม การแกะสลัก เป็นต้น ที่อ ยู่อ าศัย – คนในภาคเหนือนิยมปลูกเรือน ใต้ถุนไม่สูงมากนัก เพราะสร้างเรือนอยูตามทีดอน ่ ่ ช่องหน้าต่างไม่กว้างเพือป้องกันไม่ให้ลมเข้ามาก ่ ตัวเรือนมีลักษณะเด่นทียอดหลังคาทำาเป็นไม้ไขว้ ่ กันเป็น 2 แฉก เรียกว่า กาแล ซึงถือเป็นลักษณะ เฉพาะของเรือนทางภาคเหนือ 26
  • 27. อาหารการ กิน - ชาวเหนือนิยมรับประทานข้าว เหนียวกับนำ้าพริกต่างๆ เช่น นำ้าพริกอ่อง นำ้าพริก หนุม นอกจากนี้ยงมี แกงฮังเล แกงโฮะ ข้าวซอย ่ ั ไส้อั่ว แคบหมู รสอาหารจะมีรสเค็มนำา นิยมบริโภค เนื้อหมูเพราะหาได้ง่ายและราคาถูกส่วนอาหารทะเล ไม่ค่อยมี เพราะเป็นพืนทีไม่ติดทะเล ้ ่ ภาษาและเครื่อ งแต่ง กาย - ภาษาถิ่นของ ชาวภาคเหนือ มีลักษณะอ่อนหวานนุมนวล ส่วนการ ่ แต่งกายทั่วไป หญิงสวมเสื้อแขนกระบอกนุ่งผ้าซิ่น กรอมเท้า ชายนิยมสวมเสื้อม่อฮ่อม ซึ่งเป็นผ้าฝ้ายสีกรมท่า แต่ ถ้าเป็นชาวเขาจะแต่งกายแตกต่างกันไปตามเผ่า 27
  • 28. ประเพณี - ทางภาคเหนือมีประเพณีที่ สำาคัญๆ เช่น งานนมัสการพระธาตุดอยตุงที่ จ. เชียงราย งานนมัสการพระบรมธาตุหริภุญชัยที่ จ. ลำาพูน งานนมัสการพระธาตุชอแฮที่ จ.แพร่ ่ งานพิธีถวายพระเพลิงพระพุทธเจ้าที่ทุ่งยั้ง งานพระยาพิชยดาบหักที่ จ. อุตรดิตถ์ ั งานปล่อยส่างลองที่จ.แม่ฮองสอน เป็นต้น ่ 28
  • 29. ภูม ิป ัญ ญาท้อ งถิ่น - ทางภาคเหนือ มีการทำาเครื่องเขิน งานหัตถกรรมประเภทเครื่องจักรสาน เครื่องปันดินเผา งานแกะสลัก การทำา ้ ร่ม ซึ่งผลงานเหล่านี้ถือเป็นภูมิปัญญา ท้องถิ่น ที่สร้างความภาคภูมิใจให้กับ ชาวเหนือ 29
  • 31. ด้า นสัง คมภาค ตะวันออก พืนทีส่วนใหญ่ในภาคกลางเป็นทีราบลุ่มและ ้ ่ ่ เป็นแหล่งผลิตเกษตรทีสำาคัญของประเทศคนใน ่ พืนทีเดิมจึงมีพนฐานมาจากสังคมภาคเกษตรเป็น ้ ่ ื้ ส่วนใหญ่แต่เมือพืนที่ปรับเปลี่ยนไปสู่ภาค ่ ้ อุตสาหกรรมมากขึ้น นอกจากคนในพืนทีจะปรับเปลี่ยนไปเป็นแรงงาน ้ ่ ในภาคอุตสาหกรรมด้วยแล้วยังมีแรงงานทีย้าย ่ ถิ่นเข้ามาในแหล่งอุตสาหกรรม จึงทำาให้มการขยายตัวในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ี เช่น อพาร์ทเมนท์ บ้านเช่า หอพัก รวมไปถึงห้าง สรรพสินค้าเพือรองรับการอุปโภคบริโภคของ ่ คนในพื้นที่ แต่ยงไม่มปัญหาแรงงานต่างด้าว ั ี 31
  • 32. เนื่องจากแรงงานไทยมักไม่ทำางานนี้ เพราะ เป็นงานหนัก ต้องอาศัยความอดทนสูง และ ต้องอยู่ในทะเลเป็นเวลานาน จึงกลายเป็นผลก ระทบทางสังคมทางหนึง หากยังไม่ได้รับการ ่ บริหารจัดการที่ดี การขยายตัวในภาค อุตสาหกรรมของหลายพื้นที่ 32
  • 33. ความเชือและขนบธรรมเนียมประเพณี ่ มนุษย์ในโลกตะวันออกแต่ละชาติแต่ละภาษามี ความเชือถือทีแตกต่างกันออกไปบ้างและ ่ ่ คล้ายคลึงกันบ้าง ส่วนที่คล้ายคลึงกันนั้น เป็น เพียงเรื่องของศาสนาซึ่งเป็นสื่อทีปฏิบัติอย่าง ่ เดียวกันเพียงบางส่วนเท่านัน เช่น ศาสนาพุทธ ้ เป็นต้น มีการอุปสมบทกุลบุตร และพิธีกรรมทาง ศาสนาเหมือนกันแต่การสร้างสรรค์ศิลปะของ แต่ละประเทศแตกต่างกันออกไป เช่น ประเทศไทยกับประเทศพม่า เวียดนาม เป็นต้น แสดงให้เห็นว่า ขนบธรรมเนียม ประเพณี และ การประพฤติปฏิบัติทกระทำาอย่างเดียวกันใน ี่ แต่ละชาตินน ยังแตกต่างกันออกไปด้วยและทุก ั้ 33
  • 34. 1.มนุษย์ในตะวันออกมิได้มศาสนาใดศาสนา ี หนึงทีเป็นแกนสำาคัญของสังคมร่วมกันแต่จะ ่ ่ แยกกันออกไปตามความเชื่อถือและแม้ว่าส่วน หนึงจะนับถือศาสนาพุทธแต่ไม่มศูนย์กลางอัน ่ ี เป็นแกนสำาคัญร่วมกันเหมือนคริสต์ศาสนาโรมัน คาทอริกส่วนศาสนาอิสลามแม้ว่าจะมีแหล่ง ศักดิ์สิทธิ์ร่วมกันทีประเทศซาอุดิอาระเบีย แต่ก็ ่ มิได้เป็นไปในรูปองค์กรเหมือนแหล่งกลางทีกรุง่ วาติกันของโรมันคาทอลิกนอกจากนั้นใน ประเทศยังมีความเชื่อถือทีแตกต่างกันออกไป ่ มากเช่น ในอินเดียมีลัทธิมากมายในญี่ปุ่นก็เช่น เดียวกันแต่ก็มนบธรรมเนียมทางสังคมทีเข้มแข็ง ี ่ เคร่งครัดอย่างยิ่งจึงทำาให้มการสร้างสรรค์ศิลปะ ี 34 เพือจรรโลงศาสนาที่แตกต่างกันไปมากและเห็น ่
  • 35. 2. ความเชื่อถือในศาสนาของชาวตะวันออก แตก ต่างกันออกไปแต่ละศาสนา บางศาสนาเชื่อว่า มนุษย์เกิดมาด้วยกรรมซึ่งตนเองได้กระทำาไว้แต่ใน ชาติปางก่อนผลอันบังเกิดในชาตินก็เป็นกระแส ี้ ของกรรมแต่ชาติปางก่อนมีส่วนให้เป็นไปด้วยและ การกระทำาในชาตินก็ยงมีผลไปถึงชาติหน้าด้วยแต่ ี้ ั บางศาสนามีความเชือรุนแรงมากกว่านันโดยเชื่อว่า ่ ้ หากกระทำาตนเองให้ตำ่าต้อยหรือกดดันตัวเองให้ทน ทุกข์ทรมานมากก็จะยิ่งได้บุญกุศลมาก โดยการ ปล่อยจิตใจให้ลุล่วงพ้นไปสู่ภพทีสูงกว่าและในบาง ่ ศาสนามีความเชื่อในเรื่องวิญญาณบรรพบุรุษอยู่ มากการน้อมเคารพบรรพบุรุษและการควบคุม จริยธรรมในการประพฤติปฏิบัติเป็นสิ่งสำาคัญมาก 35 ทีสุด ทั้งหมดนีจึงมีส่วนสร้างสรรค์ศิลปะทีแตกต่าง ่ ้ ่
  • 36. 3. ชาติตะวันตกให้ความสนใจกับจิตวิญญาณ มาก ความผูกพันระหว่างคนเป็นกับคนตาย ยัง เป็นเยือใยทีเคร่งครัด จึงมีการเซ่นไหว้และ ่ ่ บวงสรวงระลึกถึงกัน แม้บางประเทศจะมีการเผา ศพ เช่น ประเทศไทย แต่บางประเทศก็ยงนิยม ั นิยมฝังศพ เพือรักษาเรือนร่างไว้ชั่วนิรันดร จะถูก ่ ทำาลายไม่ได้ ในการตกแต่งตามพิธีการเหล่านี้เอง ทีใช้ศิลปะเข้าช่วยเป็นอย่างมาก ทำาให้เกิดแบบ ่ อย่างศิลปะเป็นพิธีการขึ้นอีกรูปแบบหนึ่ง 4. ขนบประเพณีต่าง ๆ ของชาวตะวันออก เป็น ขนบธรรมเนียมประเพณีทยึดมันผูกพันอยู่กับ ี่ ่ ชนชาติในอดีต 36
  • 37. การประกอบอาชีพ - อาชีพในภาคนี้ส่วนใหญ่ เป็นพืช สวน พืชไร่ การประมง พืชสวนทีสำาคัญ ่ ได้แก่ เงาะ ส่วนพืชไร่มีอ้อย มันสำาปะหลัง และ สับปะรด ทำาการประมงทำากันตามชายฝั่งโดยทั่วไป และมี การเลี้ยงกุง ้ มีการทำางานเป็นส่วนน้อยทีอยูอาศัย – มีบ้านเป็น ่ ่ หลังๆ และอาคารชุดเป็นจำานวนมาก อาหารการกิน - ประกอบอาหารขึ้นจากวัตถุดิบที่ มีอยูแล้วในท้องถิน เช่น กุ้ง หอย ปู ปลา เป็นต้น ่ ่ 37
  • 38. ภาษาและการแต่ง กาย – ประชากรพูด สำาเนียงไทยภาคกลาง แต่จะมีเสียงเพียนไปบ้าง การแต่งกายมีลักษณะ ้ เช่นเดียวกับคนภาคกลาง ประเพณี - ของคนในภาคตะวันออกคือ งานบุญ เช่นเดียวกับชนในภาคอื่น ทีวัดทำาบุญในวันสำาคัญทางศาสนามีเทศกาล ่ นมัสการ หลวงพ่อโสธร ที่ จ. ฉะเชิงเทรา งานสมโภชคันศรีมหาโพธิ 200 ปี ที่ จังหวัดปราจีนบุรี ภูม ป ญ ญาท้อ งถิ่น - ประดิษฐ์เครื่องมือใช้ที่ ิ ั ทำาจากวัสดุในท้องถิ่นเช่น 38 เครื่องจักสาน มีกระบุง ตะกร้า และของป่าเอามา