SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
ความน่าจะเป็ น

การหาค่าความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์



   คณิ ตศาสตร์พ้ืนฐาน ค23102
ค่าความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์
สูตร
ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด = จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น
                                                               ั
                               จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้
สูตร รู ปสัญลักษณ์
     กาหนดให้ E แทนเหตุการณ์ที่เราสนใจ
                     P(E) แทน ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด
                  n(S) แทน จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้
                   n(E) แทน จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น
                                                            ั
                             n(E)
              สูตร P(E) =
                             n(S)
ตัวอย่างที่ 1   จากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท 1 อัน 2 ครั้ง
            จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้หวและก้อยเท่ากัน
                                        ั
ตัวอย่างที่ 1  จากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท 1 อัน 2 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ
               ได้หวและก้อยเท่ากัน
                     ั
วิธีทา ต้ องบอกได้ ว่า ผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากจากการโยนเหรี ยญ
       หนึ่งบาท 1 อัน 2 ครั้ง คือ HH, HT, TH, TT
        ต้ องนับ จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากจากการโยน
        เหรี ยญหนึ่งบาท 1 อัน 2 ครั้ง ได้เท่ากับ 4
         ต้ องบอกได้ ว่า เหตุการณ์ที่ได้หวและก้อยเท่ากัน คือ HT, TH
                                         ั
         ต้ องนับ จานวนเหตุการณ์ที่ได้หวและก้อยเท่ากันได้เท่ากับ 2
                                       ั
   สู ตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด = จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ นั
                                           จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้

   ได้ ความน่าจะเป็ นหัวและก้อยเท่ากัน =     2
                                             4
                                       =     1
                                             2
ตัวอย่างที่ 2 จากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท 1 อัน 2 ครั้ง
             จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้หวทั้งสองครั้ง
                                         ั
ตัวอย่างที่ 2  จากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท 1 อัน 2 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ
               ได้หวทั้งสองครั้ง
                     ั
วิธีทา ต้ องบอกได้ ว่า ผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากจากการโยนเหรี ยญ
       หนึ่งบาท 1 อัน 2 ครั้ง คือ HH, HT, TH, TT
        ต้ องนับ จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากจากการโยน
        เหรี ยญหนึ่งบาท 1 อัน 2 ครั้ง ได้เท่ากับ 4
         ต้ องบอกได้ ว่า เหตุการณ์ที่ได้หวทั้งสองครั้ง คือ
                                         ั                   HH
         ต้ องนับ จานวนเหตุการณ์ที่ได้หวทั้งสองครั้งได้เท่ากับ 1
                                       ั
   สู ตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด = จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น  ั
                                             จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้
   ได้ ความน่าจะเป็ นหัวสองครั้ง =             1
                                               4
                                         = 0.25               = ร้อยละ 25
ตัวอย่างที่ 3 จากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท 3 อัน 1 ครั้ง
             จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้ท้ งสามครั้งขึ้นหน้าเหมือนกัน
                                           ั
ตัวอย่างที่ 3 จากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท 3 อัน 1 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ
              ได้ท้ งสามครั้งขึ้นหน้าเหมือนกัน
                    ั
วิธีทา ต้ องบอกได้ ว่า ผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากจากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท
        3 อัน 1 ครั้ง คือ HHH, HHT, HTH, HTT, THH, THT, TTH, TTT,
       ต้ องนับ จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากจากการโยนเหรี ยญหนึ่ งบาท
       3 อัน 1 ครั้ง ได้เท่ากับ 8
      ต้ องบอกได้ ว่า เหตุการณ์ที่ได้ท้ งสามครั้งขึ้นหน้าเหมือนกัน คือ HHH,
                                        ั                                     TTT,
      ต้ องนับ จานวนเหตุการณ์ที่ได้ท้ งสามครั้งขึ้นหน้าเหมือนกันได้เท่ากับ 2
                                      ั
     สู ตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด = จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น  ั
                                               จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้
     ได้ ความน่าจะเป็ นหัวและก้อยเท่ากัน = 2       8
                                          = 1
                                                   4
ตัวอย่างที่ 4   จากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท 3 อัน 1 ครั้ง
                จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้หวมากกว่าก้อย
                                            ั
ตัวอย่างที่ 4    จากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท 3 อัน 1 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ
                       ได้หวมากกว่าก้อย
                            ั
วิธีทา     ต้ องบอกได้ ว่า ผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากจากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท
           3 อัน 1 ครั้ง คือ HHH, HHT, HTH, HTT, THH, THT, TTH, TTT,
           ต้ องนับ จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากจากการโยนเหรี ยญหนึ่ งบาท
           3 อัน 1 ครั้ง ได้เท่ากับ 8
          ต้ องบอกได้ ว่า เหตุการณ์ที่ได้หวมากกว่าก้อย คือ HHH, HHT, HTH, THH
                                          ั
         ต้ องนับ จานวนเหตุการณ์ที่ได้หวมากกว่าก้อยได้เท่ากับ 4
                                       ั
     สู ตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด = จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น
                                                                          ั
                                            จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้
         ได้ ความน่าจะเป็ นหัวและก้อยเท่ากัน =   4
                                                 8
                                            =    1
                                                 2
ตัวอย่างที่ 5 จากในถุงมีลกบอลขนาดเท่ากัน สี เขียว 2 ลูก สี ม่วง 2 ลูก สี ฟ้า 1 ลูก
                         ู

    หลับตาหยิบ ลูกบอล 2 ลูก หยิบทีละลูก หยิบลูกแรกแล้วใส่ คืนก่อนที่จะหยิบลูกที่สอง

  จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้ลกบอลสี ฟ้าและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูกเป็ นร้อยละเท่าไร
                              ู
ตัวอย่างที่ 5 จากในถุงมีลูกบอลขนาดเท่ากัน สี เขียว 2 ลูก สี ม่วง 2 ลูก สี ฟ้า 1 ลูก หลับตาหยิบ
   ลูกบอล 2 ลูก หยิบทีละลูก หยิบลูกแรกแล้วใส่ คืนก่อนที่จะหยิบลูกที่สอง       จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ
   ได้ลูกบอลสี ฟ้าและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูกเป็ นร้อยละเท่าไร
วิธีทา ผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดได้คือ ข1ข1, ข1ม1,ข1ม2, ข1ฟ, ข2ข1, ข2ข2, ข2ม1, ข2ม2, ข2ฟ, ม1ข1, ม1ข2,
       ม1ม1, ม1ม2, ม1ฟ, ม2ข1, ม2ข2, ม2ม1, ม2ม2, ม2ฟ, ฟ ข1, ฟ ข2, ฟ ม1, ฟ ม2, ข1ข2, ฟ ฟ,
      ต้ องนับ จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้น ได้เท่ากับ      25
       เหตุการณ์ที่ได้ลูกบอลสี ฟ้าและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูก คือ ม1ฟ, ม2ฟ, ฟ ม1, ฟ ม2,
       ต้ องนับ จานวนเหตุการณ์ ได้เท่ากับ       4


                                                    จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น
                                                                                    ั
        สูตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด =
                                                    จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้
                                              4
        ได้ ความน่าจะเป็ นหัวและก้อยเท่ากัน = 25
                                               16
                                            = 100              =      ร้อยละ 16
ตัวอย่างที่ 6 จากในถุงมีลูกบอลขนาดเท่ากัน สี เขียว 2 ลูก สี ม่วง 2 ลูก สี ฟ้า 1 ลูก

หลับตาหยิบ ลูกบอล 2 ลูก หยิบทีละลูก หยิบลูกแรกแล้วใส่ คืนก่อนที่จะหยิบลูกที่สอง

จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้ลกบอลสี เขียวและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูกเป็ นร้อยละเท่าไร
                            ู
ตัวอย่างที่ 6 จากในถุงมีลูกบอลขนาดเท่ากัน สี เขียว 2 ลูก สี ม่วง 2 ลูก สี ฟ้า 1 ลูก หลับตาหยิบ
  ลูกบอล 2 ลูก หยิบทีละลูก หยิบลูกแรกแล้วใส่ คืนก่อนที่จะหยิบลูกที่สอง         จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ
  ได้ลูกบอลสี เขียวและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูกเป็ นร้อยละเท่าไร
วิธีทา ผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดได้คือ ข1ข1, ข1ม1,ข1ม2, ข1ฟ, ข2ข1, ข2ข2, ข2ม1, ข2ม2, ข2ฟ, ม1ข1, ม1ข2,
       ม1ม1, ม1ม2, ม1ฟ, ม2ข1, ม2ข2, ม2ม1, ม2ม2, ม2ฟ, ฟ ข1, ฟ ข2, ฟ ม1, ฟ ม2, ข1ข2, ฟ ฟ,
      ต้ องนับ จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้น ได้เท่ากับ      25             (ใส่ คืนก่ อน)
      เหตุการณ์ที่ได้ลูกบอลสี เขียวและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูก คือ
              ข1ม1, ข1ม2, ข2ม1, ข2ม2, ม1ข1, ม1ข2, ม2ข1, ม2ข2,
      ต้ องนับ จานวนเหตุการณ์ ได้เท่ากับ       8
                                                    จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น
                                                                                    ั
       สูตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด =
                                                    จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้
                                             8
       ได้ ความน่าจะเป็ นหัวและก้อยเท่ากัน = 25
                                              32
                                           = 100               =      ร้อยละ 32
ตัวอย่างที่ 7   จากในถุงมีลูกบอลขนาดเท่ากัน สี เขียว 2 ลูก สี ม่วง 2 ลูก สี ฟ้า 1 ลูก

  หลับตาหยิบ ลูกบอล 2 ลูก หยิบทีละลูก หยิบลูกแรกแล้วไม่ใส่ คืนแล้วหยิบลูกที่สอง

 จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้ลกบอลสี เขียวและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูก
                             ู
  เป็ นร้อยละเท่าไร


                   1      2
                                2
                   1
ตัวอย่างที่ 7 จากในถุงมีลูกบอลขนาดเท่ากัน สี เขียว 2 ลูก สี ม่วง 2 ลูก สี ฟ้า 1 ลูก หลับตาหยิบ
     ลูกบอล 2 ลูก หยิบทีละลูก หยิบลูกแรกแล้วไม่ใส่ คืนแล้วหยิบลูกที่สอง          จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ
     ได้ลูกบอลสี เขียวและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูกเป็ นร้อยละเท่าไร
วิธีทา ผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดได้คือ ข1ม1, ข1ม2, ข1ฟ, ข2ข1, ข2ม1, ข2ม2, ข2ฟ, ม1ข1, ม1ข2,
             ม1ม2, ม1ฟ, ม2ข1, ม2ข2, ม2ม1, ม2ฟ, ฟ ข1, ฟ ข2, ฟ ม1, ฟ ม2, ข1ข2,
     ต้ องนับ จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้น ได้เท่ากับ       20           (ไม่ ใส่ คืน)
      เหตุการณ์ที่ได้ลูกบอลสี เขียวและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูก คือ
              ข1ม1, ข1ม2, ข2ม1, ข2ม2, ม1ข1, ม1ข2, ม2ข1, ม2ข2,
      ต้ องนับ จานวนเหตุการณ์ ได้เท่ากับ       8
                                                    จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น
                                                                                    ั
       สูตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด =
                                                    จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้
                                             8
       ได้ ความน่าจะเป็ นหัวและก้อยเท่ากัน = 20
                                              40
                                           = 100               =      ร้อยละ 40
ตัวอย่างที่ 8 จากในถุงมีลูกบอลขนาดเท่ากัน สี เขียว 2 ลูก สี ม่วง 2 ลูก สี ฟ้า 1 ลูก

            หลับตาหยิบ ลูกบอล 2 ลูก หยิบพร้อมกัน            จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ
            ได้ลกบอลสี เขียวและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูกเป็ นร้อยละเท่าไร
                ู



        1      2
                      2
        1
ตัวอย่างที่ 8 จากในถุงมีลูกบอลขนาดเท่ากัน สี เขียว 2 ลูก สี ม่วง 2 ลูก สี ฟ้า 1 ลูก หลับตาหยิบ
               ลูกบอล 2 ลูก หยิบพร้อมกัน      จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ
               ได้ลกบอลสี เขียวและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูกเป็ นร้อยละเท่าไร
                    ู
วิธีทา ผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดได้คือ ข1ข2,   ข1ม1, ข1ม2, ข1ฟ, ข2ม1, ข2ม2, ข2ฟ,
                                   ม1ม2, ม1ฟ, ม2ฟ,
     ต้ องนับ จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้น ได้เท่ากับ     10          (หยิบพร้ อมกัน 2 ลูก)
      เหตุการณ์ที่ได้ลูกบอลสี เขียวและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูก คือ
              ข1ม1, ข1ม2, ข2ม1,             ข2ม2,
      ต้ องนับ จานวนเหตุการณ์ ได้เท่ากับ     4
                                                  จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น
                                                                                  ั
       สูตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด =
                                                  จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้
                                             4
       ได้ ความน่าจะเป็ นหัวและก้อยเท่ากัน = 10
                                              40
                                           = 100             =         ร้อยละ 40
ตัวอย่างที่ 9 จากในถุงมีลกแก้วขนาดเท่ากัน สี ขาว 4 ลูก สี เหลือง 6 ลูก
                         ู
              หลับตาหยิบสุ่ มหยิบ ลูกแก้ว 1 ลูก
              จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้ลกแก้วสี เหลืองเป็ นร้อยละเท่าไร
                                          ู
ตัวอย่างที่ 9 จากในถุงมีลูกแก้วขนาดเท่ากัน สี ขาว 4 ลูก สี เหลือง 6 ลูก หลับตาหยิบสุ่ มหยิบ
               ลูกแก้ว 1 ลูก จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ
               ได้ลูกแก้วสี เหลืองเป็ นร้อยละเท่าไร
วิธีทา ผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดได้คือ ข,          ข,    ข,           ข,       ล,     ล,        ล,    ล,   ล,   ล,
      ต้ องนับ จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้น ได้เท่ากับ           10              (หยิบ 1 ลูก)

      เหตุการณ์ที่ได้ลูกแก้วสี เหลือง คือ ล,        ล,       ล,            ล,          ล,        ล,

      ต้ องนับ จานวนเหตุการณ์ ได้เท่ากับ        6

                                                         จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น
                                                                                         ั
       สูตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด =
                                                         จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้
                                             6
       ได้ ความน่าจะเป็ นหัวและก้อยเท่ากัน = 10
                                              60
                                           = 100                       =        ร้อยละ 60

More Related Content

What's hot

06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศsariya25
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2Wichai Likitponrak
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตPopeye Kotchakorn
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์oraneehussem
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าsripai52
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58renusaowiang
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานChamp Wachwittayakhang
 

What's hot (20)

06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
Punmanee study 4
Punmanee study 4Punmanee study 4
Punmanee study 4
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้า
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
 

Viewers also liked

คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาพัน พัน
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Dew Thamita
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3 Prang Donal
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นKruAm Maths
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันเซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงานPhanuwat Somvongs
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดkrupornpana55
 

Viewers also liked (11)

Probability
ProbabilityProbability
Probability
 
โมเมนต์
โมเมนต์โมเมนต์
โมเมนต์
 
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
 

Similar to 5.สูตรการหาความน่าจะเป็น

ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นRitthinarongron School
 
ความน่าจะเป็น(Probability)
ความน่าจะเป็น(Probability)ความน่าจะเป็น(Probability)
ความน่าจะเป็น(Probability)Aommii Honestly
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็นแบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็นKrukomnuan
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นAon Narinchoti
 
Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01nutchamai
 
Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01nutchamai
 
Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01nutchamai
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นKrutom Nyschool
 
Najapen 140203041835-phpapp02
Najapen 140203041835-phpapp02Najapen 140203041835-phpapp02
Najapen 140203041835-phpapp02thetong1229
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นMc'Napat KhunKhoei
 
Najapen 140203041835-phpapp02
Najapen 140203041835-phpapp02Najapen 140203041835-phpapp02
Najapen 140203041835-phpapp02thetong1229
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นAkkradet Keawyoo
 
Probability
ProbabilityProbability
Probabilitykrubud
 
Probability[1]
Probability[1]Probability[1]
Probability[1]numpueng
 

Similar to 5.สูตรการหาความน่าจะเป็น (20)

ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
ความน่าจะเป็น(Probability)
ความน่าจะเป็น(Probability)ความน่าจะเป็น(Probability)
ความน่าจะเป็น(Probability)
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็นแบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็น
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Event
EventEvent
Event
 
Prob
ProbProb
Prob
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01
 
Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01
 
Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
Najapen 140203041835-phpapp02
Najapen 140203041835-phpapp02Najapen 140203041835-phpapp02
Najapen 140203041835-phpapp02
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
Najapen 140203041835-phpapp02
Najapen 140203041835-phpapp02Najapen 140203041835-phpapp02
Najapen 140203041835-phpapp02
 
Najapen
NajapenNajapen
Najapen
 
Ht 1
Ht 1Ht 1
Ht 1
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
Probability
ProbabilityProbability
Probability
 
Probability[1]
Probability[1]Probability[1]
Probability[1]
 

More from ทับทิม เจริญตา

ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ทับทิม เจริญตา
 

More from ทับทิม เจริญตา (20)

Pro1
Pro1Pro1
Pro1
 
Ex
ExEx
Ex
 
เกมซูดุคุ
เกมซูดุคุเกมซูดุคุ
เกมซูดุคุ
 
ข้อสอบเมทริกชฺ
ข้อสอบเมทริกชฺ ข้อสอบเมทริกชฺ
ข้อสอบเมทริกชฺ
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
 
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนามแบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
 
แบบฝึกพหุนาม
แบบฝึกพหุนามแบบฝึกพหุนาม
แบบฝึกพหุนาม
 
การบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนามการบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนาม
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
หาผลบวกและผลลบของเอกนาม
หาผลบวกและผลลบของเอกนามหาผลบวกและผลลบของเอกนาม
หาผลบวกและผลลบของเอกนาม
 
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
 
สอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
สอบ สมบัติของเลขยกกำลังสอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
สอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5 ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4 ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3 ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2 ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 

5.สูตรการหาความน่าจะเป็น

  • 2. ค่าความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ สูตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด = จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น ั จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้ สูตร รู ปสัญลักษณ์ กาหนดให้ E แทนเหตุการณ์ที่เราสนใจ P(E) แทน ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด n(S) แทน จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้ n(E) แทน จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น ั n(E) สูตร P(E) = n(S)
  • 3. ตัวอย่างที่ 1 จากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท 1 อัน 2 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้หวและก้อยเท่ากัน ั
  • 4. ตัวอย่างที่ 1 จากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท 1 อัน 2 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้หวและก้อยเท่ากัน ั วิธีทา ต้ องบอกได้ ว่า ผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากจากการโยนเหรี ยญ หนึ่งบาท 1 อัน 2 ครั้ง คือ HH, HT, TH, TT ต้ องนับ จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากจากการโยน เหรี ยญหนึ่งบาท 1 อัน 2 ครั้ง ได้เท่ากับ 4 ต้ องบอกได้ ว่า เหตุการณ์ที่ได้หวและก้อยเท่ากัน คือ HT, TH ั ต้ องนับ จานวนเหตุการณ์ที่ได้หวและก้อยเท่ากันได้เท่ากับ 2 ั สู ตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด = จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ นั จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้ ได้ ความน่าจะเป็ นหัวและก้อยเท่ากัน = 2 4 = 1 2
  • 5. ตัวอย่างที่ 2 จากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท 1 อัน 2 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้หวทั้งสองครั้ง ั
  • 6. ตัวอย่างที่ 2 จากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท 1 อัน 2 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้หวทั้งสองครั้ง ั วิธีทา ต้ องบอกได้ ว่า ผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากจากการโยนเหรี ยญ หนึ่งบาท 1 อัน 2 ครั้ง คือ HH, HT, TH, TT ต้ องนับ จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากจากการโยน เหรี ยญหนึ่งบาท 1 อัน 2 ครั้ง ได้เท่ากับ 4 ต้ องบอกได้ ว่า เหตุการณ์ที่ได้หวทั้งสองครั้ง คือ ั HH ต้ องนับ จานวนเหตุการณ์ที่ได้หวทั้งสองครั้งได้เท่ากับ 1 ั สู ตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด = จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น ั จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้ ได้ ความน่าจะเป็ นหัวสองครั้ง = 1 4 = 0.25 = ร้อยละ 25
  • 7. ตัวอย่างที่ 3 จากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท 3 อัน 1 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้ท้ งสามครั้งขึ้นหน้าเหมือนกัน ั
  • 8. ตัวอย่างที่ 3 จากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท 3 อัน 1 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้ท้ งสามครั้งขึ้นหน้าเหมือนกัน ั วิธีทา ต้ องบอกได้ ว่า ผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากจากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท 3 อัน 1 ครั้ง คือ HHH, HHT, HTH, HTT, THH, THT, TTH, TTT, ต้ องนับ จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากจากการโยนเหรี ยญหนึ่ งบาท 3 อัน 1 ครั้ง ได้เท่ากับ 8 ต้ องบอกได้ ว่า เหตุการณ์ที่ได้ท้ งสามครั้งขึ้นหน้าเหมือนกัน คือ HHH, ั TTT, ต้ องนับ จานวนเหตุการณ์ที่ได้ท้ งสามครั้งขึ้นหน้าเหมือนกันได้เท่ากับ 2 ั สู ตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด = จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น ั จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้ ได้ ความน่าจะเป็ นหัวและก้อยเท่ากัน = 2 8 = 1 4
  • 9. ตัวอย่างที่ 4 จากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท 3 อัน 1 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้หวมากกว่าก้อย ั
  • 10. ตัวอย่างที่ 4 จากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท 3 อัน 1 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้หวมากกว่าก้อย ั วิธีทา ต้ องบอกได้ ว่า ผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากจากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท 3 อัน 1 ครั้ง คือ HHH, HHT, HTH, HTT, THH, THT, TTH, TTT, ต้ องนับ จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากจากการโยนเหรี ยญหนึ่ งบาท 3 อัน 1 ครั้ง ได้เท่ากับ 8 ต้ องบอกได้ ว่า เหตุการณ์ที่ได้หวมากกว่าก้อย คือ HHH, HHT, HTH, THH ั ต้ องนับ จานวนเหตุการณ์ที่ได้หวมากกว่าก้อยได้เท่ากับ 4 ั สู ตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด = จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น ั จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้ ได้ ความน่าจะเป็ นหัวและก้อยเท่ากัน = 4 8 = 1 2
  • 11. ตัวอย่างที่ 5 จากในถุงมีลกบอลขนาดเท่ากัน สี เขียว 2 ลูก สี ม่วง 2 ลูก สี ฟ้า 1 ลูก ู หลับตาหยิบ ลูกบอล 2 ลูก หยิบทีละลูก หยิบลูกแรกแล้วใส่ คืนก่อนที่จะหยิบลูกที่สอง จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้ลกบอลสี ฟ้าและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูกเป็ นร้อยละเท่าไร ู
  • 12. ตัวอย่างที่ 5 จากในถุงมีลูกบอลขนาดเท่ากัน สี เขียว 2 ลูก สี ม่วง 2 ลูก สี ฟ้า 1 ลูก หลับตาหยิบ ลูกบอล 2 ลูก หยิบทีละลูก หยิบลูกแรกแล้วใส่ คืนก่อนที่จะหยิบลูกที่สอง จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้ลูกบอลสี ฟ้าและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูกเป็ นร้อยละเท่าไร วิธีทา ผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดได้คือ ข1ข1, ข1ม1,ข1ม2, ข1ฟ, ข2ข1, ข2ข2, ข2ม1, ข2ม2, ข2ฟ, ม1ข1, ม1ข2, ม1ม1, ม1ม2, ม1ฟ, ม2ข1, ม2ข2, ม2ม1, ม2ม2, ม2ฟ, ฟ ข1, ฟ ข2, ฟ ม1, ฟ ม2, ข1ข2, ฟ ฟ, ต้ องนับ จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้น ได้เท่ากับ 25 เหตุการณ์ที่ได้ลูกบอลสี ฟ้าและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูก คือ ม1ฟ, ม2ฟ, ฟ ม1, ฟ ม2, ต้ องนับ จานวนเหตุการณ์ ได้เท่ากับ 4 จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น ั สูตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด = จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้ 4 ได้ ความน่าจะเป็ นหัวและก้อยเท่ากัน = 25 16 = 100 = ร้อยละ 16
  • 13. ตัวอย่างที่ 6 จากในถุงมีลูกบอลขนาดเท่ากัน สี เขียว 2 ลูก สี ม่วง 2 ลูก สี ฟ้า 1 ลูก หลับตาหยิบ ลูกบอล 2 ลูก หยิบทีละลูก หยิบลูกแรกแล้วใส่ คืนก่อนที่จะหยิบลูกที่สอง จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้ลกบอลสี เขียวและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูกเป็ นร้อยละเท่าไร ู
  • 14. ตัวอย่างที่ 6 จากในถุงมีลูกบอลขนาดเท่ากัน สี เขียว 2 ลูก สี ม่วง 2 ลูก สี ฟ้า 1 ลูก หลับตาหยิบ ลูกบอล 2 ลูก หยิบทีละลูก หยิบลูกแรกแล้วใส่ คืนก่อนที่จะหยิบลูกที่สอง จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้ลูกบอลสี เขียวและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูกเป็ นร้อยละเท่าไร วิธีทา ผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดได้คือ ข1ข1, ข1ม1,ข1ม2, ข1ฟ, ข2ข1, ข2ข2, ข2ม1, ข2ม2, ข2ฟ, ม1ข1, ม1ข2, ม1ม1, ม1ม2, ม1ฟ, ม2ข1, ม2ข2, ม2ม1, ม2ม2, ม2ฟ, ฟ ข1, ฟ ข2, ฟ ม1, ฟ ม2, ข1ข2, ฟ ฟ, ต้ องนับ จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้น ได้เท่ากับ 25 (ใส่ คืนก่ อน) เหตุการณ์ที่ได้ลูกบอลสี เขียวและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูก คือ ข1ม1, ข1ม2, ข2ม1, ข2ม2, ม1ข1, ม1ข2, ม2ข1, ม2ข2, ต้ องนับ จานวนเหตุการณ์ ได้เท่ากับ 8 จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น ั สูตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด = จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้ 8 ได้ ความน่าจะเป็ นหัวและก้อยเท่ากัน = 25 32 = 100 = ร้อยละ 32
  • 15. ตัวอย่างที่ 7 จากในถุงมีลูกบอลขนาดเท่ากัน สี เขียว 2 ลูก สี ม่วง 2 ลูก สี ฟ้า 1 ลูก หลับตาหยิบ ลูกบอล 2 ลูก หยิบทีละลูก หยิบลูกแรกแล้วไม่ใส่ คืนแล้วหยิบลูกที่สอง จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้ลกบอลสี เขียวและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูก ู เป็ นร้อยละเท่าไร 1 2 2 1
  • 16. ตัวอย่างที่ 7 จากในถุงมีลูกบอลขนาดเท่ากัน สี เขียว 2 ลูก สี ม่วง 2 ลูก สี ฟ้า 1 ลูก หลับตาหยิบ ลูกบอล 2 ลูก หยิบทีละลูก หยิบลูกแรกแล้วไม่ใส่ คืนแล้วหยิบลูกที่สอง จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้ลูกบอลสี เขียวและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูกเป็ นร้อยละเท่าไร วิธีทา ผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดได้คือ ข1ม1, ข1ม2, ข1ฟ, ข2ข1, ข2ม1, ข2ม2, ข2ฟ, ม1ข1, ม1ข2, ม1ม2, ม1ฟ, ม2ข1, ม2ข2, ม2ม1, ม2ฟ, ฟ ข1, ฟ ข2, ฟ ม1, ฟ ม2, ข1ข2, ต้ องนับ จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้น ได้เท่ากับ 20 (ไม่ ใส่ คืน) เหตุการณ์ที่ได้ลูกบอลสี เขียวและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูก คือ ข1ม1, ข1ม2, ข2ม1, ข2ม2, ม1ข1, ม1ข2, ม2ข1, ม2ข2, ต้ องนับ จานวนเหตุการณ์ ได้เท่ากับ 8 จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น ั สูตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด = จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้ 8 ได้ ความน่าจะเป็ นหัวและก้อยเท่ากัน = 20 40 = 100 = ร้อยละ 40
  • 17. ตัวอย่างที่ 8 จากในถุงมีลูกบอลขนาดเท่ากัน สี เขียว 2 ลูก สี ม่วง 2 ลูก สี ฟ้า 1 ลูก หลับตาหยิบ ลูกบอล 2 ลูก หยิบพร้อมกัน จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้ลกบอลสี เขียวและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูกเป็ นร้อยละเท่าไร ู 1 2 2 1
  • 18. ตัวอย่างที่ 8 จากในถุงมีลูกบอลขนาดเท่ากัน สี เขียว 2 ลูก สี ม่วง 2 ลูก สี ฟ้า 1 ลูก หลับตาหยิบ ลูกบอล 2 ลูก หยิบพร้อมกัน จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้ลกบอลสี เขียวและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูกเป็ นร้อยละเท่าไร ู วิธีทา ผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดได้คือ ข1ข2, ข1ม1, ข1ม2, ข1ฟ, ข2ม1, ข2ม2, ข2ฟ, ม1ม2, ม1ฟ, ม2ฟ, ต้ องนับ จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้น ได้เท่ากับ 10 (หยิบพร้ อมกัน 2 ลูก) เหตุการณ์ที่ได้ลูกบอลสี เขียวและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูก คือ ข1ม1, ข1ม2, ข2ม1, ข2ม2, ต้ องนับ จานวนเหตุการณ์ ได้เท่ากับ 4 จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น ั สูตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด = จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้ 4 ได้ ความน่าจะเป็ นหัวและก้อยเท่ากัน = 10 40 = 100 = ร้อยละ 40
  • 19. ตัวอย่างที่ 9 จากในถุงมีลกแก้วขนาดเท่ากัน สี ขาว 4 ลูก สี เหลือง 6 ลูก ู หลับตาหยิบสุ่ มหยิบ ลูกแก้ว 1 ลูก จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้ลกแก้วสี เหลืองเป็ นร้อยละเท่าไร ู
  • 20. ตัวอย่างที่ 9 จากในถุงมีลูกแก้วขนาดเท่ากัน สี ขาว 4 ลูก สี เหลือง 6 ลูก หลับตาหยิบสุ่ มหยิบ ลูกแก้ว 1 ลูก จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้ลูกแก้วสี เหลืองเป็ นร้อยละเท่าไร วิธีทา ผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดได้คือ ข, ข, ข, ข, ล, ล, ล, ล, ล, ล, ต้ องนับ จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้น ได้เท่ากับ 10 (หยิบ 1 ลูก) เหตุการณ์ที่ได้ลูกแก้วสี เหลือง คือ ล, ล, ล, ล, ล, ล, ต้ องนับ จานวนเหตุการณ์ ได้เท่ากับ 6 จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น ั สูตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด = จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้ 6 ได้ ความน่าจะเป็ นหัวและก้อยเท่ากัน = 10 60 = 100 = ร้อยละ 60