SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
ใบความรู้
                                       เรือง ความชื นของอากาศ

                                                                ่ ั
         อากาศมีความชืน เพราะมีไอนํา ความชืนจะมากหรื อน้อยขึนอยูกบ ปริ มาณของไอนําในอากาศ
นันเอง
                                                              ่
          ความชื นของอากาศ หมายถึง ปริ มาณไอนําทีปะปนอยูในอากาศ ได้มาจากแหล่ง
การระเหยของนําจากแหล่งนําต่าง ๆ บนโลก การคายนําของพืช ตลอดจนการหายใจของสัตว์ ทําให้เกิดไอ
                                                        ่ ั
นําซึ งเรามองไม่เห็นเนื องจากมีสถานะเป็ นแก๊ส ล่องลอยอยูทวไปในอากาศ อากาศทุกหนทุกแห่งมีไอนํา
แทรกตัวปะปนอยู่ แต่อาจมีปริ มาณมากน้อยต่างกัน ปริ มาณไอนําทีมีอยูในอากาศเราเรี ยกว่า ความชืนของ
                                                                 ่
อากาศ
         ความชืนของอากาศในวันหนึง ๆ จะเปลียนแปลงโดยมีความชืนของอากาศสู งในเวลากลางคืนและ
ตอนเช้า เพราะอุณหภูมิของอากาศตําจึงรับไอนําในอากาศได้นอย ส่ วนในตอนกลางวันอุณหภูมิของอากาศ
                                                            ้
สู งขึนจึงรับไอนําได้อีกมาก




             ลักษณะภูมิอากาศร้อนชื น                            ลักษณะภูมิอากาศแห้ง

                             ่
          หรื ออาจกล่าวได้วา ถ้าความชืนในอากาศมีมากการระเหยของนําจากแหล่งต่าง ๆ จะน้อย เสื อผ้าที
ตากจะแห้งช้า หรื อรู ้สึกเหนียวตัวและอึดอัด แต่ถาความชื นในอากาศมีนอยหรื ออากาศแห้ง จะรู ้สึกเย็น
                                                ้                  ้
สบาย เสื อผ้าแห้งง่าย จนถึงบางครังผิวหนังแห้งและแตก
          ค่าความชืนของอากาศ โดยทัวไปมีวธีบอกความชืนของอากาศได้ 2 วิธี คือ
                                              ิ
1.ความชืนสัมบูรณ์ หมายถึง อัตราส่ วนระหว่างมวลของไอนําในอากาศกับปริ มาตรของอากาศนัน
ตัวอย่างเช่น ถ้าทราบว่าขณะนันในอากาศ 5 ลูกบาศก์เมตรมีไอนําอยู่ 15 กรัม แสดงว่าความชืนสัมบูรณ์ของ
อากาศขณะนันเป็ น 3 กรัมต่อลูกบาศก์เมตร
                                                                          ่
         2.ความชืนสัมพัทธ์ คือปริ มาณเปรี ยบเทียบระหว่างมวลของไอนําทีมีอยูจริ งในอากาศขณะนันกับ
มวลของไอนําในอากาศอิมตัวทีอุณหภูมิและปริ มาตรเดียวกัน
ความชืนสัมพัทธ์มกแสดงเป็ นร้อยละซึ งแสดงได้ดงนี
                         ั                           ั
                                        ่
        ความชืนสัมพัทธ์= มวลไอนําทีมีอยูจริ งในอากาศขณะนัน / มวลของไอนําในอากาศอิมตัวที
                           อุณหภูมิและปริ มาตรเดียวกัน X 100

        เช่น ทีอุณหภูมิ 30 องศาเซลเซี ยสอากาศอิมตัวด้วยไอนํา 160 กรัมต่อลูกบาศก์เมตร แต่ในขณะนัน
        มีไอนําอยูเ่ พียง 120 กรัมต่อลูกบาศก์เมตรดังนัน ความชืนสัมพัทธ์ทางอากาศ
                                                    = 120 / 160 X 100 = 75 %

          ความชืนในอากาศเปลียนแปลงอยูเ่ สมอ ถ้าความชืนในอากาศมีมากจะทําให้เหงือทีตัวเราระเหยได้
น้อย ทําให้เหนียวตัวและรู ้สึกอึดอัด นําจากแหล่งนําต่างๆ จะระเหยสู่ อากาศได้นอย ผ้าทีซักตากไว้จะแห้ง
                                                                             ้
ช้า แต่ถาความชืนในอากาศน้อยหรื ออากาศแห้ง เหงือทีตัวเราจะระเหยได้มาก ทําให้รู้สึกเย็น จนบางครังทํา
        ้
ให้ผวหนังแห้งหรื อแตก นําจาก แหล่งนําต่างๆระเหยได้ง่าย และผ้าทีตากไว้จะแห้งเร็ ว
     ิ

        การวัดความชื น


                                                  ในการวัดความชืนสัมพัทธ์ เราใช้เครื องมือซึ งเรี ยกว่า
                                                                                      ่
                                                  ไฮโกรมิเตอร์ (Hygrometer) ซึ งมีอยูหลายชนิด มีทง  ั
                                                  ทําด้วยกระเปาะเทอร์ โมมิเตอร์ และเป็ นอุปกรณ์
                                                  อิเล็กทรอนิกส์ ไฮโกรมิเตอร์ ซึงสามารถทําได้เอง
                                                  และมีความน่าเชือถือเรี ยกว่า“สลิงไซโครมิเตอร์ ”
                                                  (Sling psychrometer) ประกอบด้วยเทอร์ โมมิเตอร์
                                                  จํานวน 2 อันอยูคู่กน โดยมีเทอร์ โมมิเตอร์ อนหนึงมี
                                                                  ่ ั                        ั
                                                  ผ้าชุบนําหุ มกระเปาะไว้ เรี ยกว่า “กระเปาะเปี ยก”
                                                              ้
                                                  (Wet bulb) ส่ วนกระเปาะเทอร์ โมมิเตอร์ อีกอันหนึง
                                                  ไม่ได้หุมอะไรไว้ เรี ยกว่า “กระเปาะแห้ง” (Dry bulb)
                                                           ้
                                                  เมือหมุนสลิงไซโครมิเตอร์ จบเวลา 3 นาที แล้วอ่าน
                                                                                ั
                                                  ค่าแตกต่างของอุณหภูมิกระเปาะทังสองบนตาราง
                                                  เปรี ยบเทียบ ก็จะได้ค่าความชืนสัมพัทธ์ มีหน่วยเป็ น
                                                  เปอร์ เซ็นต์
การวัดความชืนในอากาศนิยมวัดเป็ นความชืนสัมพัทธ์ เครื องมือวัดความชืนสัมพัทธ์เรี ยกว่า
                                            ั ่
ไฮกรอมิเตอร์ ซึ งมีหลายชนิดด้วยกัน ทียังใช้กนอยูโดยทัวไป ได้แก่ ไฮกรอมิเตอร์ แบบ กระเปาะ
เปี ยก-กระเปาะแห้ง
                               ความชืนสัมพัทธ์เป็ นเปอร์ เซ็นต์
  อุณหภูมิเทอร์ โมมิเตอร์ กระเปาะแห้ง 10-14 15-19 20-24 25-29 30-34 35-39 40-44
          ผลต่างของอุณหภูมิ
                 0.5                  94    95    96     96    97    97     97
                 1.0                  89    90    92     93    93    94     94
                 1.5                  83    86    88     89    90    91     91
                 2.0                  77    81    83     85    86    88     89
                 2.5                  72    76    80     82    83    85     86
                 3.0                  67    72    75     78    78    80     83
                 3.5                  61    67    72     75    77    79     81
                 4.0                  56    63    68     71    74    76     78
                 4.5                  51    58    64     68    71    73     76
                 5.0                  46    54    60     62    68    71     73
                  6                   36    46    53     57    62    65     68
                  7                   26    38    46     51    57    60     63
                  8                   15    29    39     46    51    55     59
                  9                    5    21    32     41    46    51     54
                  10                        13    25     36    41    46     50
                  11                         5    19     31    36    42     46
                  12                              13     28    31    37     43
                  13                                     25    28    33     38
                  14                                     19    25    29     34
จากตารางนักเรี ยนจะได้ขอมูลดังนี
                          ้
        ถ้าอุณหภูมิของเทอร์ โมมิเตอร์ กระเปาะแห้งอ่านได้ 35 C และผลต่างของอุณหภูมิ
เทอร์ โมมิเตอร์ ทงสองเป็ น 5 C จะอ่านค่าความชืนสัมพัทธ์ได้ 71 % แต่ถาผลต่างของอุณหภูมิทง
                 ั                                                  ้                  ั
สองมีค่า 8 C จะอ่านค่าความชืนสัมพัทธ์ได้ 55 % นักเรี ยนจะสามารถสรุ ปได้วา ณ อุณหภูมิหนึง
                                                                          ่
ถ้าความแตกต่างของอุณหภูมิจากเทอร์ โมมิเตอร์ กระเปาะเปี ยกและกระเปาะแห้งมีมากขึน ค่า
ความชืนสัมพัทธ์จะน้อยลง ความชืนสัมพัทธ์ทีพอเหมาะ กําลังสบายคือ 60 %

More Related Content

What's hot

เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548Physics Lek
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะTa Lattapol
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
โครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกโครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกochestero
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกSupaluk Juntap
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์oraneehussem
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงานTanyarad Chansawang
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมีThanyamon Chat.
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102พัน พัน
 

What's hot (20)

เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
 
โครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกโครงสร้างโลก
โครงสร้างโลก
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
เรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆเรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆ
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 
การตกผลึก
การตกผลึกการตกผลึก
การตกผลึก
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 

Similar to ความชื้น

อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศdnavaroj
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศkulruedee_chm
 
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศองค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศdnavaroj
 
บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)พัน พัน
 

Similar to ความชื้น (6)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศ
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศองค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
 
บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)
 

More from dnavaroj

เอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysisเอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysisdnavaroj
 
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...dnavaroj
 
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559dnavaroj
 
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...dnavaroj
 
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.dnavaroj
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558dnavaroj
 
Science.m.3.2
Science.m.3.2Science.m.3.2
Science.m.3.2dnavaroj
 
Science.m.3.1
Science.m.3.1Science.m.3.1
Science.m.3.1dnavaroj
 
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)dnavaroj
 
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้dnavaroj
 
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้dnavaroj
 
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกันการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกันdnavaroj
 
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าการยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าdnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 

More from dnavaroj (20)

เอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysisเอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysis
 
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
 
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
 
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
 
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
 
Science.m.3.2
Science.m.3.2Science.m.3.2
Science.m.3.2
 
Science.m.3.1
Science.m.3.1Science.m.3.1
Science.m.3.1
 
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
 
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
 
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
 
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกันการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
 
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าการยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 

ความชื้น

  • 1. ใบความรู้ เรือง ความชื นของอากาศ ่ ั อากาศมีความชืน เพราะมีไอนํา ความชืนจะมากหรื อน้อยขึนอยูกบ ปริ มาณของไอนําในอากาศ นันเอง ่ ความชื นของอากาศ หมายถึง ปริ มาณไอนําทีปะปนอยูในอากาศ ได้มาจากแหล่ง การระเหยของนําจากแหล่งนําต่าง ๆ บนโลก การคายนําของพืช ตลอดจนการหายใจของสัตว์ ทําให้เกิดไอ ่ ั นําซึ งเรามองไม่เห็นเนื องจากมีสถานะเป็ นแก๊ส ล่องลอยอยูทวไปในอากาศ อากาศทุกหนทุกแห่งมีไอนํา แทรกตัวปะปนอยู่ แต่อาจมีปริ มาณมากน้อยต่างกัน ปริ มาณไอนําทีมีอยูในอากาศเราเรี ยกว่า ความชืนของ ่ อากาศ ความชืนของอากาศในวันหนึง ๆ จะเปลียนแปลงโดยมีความชืนของอากาศสู งในเวลากลางคืนและ ตอนเช้า เพราะอุณหภูมิของอากาศตําจึงรับไอนําในอากาศได้นอย ส่ วนในตอนกลางวันอุณหภูมิของอากาศ ้ สู งขึนจึงรับไอนําได้อีกมาก ลักษณะภูมิอากาศร้อนชื น ลักษณะภูมิอากาศแห้ง ่ หรื ออาจกล่าวได้วา ถ้าความชืนในอากาศมีมากการระเหยของนําจากแหล่งต่าง ๆ จะน้อย เสื อผ้าที ตากจะแห้งช้า หรื อรู ้สึกเหนียวตัวและอึดอัด แต่ถาความชื นในอากาศมีนอยหรื ออากาศแห้ง จะรู ้สึกเย็น ้ ้ สบาย เสื อผ้าแห้งง่าย จนถึงบางครังผิวหนังแห้งและแตก ค่าความชืนของอากาศ โดยทัวไปมีวธีบอกความชืนของอากาศได้ 2 วิธี คือ ิ 1.ความชืนสัมบูรณ์ หมายถึง อัตราส่ วนระหว่างมวลของไอนําในอากาศกับปริ มาตรของอากาศนัน ตัวอย่างเช่น ถ้าทราบว่าขณะนันในอากาศ 5 ลูกบาศก์เมตรมีไอนําอยู่ 15 กรัม แสดงว่าความชืนสัมบูรณ์ของ อากาศขณะนันเป็ น 3 กรัมต่อลูกบาศก์เมตร ่ 2.ความชืนสัมพัทธ์ คือปริ มาณเปรี ยบเทียบระหว่างมวลของไอนําทีมีอยูจริ งในอากาศขณะนันกับ มวลของไอนําในอากาศอิมตัวทีอุณหภูมิและปริ มาตรเดียวกัน
  • 2. ความชืนสัมพัทธ์มกแสดงเป็ นร้อยละซึ งแสดงได้ดงนี ั ั ่ ความชืนสัมพัทธ์= มวลไอนําทีมีอยูจริ งในอากาศขณะนัน / มวลของไอนําในอากาศอิมตัวที อุณหภูมิและปริ มาตรเดียวกัน X 100 เช่น ทีอุณหภูมิ 30 องศาเซลเซี ยสอากาศอิมตัวด้วยไอนํา 160 กรัมต่อลูกบาศก์เมตร แต่ในขณะนัน มีไอนําอยูเ่ พียง 120 กรัมต่อลูกบาศก์เมตรดังนัน ความชืนสัมพัทธ์ทางอากาศ = 120 / 160 X 100 = 75 % ความชืนในอากาศเปลียนแปลงอยูเ่ สมอ ถ้าความชืนในอากาศมีมากจะทําให้เหงือทีตัวเราระเหยได้ น้อย ทําให้เหนียวตัวและรู ้สึกอึดอัด นําจากแหล่งนําต่างๆ จะระเหยสู่ อากาศได้นอย ผ้าทีซักตากไว้จะแห้ง ้ ช้า แต่ถาความชืนในอากาศน้อยหรื ออากาศแห้ง เหงือทีตัวเราจะระเหยได้มาก ทําให้รู้สึกเย็น จนบางครังทํา ้ ให้ผวหนังแห้งหรื อแตก นําจาก แหล่งนําต่างๆระเหยได้ง่าย และผ้าทีตากไว้จะแห้งเร็ ว ิ การวัดความชื น ในการวัดความชืนสัมพัทธ์ เราใช้เครื องมือซึ งเรี ยกว่า ่ ไฮโกรมิเตอร์ (Hygrometer) ซึ งมีอยูหลายชนิด มีทง ั ทําด้วยกระเปาะเทอร์ โมมิเตอร์ และเป็ นอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ ไฮโกรมิเตอร์ ซึงสามารถทําได้เอง และมีความน่าเชือถือเรี ยกว่า“สลิงไซโครมิเตอร์ ” (Sling psychrometer) ประกอบด้วยเทอร์ โมมิเตอร์ จํานวน 2 อันอยูคู่กน โดยมีเทอร์ โมมิเตอร์ อนหนึงมี ่ ั ั ผ้าชุบนําหุ มกระเปาะไว้ เรี ยกว่า “กระเปาะเปี ยก” ้ (Wet bulb) ส่ วนกระเปาะเทอร์ โมมิเตอร์ อีกอันหนึง ไม่ได้หุมอะไรไว้ เรี ยกว่า “กระเปาะแห้ง” (Dry bulb) ้ เมือหมุนสลิงไซโครมิเตอร์ จบเวลา 3 นาที แล้วอ่าน ั ค่าแตกต่างของอุณหภูมิกระเปาะทังสองบนตาราง เปรี ยบเทียบ ก็จะได้ค่าความชืนสัมพัทธ์ มีหน่วยเป็ น เปอร์ เซ็นต์
  • 3. การวัดความชืนในอากาศนิยมวัดเป็ นความชืนสัมพัทธ์ เครื องมือวัดความชืนสัมพัทธ์เรี ยกว่า ั ่ ไฮกรอมิเตอร์ ซึ งมีหลายชนิดด้วยกัน ทียังใช้กนอยูโดยทัวไป ได้แก่ ไฮกรอมิเตอร์ แบบ กระเปาะ เปี ยก-กระเปาะแห้ง ความชืนสัมพัทธ์เป็ นเปอร์ เซ็นต์ อุณหภูมิเทอร์ โมมิเตอร์ กระเปาะแห้ง 10-14 15-19 20-24 25-29 30-34 35-39 40-44 ผลต่างของอุณหภูมิ 0.5 94 95 96 96 97 97 97 1.0 89 90 92 93 93 94 94 1.5 83 86 88 89 90 91 91 2.0 77 81 83 85 86 88 89 2.5 72 76 80 82 83 85 86 3.0 67 72 75 78 78 80 83 3.5 61 67 72 75 77 79 81 4.0 56 63 68 71 74 76 78 4.5 51 58 64 68 71 73 76 5.0 46 54 60 62 68 71 73 6 36 46 53 57 62 65 68 7 26 38 46 51 57 60 63 8 15 29 39 46 51 55 59 9 5 21 32 41 46 51 54 10 13 25 36 41 46 50 11 5 19 31 36 42 46 12 13 28 31 37 43 13 25 28 33 38 14 19 25 29 34
  • 4. จากตารางนักเรี ยนจะได้ขอมูลดังนี ้ ถ้าอุณหภูมิของเทอร์ โมมิเตอร์ กระเปาะแห้งอ่านได้ 35 C และผลต่างของอุณหภูมิ เทอร์ โมมิเตอร์ ทงสองเป็ น 5 C จะอ่านค่าความชืนสัมพัทธ์ได้ 71 % แต่ถาผลต่างของอุณหภูมิทง ั ้ ั สองมีค่า 8 C จะอ่านค่าความชืนสัมพัทธ์ได้ 55 % นักเรี ยนจะสามารถสรุ ปได้วา ณ อุณหภูมิหนึง ่ ถ้าความแตกต่างของอุณหภูมิจากเทอร์ โมมิเตอร์ กระเปาะเปี ยกและกระเปาะแห้งมีมากขึน ค่า ความชืนสัมพัทธ์จะน้อยลง ความชืนสัมพัทธ์ทีพอเหมาะ กําลังสบายคือ 60 %