SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
Download to read offline
ภาษาไทยกับการเขียน
อ.ดร.วัชรพล วิบูลยศริน
ภาษา คือ
• ถ้อยคาที่ใช้พูดหรือเขียนเพื่อสื่อความของชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง
เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน หรือเพื่อสื่อความเฉพาะวงการ เช่น
ภาษาราชการ ภาษากฎหมาย ภาษาธรรม
• เสียง ตัวหนังสือ หรือกิริยาอาการที่สื่อความได้ เช่น ภาษา
พูด ภาษาเขียน ภาษาท่าทาง ภาษามือ
• (โบ) คนหรือชาติที่พูดภาษานั้น ๆ เช่น มอญ ลาว ทะวาย
นุ่งห่มและแต่งตัวตามภาษา (พงศ. ร. ๓)
ภาษา คือ
• (คอม) กลุ่มของชุดอักขระ สัญนิยม และกฎเกณฑ์ที่กาหนดขึ้น
เพื่อสั่งงานคอมพิวเตอร์ เช่น ภาษาซี ภาษาจาวา
• โดยปริยายหมายความว่าสาระ เรื่องราว เนื้อความที่เข้าใจกัน
เช่น ตกใจจนพูดไม่เป็นภาษา เขียนไม่เป็นภาษา ทางานไม่เป็น
ภาษา
สรุปได้ว่าภาษา คือ
• “ภาษา” มาจากคากริยาภาษาสันสกฤตว่า ภาษ แปลว่า พู ด
บอก หรือ กล่าว
• เมื่อนามาใช้เป็นคานามจึงเปลี่ยนรูปเป็น ภาษา ซึ่งมีความหมาย
ว่า “คาพูดหรือถ้อยคา”
ประเภทของภาษา
• การสื่อสารด้วยวาจา หรือ วจนภาษา

(Oral communication)
ประเภทของภาษา
• การสื่อสารที่มิใช่วาจา หรือ อวจนภาษา

(Nonverbal communication)
ประเภทของภาษา
• การสื่อสารที่มิใช่วาจา หรือ อวจนภาษา

(Nonverbal communication)
ประเภทของภาษา
• การสื่อสารด้วยจักษุสัมผัส หรือ การมองเห็น

(Visual communication)
ลักษณะทั่วไปของภาษา
• ภาษาประกอบขึ้นด้วย “เสียง + ความหมาย”
• ภาษามี ร ะบบระเบี ย บ มี ไ วยากรณ์ เ ฉพาะของ
แต่ละภาษา
• ภาษาเกิ ด จากการเรี ย นรู้ โดยมี สิ่ ง แวดล้ อ มเป็ น
ตัวกาหนด
• ภาษามีจานวนประโยคไม่รู้จบ
ลักษณะทั่วไปของภาษา
• ภาษามีการเปลี่ยนแปลง
–ความหมายเปลี่ยนแปลง เช่น แพ้ เป่าปี่ ดัดจริต
พลิกแผ่นดิน
–ความหมายกว้ า งขึ้น เช่ น หางเครื่ อ ง กระโถน
เดินสาย
–ความหมายแคบลง เช่น กาพย์ ปากจัด
• ภาษาคือการกาหนดสัญลักษณ์ร่วมกัน
คาถามชวนพิจารณา
ให้นิสิต/นักศึกษาร่วมกันพิจารณาว่าลักษณะเฉพาะของ
ภาษาไทยต่อไปนี้เป็นจริงหรือไม่ อย่างไร?
ลักษณะเฉพาะของภาษาไทย
• ภาษาไทยมีตัวอักษรเป็นของตนเอง
• ภาษาไทยเป็นภาษาคาโดด
• ภาษาไทยส่วนมากเป็น คาพยางค์เดียว มีความหมาย
สมบูรณ์ในตัว
• คาเดียวอาจมีหลายความหมาย หลายหน้าที่ เมื่ออยู่ใน
ตาแหน่งต่างกัน
–“หลังจากไก่ขัน เขาก็ลุกขึ้นใช้ขันตักน้าหนึ่งขันมาล้างหน้า
แล้วก็นึกขันว่า ตื่นมานั่งขันเชือกอย่างแข็งขันแต่เช้าทาไม”
ลักษณะเฉพาะของภาษาไทย (ต่อ)
• ภาษาไทยมี ลั ก ษณนาม เช่ น ช้ า ง เปี ย โน เกวี ย น
คอมพิวเตอร์ ปริญญาบัตร
• ภาษาไทยมีระบบเสียงสูงต่า คือ มีเสียงวรรณยุกต์
• ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีชั้นเชิง คือ มีระดับของคา
• คาภาษากวี เช่น สายัณห์ตะวันยาม ขณะข้ามทิฆัมพร
เข้าภาคนภาตอน
รอนรอนและอ่อนแสง
เป็นครามอร่ามใส

ทิศะตกก็ราไร
นภะแดงสิแปลงไป
สุภะสดพิสุทธ์สี
กิจกรรมเสริม
• นักศึกษาแบ่งออกเป็น 8 กลุ่ม แต่ละกลุ่มเลือกถอดความและ
ขยายความในบทประพันธ์ต่อไปนี้เพียง 1 บาท (ไม่ซ้ากัน)
• ครูกาหนดเวลา 15 นาที แล้วส่งผู้แทนกลุ่ม 1 คน ออกมา
นาเสนอหน้าชั้นเรียน
ความสาคัญของภาษาไทย
ภาษาไทยเลิศล้าวัฒนธรรมชาติ
สื่อประกาศเอกลักษณ์สมศักดิ์ศรี
สืบศิลป์ศาสตร์ภูมิปัญญาสามัคคี
ประเพณีสืบภาษาค่านิยม
กอปรกิจการงานใดใดใช้ภาษา
หลากคุณค่าภาษาไทยใช้เหมาะสม
รู้ผ่อนคลายใช้ภาษาพารื่นรมย์
ชนชื่นชมสาคัญค่าภาษาไทย

(สาเนียง ฟ้ากระจ่าง, 2556)
การเปรียบเทียบการใช้ภาษาพูดและภาษาเขียน
ภาษาพูดและภาษาเขียน
• ภาษาเขียนไม่ใช้ถ้อยคาหลายคาที่เราใช้ในภาษาพูด
เท่านั้น เช่น เยอะแยะ โอ้โฮ จมไปเลยแย่ ฯลฯ
• ภาษาเขียนไม่มีสานวนเปรียบเทียบหรือคาสแลงที่
ยังไม่เป็นที่ยอมรับในภาษาเช่น ชักดาบ พลิกล็อค
โดดร่ม
ภาษาพูดและภาษาเขียน
• ภาษาเขียนมีการเรียบเรียงถ้อยคาที่สละสลวยชัดเจน ไม่
ซ้าคาหรือซ้าความโดยไม่จาเป็น ในภาษาพูดอาจจะใช้
ซ้าคาหรือซ้าความได้ เช่น การพูดกลับไปกลับมา เป็น
การย้าคาหรือเน้นข้อความนั้นๆ
• ภาษาเขียน
ผู้เขียนไม่มีโอกาสแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้
แต่ถ้าเป็นภาษาพูด ผู้พูดมีโอกาสชี้แจงแก้ไขในตอนท้าย
ได้ นอกจากนี้ยังมีข้อแตกต่างระหว่างภาษาพูดและ
ภาษาเขียนอีกหลายประการ คือ
ความแตกต่างระหว่างภาษาพูดและภาษาเขียน
• ๑) ภาษาเขียนใช้คาภาษามาตรฐาน หรือภาษาแบบแผน
ซึ่งนิยมใช้เฉพาะในวงราชการหรือในข้อเขียนที่เป็นวิชาการ
ทั้งหลายมากกว่าภาษาพูด เช่น
ภาษาเขียน – ภาษาพูด
สุนัข หมา
แพทย์ หมอ
ภาพยนตร์ หนัง

ภาษาเขียน – ภาษาพูด
สุกร
หมู
เครื่องบิน
เรือบิน
รับประทาน ทาน,กิน
ความแตกต่างระหว่างภาษาพูดและภาษาเขียน
• ๒) ภาษาพูดมักจะออกเสียงไม่ตรงกับภาษาเขียน คือ เขียน
อย่างหนึ่งเวลาออกเสียงจะเพี้ยนเสียงไปเล็กน้อย ส่วนมาก
จะเป็นเสียงสระ เช่น
ภาษาเขียน – ภาษาพูด
ฉัน
ชั้น
เท่าไร
เท่าไหร่

ภาษาเขียน – ภาษาพูด
เขา เค้า
หรือ หรอ,เร้อะ
ความแตกต่างระหว่างภาษาพูดและภาษาเขียน
• ๓) ภาษาพูดสามารถแสดงอารมณ์ของผู้พูดได้ดีกว่าภาษาเขียน
คือ
มีการเน้นระดับเสียงของคาให้สูง -ต่า-สั้น-ยาว ได้ตาม
ต้องการ เช่น
ภาษาเขียน – ภาษาพูด
ตาย
ต๊าย
เปล่า
ปล่าว
ลุง
ลุ้ง

ภาษาเขียน – ภาษาพูด
บ้า
บ๊า
ไป
ไป๊
หรอก
หร้อก
ความแตกต่างระหว่างภาษาพูดและภาษาเขียน
• ๔) ภาษาพูดนิยมใช้คาช่วยพูดหรือคาลงท้าย เพื่อ
ช่วยให้การพูดนั้นฟังสุภาพและไพเราะยิ่งขึ้น เช่น ไป
ไหนคะ ไปตลาดค่ะ รีบไปเถอะ ไม่เป็นไรหรอก นั่ง
นิ่งๆ ซิจ๊ะ
• ๕) ภาษาพูดนิยมใช้คาซ้า และคาซ้อนบางชนิด เพื่อ
เน้นความหมายของคาให้ชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น
ความแตกต่างระหว่างภาษาพูดและภาษาเขียน
คาซ้า
ดี๊ดี เก๊าเก่า ไปเปย อ่านเอิ่น ผ้า
ห่มผ้าเหิ่ม กระจกกระเจิก อาหงอาหาร
คาซ้อน
มือไม้ ขาวจั้ะ ดามิดหมี แข็งเป็ก
เดินเหิน ทองหยอง
สรุป
• ภ า ษ า พู ด คื อ ภ า ษ า ที่ ผู้ ใ ช้ ภ า ษ า ใ ช้ สื่ อ ส า ร ใ น
ชีวิตประจาวันด้วยการพูดนั่นเอง การพูดมีหลายระดับ
ภาษาพูดมีทั้งรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ
การใช้ภาษาพูด ควรคานึงถึงความเหมาะสมของฐานะ
บุคคลและกาลเทศะด้วย
สรุป
• ภาษาเขียน คือ ภาษาที่เ ป็นลายลักษณ์อักษรบันทึกไว้
เป็นหลักฐานประกอบด้วยสาระที่นามาอ้าง อิงได้ ใช้เป็น
ภาษามาตรฐาน การใช้ภาษาเขียนควรเลือกใช้ถ้อยคาที่
เหมาะสม ไม่มีคาที่เป็นกันเองเหมือนภาษาพูดในปัจจุบัน
เราจะพบว่ า มี ผู้ น าภาษาพู ด มาใช้ ป นกั บ ภาษาเขี ย น
“ภาษาพู ด ” ที่ ผู้ ใ ช้ ภ าษา ส่ ว นใหญ่ นิ ย มน ามาใช้ ใ น
“ภาษาเขียน” มีหลายลักษณะ ได้แก่
สรุป (1)
• ใช้ภาษาเขียนตามที่ออกเสียงจริง เช่น
คาที่ออกเสียง “พ้ม” มักใช้รูปเขียน “พ้ม” รูปเขียนที่
ถูกต้องคือ ผม
“เค้า”
“เค้า”
เขา
“ชั้น”
“ชั้น”
ฉัน
“หยั่งงี้”
“หยั่งงี้”
อย่างนี้
“ยังไง”
“ยังไง”
อย่างไร
“ก้อ”
“ก้อ”
ก็
“มั้ย”
“มั้ย”
ไหม
สรุป (2)
• ใช้ภาษาปากที่หรือ ภาษาที่พูด แบบไม่เ ป็นทางการเป็น
ภาษาเขียน เช่น ตีตั๋ว ดูหนัง ล้วนเป็นภาษาพูด เมื่อจะ
นามาใช้เป็นภาษาเขียนควรปรับภาษาพูดให้เป็นภาษา
เขียน
ตีตั๋ว
ควรใช้
ซื้อบัตร
ดูหนัง
”
ชมภาพยนตร์
ของเก๊
”
ของปลอม
เข้าท่า
”
เหมาะสม
สรุป (3)
• การพูดเป็นตัวอักษรย่อตามบท เช่น ภาษาเขียน นสพ.
รายวั น ภาษาพู ด ควรใช้ ว่ า หนั ง สื อ พิ ม พ์ ร ายวั น
ศ.ดร.
=
เวลา 06.30 น. =

ศาสตราจารย์ ดอกเตอร์
หกนาฬิกาสามสิบนาที

หรือแบบไม่เป็นทางการใช้ว่าหกโมงครึ่ง
สรุป (3)
เช่น ป.ป.ช. ภาษาพูดอาจใช้ว่า คณะกรรมการ
ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ หรือ ปอ-ปอชอ ก็ได้ เพราะ ป.ป.ช. เป็นคาย่อที่คนในสังคมรู้จักกันดี
ในบางครั้งที่เราเห็นรูปภาษาเขียน
สรุป (3)
• โดยปกติแล้วคาย่อหรืออักษรย่อนามาใช้ในภาษาเขียน
เพื่อประหยัดเวลา และพื้นที่ในการเขียน เมื่อจะนามาใช้
พูด คาย่อต่าง ๆ ต้องพูดให้เต็มคา ยกเว้นคาที่พูดเต็มคา
แล้ ว ยาวมากหรื อ เข้ า ใจยาก อนุ โ ลมให้ พู ด แบบภาษา
เขียน
กิจกรรมใบงานที่ 2
คาชี้แจง: นักศึกษาแก้ไขภาษาพูดต่อไปนี้ให้เป็นภาษาเขียน (คิดเพิ่มเติม 1 คา)
วัยโจ๋

เจ๋ง

แห้ว

เดี้ยง

ผัวเมีย

หนัง

เริ่ด

บ่องตง

เพ่

นู๋

ชิมิ

เด๋ว

เค้า

ฟิน

ก๊อป

จอย

เว่อร์

บาย

ใช่ป่ะ

มั้ย

เยอะ

กิน

ตาย

หมอ

ยั่งงี้

พ่อ

ดู

เกลียด

ครู

เซ็ง

แซว

ดิ้น

ปอด
ลอย

ใน
หลวง

เมีย
น้อย

บอก

แซ่บ

วัว
มอไซค์ รถเมล์
ควาย

รู้

อ้วก

พูดคุย หน้าเด้ง เผาศพ

ส้วม

อยาก

บ๊วย

ติ๊สต์

More Related Content

What's hot

ข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษาข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษาkingkarn somchit
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ssuser456899
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาPiyarerk Bunkoson
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...Decha Sirigulwiriya
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑พัน พัน
 
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์คุณานนต์ ทองกรด
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์bambookruble
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพSurapong Klamboot
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยLilrat Witsawachatkun
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1พัน พัน
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานีkhorntee
 
ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศ
ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศ
ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศKSPNKK
 

What's hot (20)

ข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษาข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
คำอุทาน
คำอุทานคำอุทาน
คำอุทาน
 
อำลา อาลัย จากใจครู
อำลา  อาลัย  จากใจครูอำลา  อาลัย  จากใจครู
อำลา อาลัย จากใจครู
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
การเขียนป.5 ชุด1.
การเขียนป.5 ชุด1.การเขียนป.5 ชุด1.
การเขียนป.5 ชุด1.
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
 
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทย
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
ระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสียงในภาษาไทย
ระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสียงในภาษาไทยระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสียงในภาษาไทย
ระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสียงในภาษาไทย
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 
ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศ
ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศ
ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศ
 

Similar to Week 2 of WS4T

ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนmonnawan
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-212 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2DisneyP
 
การอ่าน
การอ่านการอ่าน
การอ่านcandy109
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการnootsaree
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาkingkarn somchit
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาWilawun Wisanuvekin
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยAj.Mallika Phongphaew
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรitnogkamix
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Itnog Kamix
 

Similar to Week 2 of WS4T (20)

ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียน
 
ระดับภาษา
ระดับภาษาระดับภาษา
ระดับภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-212 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
 
Tha203 3
Tha203 3Tha203 3
Tha203 3
 
Mil chapter 1_3(1)
Mil chapter 1_3(1)Mil chapter 1_3(1)
Mil chapter 1_3(1)
 
การอ่าน
การอ่านการอ่าน
การอ่าน
 
Wordpress2
Wordpress2Wordpress2
Wordpress2
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
Tha203 2
Tha203 2Tha203 2
Tha203 2
 

More from Watcharapol Wiboolyasarin

คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์Watcharapol Wiboolyasarin
 
สารคณะกรรมการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับที่ 4 ก.พ.59
สารคณะกรรมการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับที่ 4 ก.พ.59สารคณะกรรมการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับที่ 4 ก.พ.59
สารคณะกรรมการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับที่ 4 ก.พ.59Watcharapol Wiboolyasarin
 
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกการวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกWatcharapol Wiboolyasarin
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีWatcharapol Wiboolyasarin
 
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ Watcharapol Wiboolyasarin
 
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจWatcharapol Wiboolyasarin
 
การอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการการอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการWatcharapol Wiboolyasarin
 
Blended Instructional Model Based on Participatory Communication withUsing R...
Blended Instructional Model Based on Participatory Communication withUsing  R...Blended Instructional Model Based on Participatory Communication withUsing  R...
Blended Instructional Model Based on Participatory Communication withUsing R...Watcharapol Wiboolyasarin
 

More from Watcharapol Wiboolyasarin (18)

การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการเขียนรายงาน
การเขียนรายงาน
 
การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการเขียนรายงาน
การเขียนรายงาน
 
คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
 
สารคณะกรรมการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับที่ 4 ก.พ.59
สารคณะกรรมการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับที่ 4 ก.พ.59สารคณะกรรมการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับที่ 4 ก.พ.59
สารคณะกรรมการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับที่ 4 ก.พ.59
 
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกการวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
 
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
 
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
 
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
 
การอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการการอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการ
 
Week 3 of TTFL
Week 3 of TTFLWeek 3 of TTFL
Week 3 of TTFL
 
Week 2 of TTFL
Week 2 of TTFLWeek 2 of TTFL
Week 2 of TTFL
 
Week 3 of WS4T
Week 3 of WS4TWeek 3 of WS4T
Week 3 of WS4T
 
Week 1 of TTFL
Week 1 of TTFLWeek 1 of TTFL
Week 1 of TTFL
 
Week 1 of WS4T
Week 1 of WS4TWeek 1 of WS4T
Week 1 of WS4T
 
Blended Instructional Model Based on Participatory Communication withUsing R...
Blended Instructional Model Based on Participatory Communication withUsing  R...Blended Instructional Model Based on Participatory Communication withUsing  R...
Blended Instructional Model Based on Participatory Communication withUsing R...
 
ความงามทางภาษา
ความงามทางภาษาความงามทางภาษา
ความงามทางภาษา
 

Week 2 of WS4T