SlideShare a Scribd company logo
1 of 125
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาท
ร่างกายของมนุษย์และสัตว์มี
อวัยวะต่าง ๆ ทางานประสาน
สัมพันธ์กันเป็นระบบและทุก
ระบบจะถูกควบคุม
โดยระบบประสาทกับระบบ
ต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) การ
ทางานร่วมกันของสองระบบนี้
เรียกว่าระบบประสานงาน
(coordinating system)
3
การรับรู้และ
การตอบสนองต่อสิ่งเร้า
หน่วยแปลความรู้สึก
(Integration)
หน่วยรับความรู้สึก
(Receptor)
เซลล์ประสาทรับ
ความรู้สึก
(Sensory Neuron)
หน่วยปฏิบัติงาน
(Effector)
เซลล์ประสาทสั่งการ
(Motor Neuron)
สิ่งเร้า
(Stimulus)
การตอบสนอง
(Response)
วงจรการรับรู้และการตอบสนองของสิ่งมีชีวิต
ระบบประสาทแบ่งออกเป็น 3 ส่วน
1.Sensory Input : นาสัญญาณประสาทจากหน่วยรับ
ความรู้สึก (receptor) ไปยังศูนย์ที่อยู่ในระบบประสาท
ส่วนกลาง (CNS)
2.Integration : รวบรวมข้อมูลและแปรผล
3.Motor Output : นาคาสั่งจากศูนย์สั่งการไปยังหน่วย
ปฏิบัติงาน (effectors)
วงจรการรับรู้และการตอบสนองของสิ่งมีชีวิต
6
วงจรการรับรู้และการตอบสนองของสิ่งมีชีวิต
7
การรับรู้และการตอบสนอง
ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์บางชนิด
การรับรู้และการตอบสนอง
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
พารามีเซียม
ใต้ผิวของพารามีเซียมมีเส้นใยเชื่อมโยงระหว่างโคนของซิเลีย
(Cillia) เรียกว่า เส้นใยประสานงาน (coordinating fiber)
การรับรู้และการตอบสนอง
สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
ฟองน้า
เซลล์แต่ละเซลล์ของฟองน้ามีการรับรู้และการตอบสนองแต่ไม่
มีการประสานงานระหว่างเซลล์
การรับรู้และการตอบสนอง
สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
ไฮดรา
มีร่างแหประสาท (nerve net)
ที่เกิดจากเซลล์ประสาทจานวนมาก
เชื่อมโยงกันทั่วตัวเมื่อถูกกระตุ้นแม้
เพียงจุดเดียวก็จะมีการกระจาย
กระแสประสาทไปตามร่างแหประสาท
ทั้งตัวจึงทาให้หดพร้อมกันทั้งตัว
การรับรู้และการตอบสนอง
สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
พลานาเรีย
ประกอบด้วย การทางานประสานกันของเซลล์ประสาทที่รวมตัวกันเป็นปม
ประสาท (nerve ganglion) ซึ่งเรียกว่า สมอง (brain) นอกจากนี้ยังมี
เส้นประสาท (nerve cord) ขนานไปตามด้านข้างของลาตัวจากหัวจรดท้าย
ลักษณะแบบขั้นบันได (ladder type) ซึ่งเชื่อมโยงติดกันด้วยเส้นประสาทวนรอบ
ลาตัวที่เรียกว่า วงแหวนประสาท (nerve ring)
การรับรู้และการตอบสนอง
สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
ไส้เดือนดิน กุ้ง หอย และแมลง
มีปมประสาทขนาดใหญ่ ทาหน้าที่เป็นสมองและมีเส้นประสาทเชื่อมโยงกับ
ปมประสาทที่มีอยู่ตามปล้อง แมลงมีปมประสาทหลายปมเรียงตัวตามแนวยาวของ
ลาตัวทางด้านท้อง
ไส้เดือนดิน แมลง
การรับรู้และการตอบสนอง
คนและสัตว์มีกระดูกสันหลัง
มีระบบประสาทพัฒนามาก
เซลล์ประสาทเกือบทั้งหมดรวมกันอยู่
ที่ส่วนหัว ซึ่งมีขนาดใหญ่และเจริญ
มาก มีการพัฒนาไปเป็นสมอง ส่วนที่
ทอดยาวตามลาตัวด้านหลังเรียกว่า
ไขสันหลัง (spinal cord)
เซลล์ประสาท
ร่างกายคนมีเซลล์ประสาท (nerve cell หรือ neuron) จานวน
มากทาหน้าที่เกี่ยวกับการรับรู้และตอบสนอง
เซลล์ประสาท
เซลล์ประสาทประกอบด้วยส่วนที่สาคัญ 2 ส่วนคือ
1. ตัวเซลล์ (cell body)
2. เส้นใยประสาท (nerve fiber)
2.1 เดนไดรต์ (dendrite)
2.2 แอกซอน (axon)
เซลล์ประสาท
ตัวเซลล์จะประกอบไปด้วย ไซโทพลาซึมและนิวเคลียส ภายในมี
ออร์แกเนลล์คือ ไมโทคอนเดรีย เอนโดพลาสมิกเรติคิวลัม และกอลจิคอม
เพล็กซ์ ส่วยใหญ่มีเส้นใยประสาท ซึ่งเป็นส่วนของเซลล์ที่ยื่นออกมาจาก
ตัวเซลล์ มีลักษณะเป็นแขนงเล็กๆ
เส้นใยประสาทที่นากระแสประสาทเข้าสู่ตัวเซลล์เรียกว่า เดน
ไดรต์ (dendrite) เส้นใยประสาทที่นากระแสประสาทออกจากตัวเซลล์
เรียกว่า แอกซอน (axon)
เซลล์ประสาท
เซลล์ประสาทแต่ละเซลล์จะมีเดนไดรต์แยกออกจากตัวเซลล์หนึ่ง
เส้นใยหรือหลายเส้นใยหรือบางชนิดอาจไม่มีเดนไดรต์ ส่วนแอกซอนมี
เพียงเส้นใยเดียวเท่านั้น
กรณีที่เส้นใยประสาทยาว เส้นใยประสาทของแอกซอนจะมีเยื่อไม
อีลิน (myelin sheath) มาหุ้มเส้นใยประสาท เยื่อไมอีลินมีสารจาพวก
ลิพิดเป็นองค์ประกอบ
เซลล์ประสาท
เมื่อตรวจดูภาคตัดขวางของเยื่อไมอิลีนพบว่า เยื่อไมอิลีนติดต่อกับ
เซลล์ชวันน์ (Schwann cell) ซึ่งเป็นเซลล์ค้าจุนชนิดหนึ่ง
ส่วนแอกซอนตรงบริเวณรอยต่อระหว่างเซลล์ชวันน์แต่ละเซลล์
เป็นบริเวณที่ไม่มีเยื่อไมอิลีนหุ้มเรียกว่า โนดออฟแรนเวียร์ (node of
Ranvier)
เซลล์ประสาท
การสร้าง myclin sheath ที่ติดต่อกับ schwann cell
เซลล์ประสาท
เซลล์ประสาท
บริเวณปลายของ axon เรียกว่า axon terminal ซึ่งทาหน้าที่ถ่ายทอด
สัญญาณไปยังเซลล์เป้าหมายโดยการหลั่งสารสื่อประสาท (neurotransmitter)
เซลล์เป้าหมายอาจเป็นเซลล์ของ effector (เช่น เซลล์กล้ามเนื้อ) หรืออาจ
เป็นเซลล์ประสาทอีกเซลล์หนึ่งซึ่งจะมีตัวรับสารสื่อประสาท (neurotransmitter
receptor)
บริเวณที่มีการติดต่อระหว่าง axon terminal กับเซลล์เป้าหมาย เป็นช่องว่าง
เล็กๆ เรียกว่า synapse
เซลล์ประสาท
การเคลื่อนที่ของสัญญาณประสาทผ่าน Synapse
เซลล์ประสาท
การทางานของเซลล์ประสาทสั่งการ
เซลล์ประสาทจาแนกตามหน้าที่ได้ 3 ชนิด
1. เซลล์ประสาทรับความรู้สึก (sensory neuron) เป็นเซลล์
ประสาทที่รับกระแสประสาทจากหน่วยความรู้สึกแล้วถ่ายทอดกระแส
ประสาทไปยังเซลล์ประสาทสั่งการ ตัวเซลล์ประสาทรับความรู้สึกอยู่ที่ปม
ประสาทรากบนของไขสันหลัง
เซลล์ประสาทจาแนกตามหน้าที่
เซลล์ประสาทจาแนกตามหน้าที่ได้ 3 ชนิด
2. เซลล์ประสาทสั่งการ (motor neuron) มักมีแอกซอนยาวกว่า
เดนไดรต์ เพราะเซลล์ประสาทสั่งการที่อยู่ในไขสันหลังต้องส่งกระแส
ประสาทออกจากไขสันหลังเพื่อนากระแสประสาทไปยังหน่วยปฏิบัติการ
เซลล์ประสาทจาแนกตามหน้าที่
เซลล์ประสาทจาแนกตามหน้าที่ได้ 3 ชนิด
3. เซลล์ประสาทประสานงาน (association neuron) เซลล์
ประสาทนี้อยู่ภายในสมองและไขสันหลัง จะเชื่อมต่อระหว่างเซลล์
ประสาทรับความรู้สึกกับเซลล์ประสาทสั่งการ
เซลล์ประสาทจาแนกตามหน้าที่
เซลล์ประสาทจาแนกตามหน้าที่ได้ 3 ชนิด
เซลล์ประสาทจาแนกตามหน้าที่
เซลล์ประสาทจาแนกตามลักษณะรูปร่างได้ 3 ชนิด
เซลล์ประสาทจาแนกตามลักษณะรูปร่าง
1. เซลล์ประสาทขั้วเดียว (unipolar neuron) เป็นเซลล์ประสาท
ที่มีเส้นใยประสาทแยกออกมาจากตัวเซลล์เพียง 1 เส้นใยคือ แอกซอน
เนื่องจากเซลล์ประสาทชนิดนี้มีไซแนปส์มาเชื่อมต่อน้อย พบในเซลล์
ประสาทที่หลั่งฮอร์โมนของสัตว์ต่างๆ
เซลล์ประสาทในกลุ่มนี้ยังมีเซลล์ประสาทขั้วเดียวเทียม
(pseudounipolar neuron) ซึ่งเป็นเซลล์ที่มีเส้นใยประสาทแยกออกจาก
ตัวเซลล์เส้นใยเดียวแล้วแตกออกเป็น 2
เส้นใย โดยเส้นใยหนึ่งตรงปลายแตกเป็น
เดนไดรต์จะไปรับสัญญาณจากหน่วยรับ
ความรู้สึกที่ส่วนต่างๆ ของร่างกายแล้ว
ส่งผ่านไปยังเส้นใยอีกเส้นหนึ่ง โดยไม่
ผ่านตัวเซลล์แล้วไปไซแนปส์กับเซลล์
ประสาทประสานงานในไขสันหลัง
เซลล์ประสาทจาแนกตามลักษณะรูปร่างได้ 3 ชนิด
เซลล์ประสาทจาแนกตามลักษณะรูปร่าง
2. เซลล์ประสาทสองขั้ว
(bipolar neuron) เป็นเซลล์ประสาท
ที่มีเส้นใยประสาทแยกออกมาจากตัว
เซลล์ 2 เส้นใย
3. เซลล์ประสาทหลายขั้ว
(multipolar neuron) มีเดนไดรต์แยก
ออกมาจากตัวเซลล์จานวนมาก และมี
เอกซอน 1 เส้นใย เซลล์ประสาทส่วน
ใหญ่มักเป็นเซลล์ประสาทหลายขั้ว
เซลล์ประสาทจาแนกตามลักษณะรูปร่างได้ 3 ชนิด
เซลล์ประสาทจาแนกตามลักษณะรูปร่าง
เซลล์ประสาทจาแนกตามลักษณะรูปร่างได้ 3 ชนิด
เซลล์ประสาทจาแนกตามลักษณะรูปร่าง
เซลล์ประสาทจาแนกตามลักษณะรูปร่างได้ 3 ชนิด
เซลล์ประสาทจาแนกตามลักษณะรูปร่าง
สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยำย 33
การทางานของ
เซลล์ประสาท
-membrane potential: ความต่างศักย์ที่เยื่อเซลล์
เนื่องจากความแตกต่างของอิออน ภายใน-นอก
เซลล์ (Na+ K+ Cl- และโปรตีน) ปกติมีค่า= -50 ถึง -
100 mV (ค่าติดลบหมายถึงภายในเซลล์มีขั้วเป็นลบเมื่อ
เทียบกับนอกเซลล์)
-สามารถวัดได้โดยใช้ microelectrode ต่อกับ
voltmeter หรือoscilloscope หรือใช้
micromanipulator วัด
-membrane potential ของเซลล์ประสาทขณะที่ยัง
ไม่ถูกกระตุ้นเรียก
resting potential
Membrane potential
-Chemically-gated ion channels: เป็นประตูที่เปิ ด-ปิ ดเมื่อได้รับการกระตุ้นจาก
สารเคมี เช่น neurotransmitter โดย gated ion channel จะจาเพาะต่อ ion ชนิด
ใดชนิดหนึ่งเท่านั้น
-Voltage-gated ion channels: เป็นประตูที่เปิ ด-ปิ ดจากการกระตุ้นของ
membrane potential
Hyperpolarization และ depolarizati
Hyperpolarization: เป็นการเพิ่ม
ศักย์ไฟฟ้ าที่เยื่อเซลล์ เช่น จาก
การเปิ ดของ K+ channel, K+
เคลื่อนออกจากเซลล์เพิ่มขึ้น ทา
ให้ภายในเยื่อเซลล์มีประจุเป็น
ลบเพิ่มขึ้น (-70mV -90mV)
Depolarization: เป็นการลด
ศักย์ไฟฟ้ าที่เยื่อเซลล์ เช่น จาก
การเปิ ดของ Na+ channel, Na+
เคลื่อนเข้าสู่เซลล์เพิ่มขึ้น ทาให้
ภายในเยื่อเซลล์มีประจุเป็นลบ
ลดลง(-70mV -50mV)
Graded potential การเปลี่ยนแปลงศักย์ไฟฟ้ า
(hyper & depolarization) ตามความแรงของสิ่งเร้า
Action potential
-action potential: การเปลี่ยนแปลง membrane potential อย่างรวดเร็วของ
เซลล์
ประสาทเมื่อได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้า ที่ทาให้เกิด depolarization จนถึงระดับ
threshold potential
-เกิดที่ axon เท่านั้น และเป็นแบบ all-or-none
แบ่งเป็น 5 ระยะดังนี้
1.Resting state
2.Threshold
3.Depolarization
4.Repolarization
5.Undershoot
ระยะที่ 2: Threshold
-สิ่งเร้ามากระตุ้น ทาให้ Na+ channel
บางส่วนเปิ ด ถ้าการไหลของ Na+ เข้าสู่
เซลล์มากพอจนถึงระดับ threshold
potential จะกระตุ้น Na+ gate เปิ ดมากขึ้น
และกระตุ้นให้เกิด action potential
ระยะที่ 3: Depolarization
-activation gate ของ
Na+ channel เปิ ด แต่ K+
channel ยังคงปิ ดอยู่
ดังนั้นการเคลื่อนที่ของ
Na+เข้าภายในเซลล์จึง
ทาให้ภายในเซลล์มี
ประจุเป็นบวกมากขึ้น
(หรือเป็นลบลดลง)
ระยะที่ 4: Repolarization
-inactivation gate ของ
Na+ channel ปิ ด และ
K+ channel เปิ ด ทาให้
Na+ไม่สามารถเคลื่อนเข้าสู่
ภายในเซลล์ได้อีก ในขณะที่ K+จะ
เคลื่อนออกนอกเซลล์ จึงทาให้ภายใน
เซลล์มีประจุเป็นลบเพิ่มขึ้น กลับคืนสู่
สภาวะ resting membrane potential
ระยะที่ 5: Undershoot
-gate ทั้งสองอันของ Na+ ปิ ด แต่ K+ channel ยังเปิ ดอยู่ (relatively slow gate) จึง
ทาให้ภายในเซลล์มีประจุลดลงต่ากว่า resting membrane potential หลังจากนั้น
เซลล์จะกลับสู่สภาวะปกติ(Na+-K+ pump)และพร้อมจะตอบสนองต่อการกระตุ้นลาดับ
repolarizationและundershoot = refractory perio
Propagation of action potential
1.ขณะที่เกิด action potential (ในตาแหน่งที่ 1) N+
เคลื่อนเข้าสู่ภายในเซลล์ ซึ่ง Na+ ที่เคลื่อนเข้ามา
ภายในเซลล์จะแพร่ไปยังบริเวณข้างเคียง(ตาแหน่งที่
2) และสามารถกระตุ้นให้บริเวณข้างเคียงเกิด
depolarization และ action potential ได้ในที่สุด
2.ขณะที่ ตาแหน่งที่ 2 เกิด action potential ใน
ตาแหน่งที่ 1 จะเกิด repolarization (refractory
period) จึงทาให้ไม่สามารถเกิด action potential
ในทิศทางย้อนกลับได้
3.หลังจากนั้น action potential จะเคลื่อนไปสู่
ตาแหน่งที่ 3 และตาแหน่งที่ 2 จะเกิด refractory
period และ ตาแหน่งที่ 1 จะกลับสู่สภาวะ resting
stage ต่อไป
-การเคลื่อนของ action potential บน axon จึง
เคลื่อนไปในทิศทางเดียว(ออกจาก cell body)
เท่านั้น
Saltatory conduction
-ใน myelinated axon การเกิด action potential จะเกิดระหว่าง node of Ranvier
หนึ่ง
ไปยังอีก node หนึ่ง เพราะการเคลื่อนที่ของ Na+ และ K+ เข้า-ออกจากเซลล์เกิดได้
เฉพาะบริเวณ node of Ranvier เท่านั้น ลักษณะนี้เรียก saltatory conduction
-ความเร็วในการเคลื่อนของaction potential ไปตาม axon จะขึ้นอยู่กับความกว้าง
ของ axon ยิ่งกว้างยิ่งเคลื่อนได้เร็ว
-แต่ในพวก myelinated axon ถึงแม้จะมีขนาดเล็กแต่ action potential ก็เคลื่อนได้
เร็ว
Electrical synapse
-บริเวณ presynatic membrane และ postsynaptic membrane เชื่อมต่อกันด้วย
gap junction ดังนั้น ion current จากaction potential จึงสามารถเคลื่อนจาก
เซลล์ประสาทหนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่งได้โดยตรง
Presynaptic membranePostsynaptic memb
Chemical synapse
1.action potential ที่ synaptic terminal ทาให้เกิด Ca+ influx
2.synaptic vesicle รวมกับเยื่อเซลล์
3.หลั่งneurotransmitter สู่ synaptic cleft และเคลื่อนไปจับกับ
ตัวรับที่ postsynatic membrane
4.การจับทาให้ ion channel (เช่น Na+) เปิ ด, Na+ เคลื่อนเข้าใน
เซลล์ เกิด depolarization
ภาพที่ 21 การเคลื่อนที่ของกระแสประสาท
ของใยประสาทที่ไม่มีเยื่อ myelin sheath
ที่มา :http://fukidbionote.blogspot.com
/2008/03/nerve-system.html
ภาพที่ 22 การเคลื่อนที่ของกระประสาทผ่านเซลล์ประสาทที่มีเยื่อไมอีลินุ้ม
ที่มา : http://fukidbionote.blogspot.com/2008/03/nerve-system.html
ภาพที่ 23 ทิศทางการเคลื่อนที่ของกระแสประสาท
ที่มา :http://mulinet6.li.mahidol.ac.th/cd-rom/cd-rom0311t/ch1/chapter1/part_3.html
ภาพที่ 24 การเปลี่ยนแปลงศักย์ไฟฟ้า ขณะที่เซลล์ประสาทถูกกระต้น
ที่มา : http://fukidbionote.blogspot.com/2008/03/nerve-system.html
การเกิดกระแสประสาท
1. เซลล์ประสาทขณะพัก (reating neuron) ความต่างศักย์ภายในและภายนอก
เซลล์ขณะพักซึ่งเรียกว่า resting potential มีค่า ประมาณ60 มิลลิโวลต์
2. เซลล์ประสาทขณะมีการขนส่ง กระแสประสาทเมื่อถูกกระต้น เกิด
ภาวะการณ์กลับขั้วขึ้น depolarization และรียกว่า ความต่างศักย์ไฟฟ้าที่
เปลี่ยนไปนี้ว่า Action potential
3. เซลล์ประสาทขณะุยดการขนส่ง กระแสประสาทุลังจากเกิดการกลับขั้ว
(depolarization) ความต่างศักย์ไฟฟ้าจะลดลงจนกลับมาเป็น 60
มิลลิโวลต์เุมือนในขณะพักเรียกว่ามีการเกิดคืนขั้ว (Repolarization)
ทาใุ้ศักย์ไฟฟ้ามีค่าเท่ากับResting potential เุมือนเดิม
ศูนย์การควบคุม
ระบบประสาท
52
• ระบบประสาทส่วนกลาง (Central Nervous
System; CNS) ประกอบด้วย สมองและไขสันหลัง
ทาหน้าทีรวบรวม แปลผลข้อมูล และควบคุมการ
ทางานของอวัยวะภายนอก เช่น แขน ขา กล้ามเนื้อ
กระดูก
• ระบบประสาทรอบนอก (Peripheral Nervous
System; PNS) ประกอบด้วย
– เส้นประสาทที่ออกจากสมอง (cranial nerve)
– เส้นประสาทที่ออกจากไขสันหลัง (spinal nerve)
– ปมประสาท (ganglia)
ทาหน้าที่นาสัญญาณประสาทเข้า-ออก CNS และ
ควบคุมการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมภายใน
ร่างกาย
ระบบประสาทของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
ในขณะที่เป็นเอมบริโอมีลักษณะเป็นหลอดกลวง เรียกว่า neural
tube ที่โป่งออกแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ
สมองส่วนหน้า (Forebrain)
สมองส่วนกลาง (Midbrain)
สมองส่วนหลัง (Hindbrain)
ระบบประสาทของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
ทั้งสมองและไขสันหลัง (Spinal Cord) จะอยู่ภายในเยื่อหุ้ม 3 ชั้น
1. ชั้นนอกมีลักษณะหนาเหนียวและแข็งแรง ทาหน้าที่ป้องกันการ
กระทบกระเทือนแก่ส่วนที่เป็นเนื้อสมองและไขสันหลัง
2. ชั้นกลางเป็นเยื่อบางๆ
3. ชั้นในแนบสนิทไปตามรอยโค้งเว้าของสมองและไขสันหลังจึงมีหลอด
เลือดมาหล่อเลี้ยงอยู่มาก เพื่อนาสารอาหารและแก๊สออกซิเจนมาเลี้ยงเซลล์
ชั้นใน
ระบบประสาทของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
ระหว่างเยื้อหุ้มสมองชั้นกลางและชั้นในเป็นที่อยู่ของน้าเลี้ยงสมองและไข
สันหลัง (cerebrospinal fluid) ซึ่งช่องนี้มีทางติดต่อกับโพรงภายในสมองและ
ช่องภายในไขสันหลัง น้าเลี้ยงสมองและไขสันหลังมีหน้าที่นาแก๊สออกซิเจนและ
สารอาหารมาหล่อเลี้ยงเซลล์ประสาทและนาของเสียออกจากเซลล์
ระบบประสาทของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
สมองของคน
•สมองส่วนหน้า
(Forebrain)
•สมองส่วนกลาง
(Midbrain)
•สมองส่วนท้าย
(Hindbrain)
สมองของคน
สมองของคน
สมองของคน
• อีกชื่อหนึ่งคือ โปรเซนเซฟาลอน (Prosencephalon)
• แบ่งได้เป็น 3 ส่วนหลัก
–ซีรีบรัม (Cerebrum)
–ธาลามัส (Thalamus)
–ไฮโปธาลามัส (Hypothalamus)
สมองส่วนหน้า (Forebrain)
สมองของคน
ซีรีบรัม (Cerebrum)
สมองส่วนหน้า (Forebrain)
• เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า เทเลนเซฟาลอน (Telencephalon)
• เป็นสมองส่วนที่ใหญ่ที่สุด
• ประกอบด้วย 2 ซีก (hemispheres) ซ้าย & ขวา
• หน้าที่: ความจา การเรียนรู้ การใช้เหตุผล การพูด ศูนย์กลาง
การรับรู้การมองเห็น การได้ยิน กลิ่น รส
สมองของคน
สมองของคน
ธาลามัส (Thalamus)
สมองส่วนหน้า (Forebrain)
• เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ทาลาเมนเซฟาลอน (Thalamencephalon)
• เป็นบริเวณที่รวมกลุ่มของตัวเซลล์ประสาทและเนื้อเยื่อ
เกี่ยวพันที่เรียกว่านิวโรเกลีย (neuroglia) ทาหน้าที่รับ
สัญญาณประสาทจากหูและตา แล้วส่งต่อไปยังซีรีบรัม
• เกี่ยวข้องกับการตื่นตัวของซีรีบรัม
• มีส่วนร่วมในกระบวนการสร้างความจาและอารมณ์
สมองของคน
ไฮโปธาลามัส (Hypothalamus)
สมองส่วนหน้า (Forebrain)
• อยู่ถัดจาก thalamencephalon ลงมา
• เป็นศูนย์ที่ช่วยรักษาภาวะธารงดุลของร่างกาย โดยควบคุม
การหิว การนอน การกระหายน้า อุณหภูมิร่างกาย และ สมดุล
น้า
• ควบคุมการทางานของต่อมใต้สมอง (pituitary gland)
สมองของคน
สมองส่วนกลาง (Midbrain)
• อีกชื่อหนึ่งคือ มีเซนเซฟาลอน (Mesencephalon)
• มีส่วนที่พองออกเป็นกระเปาะเรียกว่า ออพติกโลป (Optic
lobe)
– ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม ถ่ายทอดสัญญาณประสาทเกี่ยวกับการ
มองเห็นและการได้ยิน
– ในปลา รับความรู้สึกจากเส้นข้างลาตัว
สมองของคน
สมองส่วนท้าย (Hindbrain)
• เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า รอมเบนเซฟาลอน (Rhombencephalon)
• ประกอบด้วย ซีรีเบลลัม (Cerebellum) และพอนส์ (Pons)
• มี เมดัลลาออบลองกาตา (Medulla oblongata) เป็นจุด
เชื่อมต่อระหว่างสมองกับไขสันหลัง
สมองของคน
ซีรีเบลลัม (Cerebellum)
• รับสัญญาณข้อมูลเกี่ยวกับตาแหน่งของข้อต่อต่างๆ และข้อมูล
จากระบบรับรู้การได้ยินและการมองเห็น
• ควบคุมและประสานงานเกี่ยวกับการทางานของกล้ามเนื้อ
เพื่อควบคุมการเคลื่อนไหวและการทรงตัว
• การมีแอลกอฮอล์ในเลือดสูง มีผลต่อซีรีเบลลัม ทาให้ทรงตัวได้
ไม่ดี
สมองส่วนท้าย (Hindbrain)
สมองของคน
พอนส์ (Pons)
• อยู่ทางด้านหน้าของซีรีเบลลัม
• ควบคุมการเคี้ยวอาหาร การหลั่งน้าลาย การหายใจ
การฟัง และการถ่ายทอดความรู้สึกจากซีรีบรัมไปยัง
ซีรีเบลลัม
สมองส่วนท้าย (Hindbrain)
สมองของคน
เมดัลลาออบลองกาตา (Medulla Oblongata)
• รูปร่างคล้ายไขสันหลัง
• ควบคุมเกี่ยวกับระบบประสาทอัตโนมัติหลายอย่าง เช่น
การเต้นของหัวใจและการหมุนเวียนของเลือด
สมองส่วนท้าย (Hindbrain)
ไขสันหลังของคน
ไขสันหลังอยู่ภายในกระดูก
สันหลังตั้งแต่กระดูกสันหลัง
บริเวณคอข้อแรกถึงกระดูกสัน
หลังบริเวณเอวข้อที่ 2 ส่วน
ปลายของไขสันหลังที่เป็น
เส้นประสาทที่แยกออกมาจะ
เรียวเรียกว่า เส้นประสาทไข
สันหลัง (spinal nerve)
ไขสันหลังของคน
ไขสันหลังประกอบด้วย 2 บริเวณ คือ บริเวณเนื้อสีเทา มีตัวเซลล์ประสาท
อยู่หนาแน่น ซึ่งถูกล้อมรอบด้วยเนื้อสีขาว บริเวณที่มีเส้นใยประสาทที่มีเยื่อ
หุ้มไมอีลินหุ้ม ตรงกลางของไขสันหลังบริเวณเนื้อสีเทาจะมีช่องกลวง ภายในมี
น้าเลี้ยงสมองและไขสันหลังบรรจุอยู่
สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยำย 72
• เป็นศูนย์ของการเคลื่อนไหวต่างๆ ที่ตอบสนองการสัมผัสทางผิวหนัง
• เป็นตัวเชื่อมระหว่างอวัยวะรับความรู้สึก (sensors หรือ receptors)
กับกล้ามเนื้อหรือตัวทางาน (effectors)
• เป็นทางผ่านไปกลับของกระแสประสาทระหว่างไขสันหลังกับสมอง
ไขสันหลังของคน
หน้าที่ของไขสันหลัง
สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยำย 73
เส้นประสาทสมองและเส้นประสาทไขสันหลัง แยก
ออกมาเป็นคู่ๆ เพื่อรับสัญญาณความรู้สึกและออกคาสั่งควบคุม
หน่วยปฏิบัติงาน
ในคนมีเส้นประสาทสมอง 12 คู่ เส้นประสาทไขสัน
หลัง 31 คู่ เรียกตามชื่อกระดูก คือ
ไขสันหลังของคน
สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยำย 74
ไขสันหลังของคน
ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
มีเส้นประสาทสมอง12 คู่
ทาหน้าที่
รับความรู้สึก (Sensory
nerve) มี 3 คู่ คู่ที่ 1,2,8
นาคาสั่ง (Motor nerve)
มี 5 คู่ คู่ที่ 3,4,6,11,12
ทาหน้าที่ผสม (Mix
nerve) มี 4 คู่ คู่ที่ 5,7,9,10
สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยำย 75
เส้นประสาทไขสันหลังในคนมีทั้งหมด 31 คู่ เรียกตามชื่อ
กระดูก คือ
เส้นประสาทบริเวณคอ (Cervical nerve) 8 คู่
เส้นประสาทบริเวณคอ (Thoracic nerve) 12 คู่
เส้นประสาทบริเวณเอว (Lumber nerve) 5 คู่
เส้นประสาทบริเวณเกระเบนเหน็บ (Sacral nerve) 5 คู่
เส้นประสาทบริเวณก้นกบ (Coccygeal nerve) 1 คู่
คู่นี้จัดเป็นเส้นประสาทแบบผสม (Mixed nerve) ไขสันหลังมีเยื่อหุ้ม 3
ชั้นเหมือนสมอง แต่เนื้อสีขาวอยู่ด้านนอก เนื้อสีเทาอยู่ด้านในตรงข้าม
กับเนื้อสมอง
ไขสันหลังของคน
สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยำย 76
ไขสันหลังของคน
เมื่อทาลายสมองกบแล้วเอาเข็มแทงที่ขาหลัง
พบว่า กบจะหดขาหนี
เมื่อตัดรากล่างของเส้นประสาทไขสันหลัง
ใช้เข็มแทงขาหลังนั้นอีก กบไม่หดขาหนีเหมือน
ครั้งแรกแม้ว่าจะใช้เข็มแทงบริเวณอื่นๆ ของ
ลาตัวกบ ก็ไม่มีการตอบสนอง
ถ้าเอาเข็มเขี่ยเส้นประสาทไขสันหลังตรงจุด
ที่ถูกตัด (จุดที่ 2) ที่อยู่ใกล้ขากบ ปรากฎว่ากบ
กระตุกขาหลังได้ ถ้าตัดรากบนของเส้นประสาท
ไขสันหลังแทนรากล่าง แล้วเอาเข็มแทงที่ขาหลัง
กบจะไม่แสดงการตอบสนอง แต่ถ้าเอาเข็มเขี่ย
ตรงจุดที่ 3 ปรากฏว่าขาหลังกระตุกได้
สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยำย 77
ไขสันหลังของคน
นอกจากนี้ยังมีเซลล์ประสาทประสานงาน ทาหน้าที่ถ่ายทอดกระแส
ประสาทจากเซลล์ประสาทรับความรู้สึกไปยังประสาทสั่งการ ถ้าเซลล์ประสาท
ประสานงานทาหน้าที่ถ่ายทอดกระแสประสาทไปให้เซลล์ประสาทสมองจะมีแอก
ซอนเข้าไปในสมอง เส้นประสาทสมองและเส้นประสาทไขสันหลังจัดอยู่ในระบบ
ประสาทรอบนอก (peripheral nervous system; PNS)
การทางานของเส้นประสาทไขสันหลังและทิศทางการเคลื่อนที่
ไขสันหลังของคน
Peripheral Nervous System
-ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมี cranial
nerve 12 คู่ spinal nerve 31 คู่
-cranial nerve ส่วนใหญ่ & spinal
nerve ทั้งหมด ประกอบด้วย sensory &
motor neuron ยกเว้น olfactory &
optic nerve เป็นเฉพาะ sensory nerve
-sensory division ประกอบด้วย
sensory neuron นาคาสั่งจาก
sensory receptor ไปยัง CNS
-motor division ประกอบด้วย motor neuron นา
คาสั่งจาก CNS ไปยัง effector cells
-SNS นาคาสั่งไปยัง skeletal muscle เพื่อตอบสนองต่อ external stimuli
-ANS นาคาสั่งไปยัง smooth & cardiac muscle เพื่อตอบสนองต่อ external stimuli
Parasympathetic and sympathetic nervous system
-parasympathetic และ
sympathetic มักจะทางาน
ตรงข้ามกัน (antagonist)
-sym มักจะกระตุ้นการ
ทางานของอวัยวะที่ทาให้
เกิดการตื่นตัวและก่อให้เกิด
พลังงาน ในขณะที่ parasym
จะเกิดตรงกันข้าม
-sympathetic neuron
มักจะหลั่ง norepinephrine
-parasympathetic neuron
มักจะหลั่ง acetylcholine
preganglionic ganglion, Achpostganglionic ganglion
The Limbic System
The limbic system generates the feeling; emotion and memory
สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยำย 82
• Cranial nerves
– ในคนมี 12 คู่
– ในกบมี 10 คู่
• Spinal nerves
– ในคนมี 31 คู่
– ในกบมี 9-10 คู่
ภาพที่ 25 สมองและไขสันุลังของมนษย์
ที่มา : http://www.fotosearch.com/LIF145/pdb01010/
สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยำย 83
ภาพที่ 31 การางานของเส้นประสาทสมอง
ที่มา :http://computer.act.ac.th/webproject5_2548/st/m51/Nervous/Brainstempic.htm
สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยำย 84
• เป็นส่วนหนึ่งของระบบประสาท
ส่วนกลาง (CNS)
• อยู่ถัดจากเมดัลลาออบลองกาตา
ลงไปทางด้านล่าง
• อยู่ภายในช่องของกระดูกสันหลัง
ตลอดแนวความยาวของลาตัว
ภาพที่ 32 แสดงไขสันุลัง (Spinal Cord)
ที่มา :http://computer.act.ac.th/webproject5_2548/st/m51/Nervous/Brainstempic.htm
การทางานของ
ระบบประสาท
ระบบประสาท
(Nervous system)
ระบบประสาทส่วนกลาง
(Nervous system)
ระบบประสาทรอบนอก
(Nervous system)
สมอง
(Brain)
ไขสันหลัง
(Spinal cord)
ประสาทรับความรู้สึก
(sensory (afferent) division)
ประสาทนาคาสั่ง
(Motor (afferent) division)
ประสาทรับความรู้สึกโซมาติก
(Somatic sensory neuron)
ประสาทรับความรู้สึกจากอวัยวะภายใน
(Visceral sensory neuron)
ระบบประสาทอัตโนวัติ
(Automotic nervous system)
ระบบประสาทโซมาติก
(Somatic nervous system)
ระบบประสาทซิมพาเทติก
(Sympathetic division)
ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก
(Parasympathetic division)
ระบบประสาทโซมาติก (Somatic
Nervous System หรือ SNS) เป็นระบบ
ประสาทที่ตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม
ภายนอก เซลล์ประสาทนาคาสั่งจะ
นากระแสประสาท ที่เป็นคาสั่งจากสมอง
หรือไขสันหลังไปสู่หน่วยปฏิบัติงาน ซึ่งเป็น
กล้ามเนื้อลาย
ทาให้เกิดการตอบสนองที่อยู่ใต้
อานาจของจิตใจ ตลอดจนการตอบสนอง
แบบรีเฟลกซ์ของกล้ามเนื้อลาย
ระบบประสาทโซมาติก
Reflex Arc ของระบบประสาทอานาจจิตใจ ประกอบด้วย
สิ่งเร้า

หน่วยรับความรู้สึก

เซลล์ประสาทรับความรู้สึก

เซลล์ประสาทประสานงาน

เซลล์ประสาทนาคาสั่ง

หน่วยปฏิบัติงาน
ตัวอย่าง ได้แก่ กล้ามเนื้อลาย
ระบบประสาทโซมาติก
จากแผนภาพการ
ทางานของระบบ
ประสาท จะเห็นได้ว่า
มีหน่วยที่เกี่ยวข้องกับ
การทางานอยู่ 5
หน่วย
ระบบประสาทโซมาติก
• แต่ในบางกรณีกระแสประสาทที่ส่งผ่านเซลล์ประสาทรับความรู้สึกเข้า
มายังไขสันหลัง สามารถส่งกระแสประสาทไปกระตุ้นเซลล์ประสาทนา
คาสั่งให้เกิดกระแสประสาท แล้วส่งไปยังหน่วยปฏิบัติงานโดยตรงโดย
ไม่จาเป็นต้องมีหน่วยประสานงานในสมองและไขสันหลังแต่ก็สามารถ
ทาให้เกิดการตอบสนองได้เรียกว่า การตอบสนองแบบรีเฟลกซ์
(Reflex Action) ซึ่งมีไขสันหลังเป็นศูนย์กลางของการตอบสนอง ใน
การตอบสนองนี้ต้องอาศัยการทางานแบบเป็นวงจรของระบบประสาท
ที่เรียกว่า รีเฟลกซ์อาร์ก (Reflex Arc) ซึ่งมีอยู่ 2 แบบ คือ
ระบบประสาทโซมาติก
1. รีเฟลกซ์อาร์กอย่างง่าย (Monosynaptic Reflex Arc)
ประกอบด้วยเซลล์ประสาทเพียง 2 เซลล์ คือ เซลล์ประสาทรับความรู้สึก
และเซลล์ประสาทนาคาสั่ง ซึ่งมีไซแนปส์ติดต่อกันโดยตรงที่ไขสันหลัง
2. รีเฟลกซ์อาร์กอย่างซับซ้อน (Polysynaptic Reflex Arc) เป็น
วงจรของระบบประสาทที่ประกอบขึ้นด้วยเซลล์ประสาท 3 เซลล์ คือ เซลล์
ประสาทรับความรู้สึก เซลล์ประสาทประสานงาน และเซลล์ประสาทนา
คาสั่ง มีไซแนปส์เกิดขึ้น 2 แห่ง คือ ระหว่างเซลล์ประสาทรับความรู้สึกกับ
เซลล์ประสาทประสานงาน และระหว่างเซลล์ประสาทประสานงานกับเซลล์
ประสาทนาคาสั่ง
ระบบประสาทโซมาติก
การตอบสนองแบบรีเฟลกซ์ เป็นการตอบสนองของร่างกายต่อสิ่ง
เร้าจากสิ่งแวดล้อมโดยอัตโนมัติ โดยไม่ต้องผ่านส่วนของสมองที่เกี่ยวกับ
ความคิด
เช่น เมื่อมือไปจับวัตถุที่ร้อนจะกระตุกมือหนีจากวัตถุนั้นทันที การ
เกิดปฏิกิริยารีเฟลกซ์มีประโยชน์ในการควบคุมการทางานของร่างกาย
ช่วยทาให้การทาหน้าที่ของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมีความสัมพันธ์กันและ
สามารถทาให้ปรับตัวให้เข้ากับสภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงทั้งภายใน
และภายนอกร่างกาย
ระบบประสาทโซมาติก
หน่วยปฏิบัติงานของปฏิกิริยารีเฟลกซ์อาจเป็นกล้ามเนื้อเรียบก็ได้
หรือต่อมที่อยู่ภายในร่างกายก็ได้
เช่น เมื่อมีอาหารประเภทโปรตีนตกถึงกระเพาะอาหารจะมีผล
กระตุ้นแบบรีเฟลกซ์ให้มีการหลั่งน้าย่อยออกมาจากผนังกระเพาะอาหาร
การกระพริบตา การไอ การจาม การดูดนมของทารกมีผลกระตุ้นการหลั่ง
ฮอร์โมนออกซิโทซิน (Oxytocin) ในแม่ซึ่งจะมีผลกระตุ้นให้มีการหลั่ง
น้านม
ระบบประสาทอัตโนวัติ
• ระบบประสาทอัตโนวัติ (Autonomic Nervous System หรือ
ANS)
• เป็นส่วนหนึ่งของระบบเส้นประสาทรอบนอก (PNS)
• อยู่นอกเหนือการควบคุมของจิตใจ
• ทาหน้าที่คอยควบคุมอวัยวะภายในให้ทางานได้ด้วยตนเอง
• แบ่งเป็น 2 ฝ่าย
เส้นประสาทซิมพาเทติก (Sympathetic nerve)
เส้นประสาทพาราซิมพาเทติก (Parasympathetic nerve)
ระบบประสาทอัตโนวัติ
• ในร่างกาย เป็นระบบประสาทที่มีศูนย์ควบคุมอยู่ที่สมองเมดัลลา
ออบลองกาตา และไขสันหลังส่วนกระเบนเหน็บ การทางานของ
ระบบประสาทอัตโนวัติ แบ่งย่อยออกเป็น 2 ระบบ คือ
1. ระบบซิมพาเทติก (Sympathetic Nervous System)
ประกอบด้วยเส้นประสาทที่มีศูนย์ควบคุมอยู่ที่ไขสันหลัง ส่วนคอ อก
เอว และส่วนที่อยู่เหนือกระเบนเหน็บขึ้นมา (Thoraco-lumber
Sympathetic) มีแขนงประสาทก่อนถึงปมประสาท (Preganglionic
Fiber) เป็นเส้นสั้น ๆ ที่ปลายแอกซอนของเซลล์ประสาทนี้จะหลั่ง
สารเคมีซึ่งเป็นสารสื่อประสาทพวกแอซีทิลโคลีน (Acetycholine)
ส่วนแขนงของเซลล์ประสาทหลังปม (Postganglionic Fiber) เป็น
เส้นยาว และที่ปลายแอกซอนจะหลั่งสารสื่อประสาทพวกอะดรีนาลีน
(Adrenaline) แต่อาจมีบางแขนงที่สามารถหลั่งแอซีทิลโคลีนได้
ระบบประสาทอัตโนวัติ
• ในร่างกาย เป็นระบบประสาทที่มีศูนย์ควบคุมอยู่ที่สมองเมดัลลา
ออบลองกาตา และไขสันหลังส่วนกระเบนเหน็บ การทางานของ
ระบบประสาทอัตโนวัติ แบ่งย่อยออกเป็น 2 ระบบ คือ
2. ระบบพาราซิมพาเทติก (Parasympathetic Nervous
System) ประกอบด้วยเส้นประสาทสมองคู่ที่ 3, 7, 9 และ 10 ที่แตก
ออกมาจากสมองส่วนกลาง ส่วนเมดัลลา ออบลองกาตา และ
เส้นประสาทที่มาจากกระดูกสันหลังส่วนกระเบนเหน็บ
เส้นประสาทในระบบนี้มีแขนงของเส้นประสาทก่อนถึงปม
ประสาทเป็นเส้นยาว ที่ปลายเซลล์จะหลั่งสารสื่อประสาทพวกแอ
ซีทิลโคลีน ส่วนแขนงประสาทหลังปมเป็นเส้นสั้น ๆ และที่ปลาย
เซลล์จะหลั่งสารสื่อประสาทพวกแอซีทิลโคลีนเช่นกัน
ระบบประสาทอัตโนวัติ
ทั้งสองระบบทาหน้าที่ตรงข้ามกันเสมอ เช่น
– Sympathetic กระตุ้นหัวใจให้เต้นเร็ว
– Parasympathetic ลดอัตราการเต้นของหัวใจ
– Sympathetic ทาให้ม่านตาขยาย
– Parasympathetic ทาให้ม่านตาหรี่
– Sympathetic ทาให้เหงื่อออกมาก
– Parasympathetic ทาให้เหงื่อออกน้อย
ระบบประสาท Sympathetic และ Parasympathetic
การทางานของระบบประสาท Sympathetic และ Parasympathetic
การทางานของระบบประสาทโซมาติก (SNS)
กับระบบประสาทอัตโนวัติ (ANS)
ข้อเปรียบเทียบ SNS ANS
1. รูปร่าง
1) หน่วยปฏิบัติงาน กล้ามเนื้อลาย กล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อหัวใจ
และต่อมต่าง ๆ
2) ปมประสามนอกระบบ
ประสาท
ไม่มี มี
3) จานวนเซลล์ประสาท หนึ่งเซลล์ สองเซลล์
4) ใยประสาท มีเยื่อไมอีลีนหุ้ม ใยประสาทก่อนไซแนปส์
(Peganglionic) มีเยื่อไมอีลินหุ้ม
แต่ใยประสาทหลังไซแนปส์
(Poastganglionic) เป็นชนิดไม่มี
เยื่อไมอีลินหุ้ม
การทางานของระบบประสาทโซมาติก (SNS)
กับระบบประสาทอัตโนวัติ (ANS)
ข้อเปรียบเทียบ SNS ANS
5) ขนาดและความเร็วใน
การนากระแสประสาท
เซลล์ประสาทมี
ขนาดใหญ่และ
สามารถนากระแส
ประสาทได้เร็ว
เซลล์ประสาทมีขนาดเล็กและ
นากระแสประสาทได้ช้า
การทางานของระบบประสาทโซมาติก (SNS)
กับระบบประสาทอัตโนวัติ (ANS)
ข้อเปรียบเทียบ SNS ANS
2. หน้าที่
1) การออกฤทธิ์ต่อหน่วย
ปฏิบัติงาน
กระตุ้น อาจกระตุ้นหรือยับยั้งการทางาน
ก็ได้
2) ผลต่ออวัยวะที่ไปหล่อ
เลี้ยงถ้าตัดประสารออก
อัมพาตและฝ่อไป ยังสามารถทางานได้
3) บทบาทการทางาน ในอานาจจิตใจเพื่อ
ปรับให้เข้ากับ
สภาพแวดล้อมนอก
ร่างกาย
นอกอานาจจิตใจ ปรับให้เข้ากับ
สภาพแวดล้อมนอกร่างกาย
4) สารสื่อประสาท แอซีทิลโคลีน แอซีทิลโคลินและอะดรีนาลีน
อวัยวะ ประสาทซิมพาเทติก
(sympathetic nerve)
ประสาทพาราซิมพาเทติก
(parasympathetic nerve)
ต่อมเหงื่อ บีบตัวให้เหงื่อออก ต่อมขยายตัวเหงื่อออกน้อย
ต่อมน้าตา กระตุ้นให้หลั่งน้าตามากกว่า
ปกติ
กระตุ้นให้หลั่งปกติ
หัวใจ เต้นแรงและเร็วขึ้นทาให้
หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ
ขยายตัว
เต้นช้าและเบาลง
กระเพาะและ
ลาไส้
หยุดการเคลื่อนไหว และการ
สร้างน้าย่อย กระตุ้นการบีบ
ตัวของกล้ามเนื้อหูรูด
กระตุ้นการเคลื่อนไหว และ
การสร้างน้าย่อย กระตุ้นการ
คลายตัวของกล้ามเนื้อหูรูด
ระบบประสาทซิมพาเทติกกับระบบประสาทพาราซิมพาเทติก
อวัยวะ ประสาทซิมพาเทติก
(sympathetic nerve)
ประสาทพาราซิมพาเทติก
(parasympathetic nerve)
ตับ กระตุ้นการขยายตัวของไกล
โคเจนยับยั้งการหลั่งน้าดี
กระตุ้นการหลั่งน้าดี
ตับอ่อน ห้ามการหลั่งของน้าย่อย
และฮอร์โมนจากตับอ่อน
กระตุ้นการหลั่งของน้าย่อย
และฮอร์โมน
กระเพาะปัสสาวะ ทาให้กระเพาะปัสสาวะ
คลายตัว ห้ามไม่ให้ปัสสาวะ
กระตุ้นให้กระเพาะปัสสาวะ
บีบตัวและขับปัสสาวะ
ต่อมน้าลาย กระตุ้นการสร้างเมือกทาให้
น้าลายเหนียวและลดการ
หลั่งน้าลาย
ลดการสร้างเมือกทาให้
น้าลายใสและเพิ่มการหลั่ง
น้าลาย
ระบบประสาทซิมพาเทติกกับระบบประสาทพาราซิมพาเทติก
ระบบประสาทซิมพาเทติกกับระบบประสาทพาราซิมพาเทติก
อวัยวะ ประสาทซิมพาเทติก
(sympathetic nerve)
ประสาทพาราซิมพาเทติก
(parasympathetic nerve)
ถุงน้าดี ห้ามการหลั่งน้าดี กระตุ้นการหลั่งน้าดี
กล้ามเนื้อม่านตา กล้ามเนื้อม้านตาตามแนว
รัศมีหดตัวทาให้ม้านตาเปิด
กว้าง
กล้ามเนื้อม้านตาตามแนวรอ
บวงหดตัวทาให้ม้านตาแคบ
ลง
กล้ามเนื้อบังคับ
เลนส์ตา
บีบตัวเมื่อมองใกล้ คลายตัวเมื่อมองไกล
กล้ามเนื้อโคนขน ขนลุกตั้งชัน ขนเอนนอนลง
หลอดเลือดอาร์
เทอรี
บีบตัวความดันเลือดสูง คลายตัวความดันเลือดต่า
ระบบประสาทซิมพาเทติกกับระบบประสาทพาราซิมพาเทติก
ข้อเปรียบเทียบ ประสาทซิมพาเทติก ประสาทพาราซิมพาเทติก
1. ศูนย์กลางการสั่งงาน อยู่ที่ไขสันหลัง อยู่ที่สมองและไขสันหลัง
2. เซลล์ประสาทนาคาสั่ง 2 เซลล์ 2 เซลล์
3. เซลล์ประสาทก่อนไซแนปส์ สั้น ยาว
4. เซลล์ประสาทหลังไซแนปส์ ยาว สั้น
5. ที่พบกันระหว่างเซลล์ประสาท
ก่อนไซแนปส์และหลังไซแนปส์
ที่ปมประสาทอัตโนวัติหรือ
ปมในช่อง
ที่ปมในอวัยวะภายใน
6. สารสื่อประสาทจากเซลล์
ประสาทนาคาสั่งที่ออกจากไขสัน
หลังไปยังปมประสาท
มีแอซิติลโคลีนมากกว่า มีแอซิติลโคลีนน้อยกว่า
7. สารสื่อประสาทจากเซลล์ประสาท
นาคาสั่งที่ออกจากปมประสาท
นอร์เอพิเนฟริน แอซิติลโคลีน
8. เซลล์ประสาทประสานงาน ไม่มี ไม่มี
9. การทากิจกรรม กิจกรรมการต่อสู้หรือหนีศัตรู กิจกรรมตามปกติ
สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยำย 105
อวัยวะรับสัมผัส
สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยำย 106
อวัยวะรับความรู้สึก (Sense Organs) บางครั้งอาจเรียกว่ารีเซพ
เตอร์ (Receptors) แบ่งเป็น 5 ชนิด
1. อวัยวะรับความรู้สึกที่เกี่ยวกับการมองเห็น
2. อวัยวะรับความรู้สึกที่เกี่ยวกับการได้ยินและการทรงตัว
3. อวัยวะรับความรู้สึกเกี่ยวกับการได้รับกลิ่น
4. อวัยวะรับความรู้สึกเกี่ยวกับการรับรส
5. อวัยวะรับความรู้สึกเกี่ยวกับการสัมผัส
อวัยวะรับความรู้สึก (Sense Organs)
อวัยวะรับความรู้สึกที่เกี่ยวกับการมองเห็น
• ตา (eyes) เป็นอวัยวะรับความรู้สึกที่เกี่ยวกับการมองเห็น
• สัตว์ชั้นต่ารับแสงได้แต่รับภาพไม่ได้
• สัตว์ชั้นสูงรับภาพได้เพราะมีทั้งเลนส์และเรตินา (retina)
• เลนส์ คอร์เนีย และของเหลวในลูกตา ช่วยโฟกัสแสงให้ ตกที่เรตินา
• รูม่านตา (pupil) ทาหน้าที่ควบคุมปริมาณแสง
อวัยวะรับความรู้สึกที่เกี่ยวกับการมองเห็น
• เซลล์รับแสงบนเรตินามี 2 ชนิด คือ rod cells และ cone cells
อวัยวะรับความรู้สึกที่เกี่ยวกับการมองเห็น
• Rod Cells เป็นเซลล์รูปแท่งทรงกระบอก เป็นเซลล์ที่รับรู้ความสว่าง
(ภาพขาว-ดา) สามารถรับแสงได้แม้ในที่สลัว
• Cone Cells เป็นเซลล์รูปกรวย รับรู้สี ทางานได้เฉพาะเวลามีแสง
สว่างมากๆ
• ในตาคนมี Rod cells มากกว่า Cone Cells ประมาณ 4 เท่า
• สัตว์ที่หากินกลางคืนจะมีสัดส่วน Rod Cells ต่อ Cone Cells ที่
มากกว่านี้
อวัยวะรับความรู้สึกที่เกี่ยวกับการมองเห็น
• ที่ส่วนนอกของ Rods และ Cones มีถุงบรรจุรงควัตถุที่ใช้ในการ
มองเห็น มีชื่อว่าโรดอปซิน (Rhodopsin)
• Rhodopsin = Opsin (Protein) + Retinal (Pigment)
• เมื่อ Rhodopsin ดูดกลืนแสง จะเกิดการแตกตัวและปลดปล่อย
Opsin ออกมา
• Opsin ทาให้เกิดชุดปฏิกิริยาที่ส่งผลให้เกิดการปิด ion channels
และเกิดสัญญาณประสาท
อวัยวะรับความรู้สึกที่เกี่ยวกับการมองเห็น
1. สายตาสั้น (Myopia)
ความผิดปกติของการมองเห็นและการแก้ไข
2. สายตายาว (Hyperopia)
กระบอกตายาว
แสงจากวัตถุตกไม่ถึงเรตินา
แก้ไขโดยใช้แว่นเลนส์เว้า
กระบอกตาสั้น
แสงจากวัตถุตกเลยเรตินา
แก้ไขโดยใช้แว่นเลนส์นูน
อวัยวะรับความรู้สึกที่เกี่ยวกับการมองเห็น
3. สายตาเอียง (Astigmatism)
ความผิดปกติของการมองเห็นและการแก้ไข
4. ตาบอดสี (Color blindness)
เกิดจากเซลล์รูปกรวยสีใดสีหนึ่งเสีย
หรือทางานไม่ได้
ถ่ายทอดได้ทางพันธุกรรม
ผิวของกระจกตาหรือเลนส์ตาไม่สม่าเสมอ
แสงจากวัตถุจะหักเห
ไม่เป็นภาพชัด
แก้ไขโดยใช้เลนส์ทรงกระบอก
อวัยวะรับความรู้สึกเกี่ยวกับการได้ยินและการทรงตัว
• โครงสร้างที่ทาหน้าที่รับเสียงคือ Hair Cells บน Basilar Membrane
ซึ่งเป็นส่วนประกอบของ Organ of Corti
• Organ of Corti อยู่ใน Cochlear Duct ของหูชั้นใน เมื่อ Basilar
Membrane เกิดการสั่นจะทาให้ hair Cells บิดตัว ทาให้เกิดสัญญาณ
ประสาทซึ่งจะส่งไปยังสมอง ผ่านทาง Auditory Nerve
อวัยวะรับความรู้สึกเกี่ยวกับการได้ยินและการทรงตัว
อวัยวะรับความรู้สึกเกี่ยวกับการได้ยินและการทรงตัว
• อวัยวะรับความรู้สึกเกี่ยวกับการทรงตัวประกอบด้วยหลอดครึ่ง
วงกลม 3 วง (เรียกว่า Semicircular Canals)
• ภายใน Semicircular Canals มีของเหลวชื่อ Endolymph และ
โครงสร้างชื่อ Ampulla
• ใน Ampulla มีเซลล์รับรู้การเปลี่ยนแปลงชื่อ Hair Cells ซึ่งมี
Stereocilia ฝังตัวอยู่ใน Cupula
• เมื่อเราเอียงตัว Endolymph ไหลชนกับ Cupula ทาให้ Hair Cells
รับรู้ทิศทางการเคลื่อนไหว
อวัยวะรับความรู้สึกเกี่ยวกับการได้ยินและการทรงตัว
อวัยวะรับความรู้สึกทางเคมี (Chemoreceptor)
• เป็นระบบรับความรู้สึกที่จัดได้ว่าโบราณที่สุด เพราะพบในสัตว์ชั้นต่า
หลายชนิด
• แบ่งย่อยเป็น 2 กลุ่มคือ
–อวัยวะรับรส คือ ต่อมรับรส (Taste buds) ที่ลิ้น
–อวัยวะรับกลิ่น คือ เซลล์รับรู้กลิ่น (Olfactory cells)
ในโพรงจมูก
อวัยวะรับความรู้สึกทางเคมี (Chemoreceptor)
• เซลล์รับรส (Taste Cells) อยู่ใน
ต่อมรับรส (Taste Buds)
• ที่ไมโครวิลไลของเซลล์รับรสมี
โปรตีนที่ทาหน้าที่เป็นตัวรับ
(Receptor) เพื่อจับกับโมเลกุล
ต่างๆ ซึ่งสมองรับรู้ว่าเป็นรสหวาน
ขม เปรี้ยว และเค็ม
• ความเผ็ดไม่ใช่รส แต่เป็นการ
ระคายเคืองที่เกิดกับเซลล์ของต่อม
รับรส
อวัยวะรับความรู้สึกเกี่ยวกับการรับรส
อวัยวะรับความรู้สึกทางเคมี (Chemoreceptor)
การส่งสัญญาณโดย Taste Receptor
1. โมเลกุลสารเคมีจับกับเซลล์รับรสในต่อมรับรส
2. สัญญาณประสาทถูกถ่ายทอดและขยายโดยการทางานของ Signal
Transduction Pathway
3. สัญญาณจากข้อ (2) ทาให้ K+ Channel ปิด
4. Na+ แพร่เข้าสู่เซลล์ ทาให้เกิด Depolarization
5. Action Potential ทาให้มีการนา Ca2+ เข้าสู่เซลล์
6. ความเข้มข้นของ Ca2+ ที่เพิ่มขึ้นทาให้มีการหลั่งสารสื่อประสาท
อวัยวะรับความรู้สึกเกี่ยวกับการรับรส
อวัยวะรับความรู้สึกทางเคมี (Chemoreceptor)
การส่งสัญญาณโดย Taste Receptor
อวัยวะรับความรู้สึกเกี่ยวกับการรับรส
อวัยวะรับความรู้สึกทางเคมี (Chemoreceptor)
อวัยวะรับความรู้สึกเกี่ยวกับการดมกลิ่น
• จมูกแบ่งออกเป็น 3 บริเวณ
1. รูจมูกและโพรงจมูกส่วนนอก
(Nostril)
2. ทางเดินลมหายใจ
(Respiration)
3. บริเวณรับกลิ่น (Olfactory
Region)
อวัยวะรับความรู้สึกทางเคมี (Chemoreceptor)
อวัยวะรับความรู้สึกเกี่ยวกับการดมกลิ่น
• เยื่อบุผิวที่เกี่ยวกับการรับกลิ่น
(Olfactory Epithelium)
ประกอบด้วยเซลล์รับกลิ่น
(Olfactory Cells)
• บนซีเลีย (Cilia) ของเซลล์รับ
กลิ่นมีโปรตีนที่ทาหน้าที่เป็น
ตัวรับ (Receptor) เพื่อจับกับ
โมเลกุลต่างๆ ซึ่งสมองรับรู้ว่า
เป็นกลิ่นต่างๆ
อวัยวะรับความรู้สึกทางเคมี (Chemoreceptor)
อวัยวะรับความรู้สึกเกี่ยวกับการดมกลิ่น
อวัยวะรับความรู้สึกเกี่ยวกับการรับสัมผัส
• ผิวหนัง ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 2 ชั้น
–ชั้นบน (Epidermis) ประกอบด้วยชั้นหนังกาพร้า และหนังแท้
–ชั้นล่าง (Desmis) ซึ่งจะมีเส้นประสาทต่างๆ กระจายอยู่ เช่น
ปลายประสาทรับความรู้สึกเจ็บปวด ปลายประสาทรับความรู้สึก
ร้อน – หนาว ปลายประสาทรับความรู้สึกรับรู้อุณหภูมิ
อวัยวะรับความรู้สึกเกี่ยวกับการรับสัมผัส

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
Biobiome
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
supreechafkk
 
การทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทการทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาท
Dew Thamita
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
Pat Pataranutaporn
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
Sumarin Sanguanwong
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
พัน พัน
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
Anissa Aromsawa
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
Bios Logos
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
Thanyamon Chat.
 

What's hot (20)

เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
การทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทการทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาท
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
ประชากร1
ประชากร1ประชากร1
ประชากร1
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 

Similar to บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก

การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนอง
nokbiology
 
2.ทำงานเซลล์ประสาท
2.ทำงานเซลล์ประสาท2.ทำงานเซลล์ประสาท
2.ทำงานเซลล์ประสาท
Wichai Likitponrak
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blank
Thanyamon Chat.
 
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
Wichai Likitponrak
 
การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012
Namthip Theangtrong
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
bosston Duangtip
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
yangclang22
 

Similar to บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก (20)

ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
 
การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนอง
 
2.ทำงานเซลล์ประสาท
2.ทำงานเซลล์ประสาท2.ทำงานเซลล์ประสาท
2.ทำงานเซลล์ประสาท
 
ืnervous system
ืnervous systemืnervous system
ืnervous system
 
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blank
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
 
ประสาท
ประสาทประสาท
ประสาท
 
ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2
 
การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012
 
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคนเซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
 
nerve cell
nerve cellnerve cell
nerve cell
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 

More from Ta Lattapol

More from Ta Lattapol (13)

พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
 
หินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมหินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถม
 
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถมสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติบทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
 
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาบทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 

บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก