SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Information Access
การเข้าถึงสารสนเทศ
Supimon Wattananukoon
Deputy Library Director-IT
HUM121- 30 July 2013
How to Access
องค์ประกอบการรู้สารสนเทศ
 การเข้าถึงสารสนเทศ (Information access ) หมาย
ถึง
วิธีการที่ผู้ใช้สามารถสืบค้นสารสนเทศและได้รับสารสนเทศที่
ต้องการ
 การเข้าถึงสารสนเทศที่มีปริมาณมากหลากหลายประเภท
จำาเป็นต้องใช้ เครื่องมือช่วยค้น ในที่นี้จะกล่าวถึงเครื่องมือ
ช่วยค้น โดยจำาแนกตาม
- การเข้าถึงสารสนเทศจากทรัพยากรสารสนเทศของ
ห้องสมุด
- การเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศจากอินเตอร์เน็ต
What is “Information Access”
การสืบค้นสารสนเทศและเครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ
- การสืบค้นสารสนเทศ หมายถึง วิธีการที่บุคคลพยายามค้นหา
ให้ได้มาซึ่งสารสนเทศที่ต้องการ โดยใช้เครื่องมือสืบค้นด้วยมือหรือ
เทคโนโลยี
- การสืบค้นสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการได้อย่าง
รวดเร็ว และตรงตามความต้องการของผู้ใช้ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่อไปนี้
- กลยุทธ์และเทคนิคการสืบค้นที่ใช้
- ทักษะในการใช้เครื่องมือสืบค้นต่างๆ
- ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประเภทของสารสนเทศที่ได้จากการสืบค้น
- เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ หมายถึง เครื่องมือและอุปกรณ์
ต่างๆที่อำานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ในการสืบค้นรายการสารสนเทศที่
ต้องการได้อย่างรวดเร็วทันความต้องการ
เราได้อะไรจากเครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ
โดยทั่วไปเครื่องมือสืบค้นสารสนเทศจะให้รายละเอียดเพื่อการเข้าถึง
ทรัพยากรสารสนเทศหรือสารสนเทศที่ต้องการดังนี้
- ข้อมูลบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศ เช่น ชื่อผู้เขียน ชื่อหนังสือ
หรือชื่อบทความ ครั้งที่พิมพ์ สำานักพิมพ์ ปีพิมพ์ จำานวนหน้า เป็นต้น
- ข้อมูลดรรชนีและสาระสังเขปบทความในวารสารและหนังสือพิมพ์ เช่น ชื่อ
ผู้เขียนบทความ ชื่อบทความ ชื่อวารสาร ปีที่ ฉบับที่ หน้าที่ตีพิมพ์ เป็นต้น และ
บางเครื่องมือให้ข้อมูลเนื้อหาย่อด้วย (สาระสังเขป)
- ข้อมูลเนื้อหาฉบับเต็ม(Full Text) ข้อมูลเนื้อหาฉบับเต็มโดยทั่วไปมัก
เป็นการสืบค้นวารสารอิเล็กทรอนิกส์ นักศึกษาจะได้ข้อมูลที่มีลักษณะเนื้อหาฉบับ
เต็มคือมีเนื้อหาของบทความที่นำาไปใช้ประโยชน์ได้ทันที รวมถึงข้อมูล
บรรณานุกรมของบทความวารสาร
- ข้อมูลสื่อประสม (Multimedia) เป็นข้อมูลที่ประกอบด้วยข้อความ ภาพนิ่ง
ภาพเคลื่อนไหว และเสียง ข้อมูลในลักษณะนี้ส่วนใหญ่เป็นข้อมูลที่ได้จากการ
ศึกษาค้นสารานุกรมออนไลน์ หรือเป็นข้อมูลที่อยู่ในแผ่นซีดีรอม
ตัวอย่างข้อมูลบรรณานุกรม
ตัวอย่างข้อมูลดรรชนี
ตัวอย่างข้อมูลสื่อประสมจากสารานุกรมออนไลน์
เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศจำาแนกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆดังนี้
1) เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศด้วยมือ
2) เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประเภทของเครื่องมือสืบค้น
เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศด้วยมือ
หมายถึง เครื่องมือสืบค้นที่บันทึกรายละเอียดของรายการ
สารสนเทศไว้ในรูปแบบที่ผู้ใช้ต้องสืบค้นด้วยมือ
ส่วนใหญ่มักบันทึกในรูปแบบสิ่งตีพิมพ์ เช่น บัตรรายการ
(Card catalog) หรือมีลักษณะเป็นเล่ม (Book catalog)
บัตรรายการ (Catalog card) หมายถึง
บัตรที่แจ้งรายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกับหนังสือ สิ่งพิมพ์อื่นๆ
ตลอดจนโสตทัศนวัสดุที่มีในห้องสมุด เพื่อให้ผู้ใช้ทราบข้อมูลต่าง ๆ เช่น ชื่อผู้แต่ง
ชื่อเรื่อง ครั้งที่พิมพ์ สถานที่พิมพ์ ผู้จัดพิมพ์ ปีพิมพ์ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีเลขเรียก
หนังสือ (Call number) บอกตำาแหน่งที่เก็บเพื่อให้หาวัสดุนั้นๆ ได้ถูกที่โดยไม่เสีย
เวลา บัตรรายการมีขนาดมาตรฐาน คือ 3” X 5” ด้านล่างเจาะรูสำาหรับให้แกนเหล็ก
ร้อยบัตรไว้กับลิ้นชักของตู้บัตรรายการเพื่อไม่ให้บัตรสลับที่หรือถูกนำาออกจากลิ้นชัก
เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศด้วยมือ
ตัวอย่างบัตรลงรายการ
เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศด้วยมือ
เลขเรียกหนังสือ
(Call number)
ชื่อผู้แต่ง - Author
ชื่อเรื่อง
(Title)
พิมพ์ลักษณ์-Imprint (สถานที่พิมพ์, สำานักพิมพ์, ปีที่พิมพ์)
ครั้งที่พิมพ์ - Edition
บรรณลักษณ์ – Collation
(รายการแสดงลักษณะหนังสือ)
แนวสืบค้น – Tracing
(จำานวนบัตรรายการของหนังสือเล่มนี้, หัวเรื่องที่เกียวข้องกัน)
ประโยชน์ของบัตรรายการ
1. ช่วยให้ค้นหาหนังสือที่ต้องการ เพียงผู้ใช้ทราบชื่อผู้แต่ง ชื่อหนังสือ ชื่อหัวเรื่อง หรือทราบ
ชื่อผู้แต่งร่วม ผู้แปล ผู้รวบรวม ชื่อชุด หรือข้อมูลใดๆ ที่ห้องสมุดพิมพ์ไว้บรรทัดแรกของบัตร ก็
สามารถใช้ บัตรรายการประเภทต่างๆที่ห้องสมุดจัดทำาขึ้น ได้แก่ บัตรผู้แต่ง บัตรชื่อเรื่อง บัตร
หัวเรื่อง หรือบัตรอื่น ๆ ตรวจค้นว่าห้องสมุดมีหนังสือเล่มที่ต้องการหรือไม่
2. บอกตำาแหน่งที่อยู่ของหนังสือแต่ละเล่มในห้องสมุด เลขเรียกหนังสือในบัตรรายการจะช่วย
ให้ผู้ใช้ทราบว่าหนังสือเล่มที่ต้องการอยู่ที่ใดของห้องสมุด
3. เป็นตัวแทนของหนังสือแต่ละเล่มที่มีอยู่ในห้องสมุด รายการต่าง ๆ ในบัตรรายการ ได้แก่ ชื่อ
ผู้แต่ง ชื่อเรื่อง ครั้งที่พิมพ์ พิมพ์ลักษณ์ บรรณลักษณ์ ชื่อชุด และหมายเหตุ รายการเหล่านี้จะ
ช่วยให้ผู้ใช้ทราบรายละเอียดก่อนได้เห็นตัวเล่มจริง ทำาให้สามารถเลือกหนังสือได้ตรงกับความ
ต้องการ
4. รายละเอียดของหนังสือที่บันทึกในบัตรรายการสามารถนำาไปรวบรวมเขียนบรรณานุกรมได้
หนังสือบางเล่มส่วนหน้าปกในอาจฉีกขาดหรือหลุดหายไปบางส่วนสามารถดูรายละเอียดใน
บัตรรายการแทนได้
5. ผู้ที่ต้องการค้นคว้าผลงานของผู้แต่งคนเดียวกัน จะสะดวกอย่างยิ่งถ้าดูจากบัตรผู้แต่ง ทำาให้
ทราบนามจริงของผู้แต่งที่ใช้นามแฝงด้วย
6. ผู้ที่ต้องการค้นเรื่องใดเรื่องหนึ่ง สามารถใช้บัตรหัวเรื่อง ซึ่งจะบอกชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง และ
อื่นๆ ที่บันทึกรายการสำาคัญของหนังสือไว้ด้วย จะได้หนังสือจำานวนหลายเล่มในเรื่องที่ต้องการ
พร้อมทั้งโยงเพิ่มเติมไปยังหัวเรื่องอื่นที่เกี่ยวข้องให้ด้วย
7. บัตรโยงนำาผู้ใช้จากชื่อบางชื่อ หรือหัวเรื่องบางหัวเรื่องไปยังชื่อหรือหัวเรื่องที่ถูกต้อง ทำาให้
ผู้ใช้สามารถค้นพบสารสนเทศที่ต้องการได้ง่าย
เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศด้วยมือ
เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศด้วยเทคโนโลยี
หมายถึง เครื่องมือสืบค้นที่บันทึกรายละเอียดของรายการสารสนเทศไว้ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์
โดยใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในการบันทึกและสืบค้นสารสนเทศ ทำาให้ผู้ใช้สามารถสืบค้น
สารสนเทศได้อย่างรวดเร็วและครอบคลุมประเด็นหัวข้อที่ต้องการได้อย่างลึกซึ้งกว้างขวาง
เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศด้วยเทคโนโลยีที่ใช้อย่างแพร่หลายในห้องสมุดมีดังต่อไปนี้
- OPAC (Online Public Access Catalog)
- ฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Database)
เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
- OPAC เป็นเครื่องมือที่บันทึกรายละเอียดข้อมูลบรรณานุกรมของ
ทรัพยากรสารสนเทศที่มีในห้องสมุดไว้ในฐานข้อมูลด้วยระบบคอมพิวเตอร์
เพื่อให้ผู้สืบค้นสารสนเทศสามารถป้อนคำาสำาคัญหรือหัวเรื่องที่ต้องการ
สืบค้นและแสดงผลการสืบค้นได้ทางจอภาพ
- การสืบค้นสารสนเทศจาก OPAC ผู้สืบค้นมีทางเลือกในการสืบค้นหลาย
ทาง เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง คำาสำาคัญ เลขเรียกหนังสือ เป็นต้น ซึ่งผู้
สืบค้นทราบข้อมูลส่วนใด ก็เพียงเลือกทางเลือกในการสืบค้น และพิมพ์คำา
ค้นลงไป ระบบจะดำาเนินการสืบค้น เมื่อพบรายการที่ต้องการ ระบบจะแสดง
ผลออกมา
- นอกจากนี้ ผู้สืบค้นสามารถใช้เทคนิคการสืบค้นขั้นสูง เช่น ตรรกบูลีน
หรือการจำากัดการค้นด้วยเขตข้อมูล เข้ามาร่วมในการสืบค้นได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่
กับโปรแกรมที่ห้องสมุดแต่ละแห่งเลือกใช้ ซึ่งมีคำาแนะนำาขั้นตอนและวิธีการ
สืบค้นจะปรากฏบนหน้าจอเสมอ ผู้ใช้เพียงทำาตามคำาแนะนำาที่บอกให้ไปตาม
ลำาดับ
http://library.spu.ac.th:81/web/
OPAC (Online Public Access Catalog)
- ข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นด้วย OPAC คือข้อมูลบรรณานุกรมซึ่งประกอบด้วย
- ชื่อผู้แต่ง (Author) อาจเป็นชื่อบุคคลหรือหน่วยงาน
- ชื่อเรื่อง (Title) ของหนังสือ , ชื่อวารสาร , รายงานวิจัย , วิทยานิพนธ์ , โสตทัศนวัสดุ
- พิมพ์ลักษณ์ (Imprint) ประกอบด้วยครั้งที่พิมพ์ (Edition) สถานที่พิมพ์ (Place) ได้แก่
เมืองและประเทศ , สำานักพิมพ์ (Publisher) และปีที่พิมพ์ (Year of publication)
- สถานภาพ (Status) สถานภาพของทรัพยากรสารสนเทศ มีหลายลักษณะได้แก่มีการยืม
ออกก็จะระบุวันกำาหนดส่ง เช่น Due 12-06-04 , อยู่บนชั้น (Check shelves) อยู่ระหว่าง
การซื้อ (On order) , อยู่ระหว่างการจัดหมู่และทำารายการ (Cataloguing) , พร้อมให้
บริการ (On Shelf) เป็นต้น
- เลขเรียกหนังสือ (Call number) เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้แทนทรัพยากรแต่ละรายการหาก
เป็นสิ่งพิมพ์จะติดไว้ที่สันหนังสือ เป็นข้อมูลที่มีความสำาคัญที่ผู้ใช้ห้องสมุดต้องจดเพื่อไป
หาหนังสือบนชั้น เนื่องจากหนังสือในห้องสมุดมีการเรียงตามเลขหมู่
- รูปเล่ม (Description) บอกข้อมูลเกี่ยวกับจำานวนหน้า ภาพประกอบ และขนาด
- หมายเหตุ (Note) เป็นการระบุข้อมูลของทรัพยากรเพิ่มเติม เช่น มีข้อมูลบรรณานุกรม
- สถานที่ (Location) เป็นการบอกว่าทรัพยากรรายการนั้นอยู่ที่ห้องสมุดใด
- หัวเรื่อง (Subject) เป็นการระบุคำาหรือกลุ่มคำาที่ใช้แทนเนื้อหาของทรัพยากร มีประโยชน์
ในแง่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถหาสารสนเทศได้มากยิ่งขึ้น
- เลขมาตรฐาน (ISBN) เป็นเลขมาตรฐานสากลประจำาหนังสือแต่ละรายการ
OPAC (Online Public Access Catalog)
ฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Database) เป็นแหล่งรวบรวมสารสนเทศอย่าง
เป็นระบบ เพื่อความสะดวกในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ ให้รายละเอียดทาง
บรรณานุกรม บทคัดย่อและหรือเนื้อหาเต็ม (Full-text) เอกสารอ้างอิง ของสิ่งพิมพ์
ประเภทต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นหนังสือ บทความวารสาร งานวิจัย วิทยานิพนธ์ ฯลฯ เช่น
ฐานข้อมูล ACM Digital Library, ProQuest, IEEE ฯลฯ
http://library.spu.ac.th:81/web/elibrary/resources/
%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%82%E0%B9%89%E
0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5-online
ฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Database)
บรรณานุกรม
• http://lib.kru.ac.th/payom/doc7-1.html. Retrieved 28 July 2012.
• http://thaiinfolitaccess.blogspot.com/2010/05/blog-post_43.html
งานชิ้นที่ 1A: ฝึกการใช้เครื่องมือสืบค้นข้อมูล
ให้นักศึกษาทำาการสืบค้นข้อมูล โดยกำาหนดคำาค้นด้วยตนเอง และใช้
เครื่องมือสืบค้นต่อไปนี้
1) ใช้โปรแกรม OPAC ของห้องสมุดค้นหนังสือหรือสื่อ
(CD/DVD) ที่อยู่ในความสนใจ เขียนรายงานข้อมูลบรรณานุกรมที่ค้น
ได้ตามหัวข้อที่ได้บรรยายพร้อมถ่ายภาพหนังสือหรือสื่อแสดงประกอบ
ในรายงาน (หากค้นได้มากกว่า 1 รายการ, ให้เลือกมา 1 รายการ)
2) ใช้ search engine ตัวใดตัวหนึ่งที่ชอบ/ถนัด ค้นเรื่องที่อยู่
ในกระแสสังคม อาจเป็นเรื่องเกี่ยวกับเทคโนโลยี หรือเรื่องอื่นใดที่น่า
สนใจ พรินต์เนื้อหาที่ค้นได้เป็นรายงาน โดยเนื้อหาควรมีลักษณะพึง
ประสงค์ 2 ประการคือ 1. มาจากแหล่งที่มีความน่าเชื่อถือ 2. เนื้อหามี
ความสด ทันสมัย/มีความเป็นปัจจุบัน
ข้อละ 5 คะแนน
เป็นงานเดี่ยว ส่งงานวันที่ 1 สิงหาคม 2556

More Related Content

What's hot

ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...Srion Janeprapapong
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศSupaporn Khiewwan
 
Chapter4 lecture
Chapter4 lectureChapter4 lecture
Chapter4 lecturesupimon1956
 
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศการวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศsupimon1956
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดChuleekorn Rakchart
 
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...Srion Janeprapapong
 
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ตบริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ตjamisuly
 
ใบงานที่ 4-ม5-3-3
ใบงานที่ 4-ม5-3-3ใบงานที่ 4-ม5-3-3
ใบงานที่ 4-ม5-3-3rapekung
 
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ตบริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ตnatheeji
 
ปภาวี สุขสุวรรณ 21
ปภาวี สุขสุวรรณ 21ปภาวี สุขสุวรรณ 21
ปภาวี สุขสุวรรณ 21Phapawee Suksuwan
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
แหล่งข้อมูลหมายถึง
แหล่งข้อมูลหมายถึงแหล่งข้อมูลหมายถึง
แหล่งข้อมูลหมายถึงTanomsak Toyoung
 
ใบงานที่4 53-3
ใบงานที่4 53-3ใบงานที่4 53-3
ใบงานที่4 53-3rapekung
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศเฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศSupaporn Khiewwan
 

What's hot (20)

ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศ
 
Chapter4 lecture
Chapter4 lectureChapter4 lecture
Chapter4 lecture
 
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศการวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
 
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
 
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ตบริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
 
ใบงานที่ 4-ม5-3-3
ใบงานที่ 4-ม5-3-3ใบงานที่ 4-ม5-3-3
ใบงานที่ 4-ม5-3-3
 
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ตบริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
 
Unit6
Unit6Unit6
Unit6
 
ปภาวี สุขสุวรรณ 21
ปภาวี สุขสุวรรณ 21ปภาวี สุขสุวรรณ 21
ปภาวี สุขสุวรรณ 21
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
 
แหล่งข้อมูลหมายถึง
แหล่งข้อมูลหมายถึงแหล่งข้อมูลหมายถึง
แหล่งข้อมูลหมายถึง
 
Book st chapter1
Book st chapter1Book st chapter1
Book st chapter1
 
ใบงานที่4 53-3
ใบงานที่4 53-3ใบงานที่4 53-3
ใบงานที่4 53-3
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
Lesson2 webopac
Lesson2 webopacLesson2 webopac
Lesson2 webopac
 
Web opac
Web opacWeb opac
Web opac
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศเฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
 

Similar to HUM121_30072013 (Information Access)

บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศSrion Janeprapapong
 
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้นการใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้นitte55112
 
หน่วยที่ 11
หน่วยที่ 11หน่วยที่ 11
หน่วยที่ 11niramon_gam
 
หน่วยที่ 11
หน่วยที่ 11หน่วยที่ 11
หน่วยที่ 11ratiporn555
 
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศเอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
การสืบค้นข้อมูล1
การสืบค้นข้อมูล1การสืบค้นข้อมูล1
การสืบค้นข้อมูล1Walaiporn Fear
 
Reference and information services
Reference and information servicesReference and information services
Reference and information servicesKKU Library
 
ปภาวี สุขสุวรรณ 21
ปภาวี สุขสุวรรณ 21ปภาวี สุขสุวรรณ 21
ปภาวี สุขสุวรรณ 21Phapawee Suksuwan
 
บริการบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่ชอบมากที่สุด
บริการบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่ชอบมากที่สุดบริการบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่ชอบมากที่สุด
บริการบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่ชอบมากที่สุดkridchamon
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2Hitsuji12
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตบทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตNattapon
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานYanisa Tean
 
[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography database[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography databaseJoy sarinubia
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 

Similar to HUM121_30072013 (Information Access) (20)

บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
 
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้นการใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น
 
หน่วยที่ 11
หน่วยที่ 11หน่วยที่ 11
หน่วยที่ 11
 
หน่วยที่ 11
หน่วยที่ 11หน่วยที่ 11
หน่วยที่ 11
 
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศเอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
 
Collection Development
Collection DevelopmentCollection Development
Collection Development
 
collection development
collection developmentcollection development
collection development
 
การสืบค้นข้อมูล1
การสืบค้นข้อมูล1การสืบค้นข้อมูล1
การสืบค้นข้อมูล1
 
Reference and information services
Reference and information servicesReference and information services
Reference and information services
 
ปภาวี สุขสุวรรณ 21
ปภาวี สุขสุวรรณ 21ปภาวี สุขสุวรรณ 21
ปภาวี สุขสุวรรณ 21
 
Webopac
WebopacWebopac
Webopac
 
บริการบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่ชอบมากที่สุด
บริการบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่ชอบมากที่สุดบริการบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่ชอบมากที่สุด
บริการบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่ชอบมากที่สุด
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
 
แผน 4
แผน 4แผน 4
แผน 4
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตบทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
 
[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography database[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography database
 
Search
SearchSearch
Search
 
K3
K3K3
K3
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 

HUM121_30072013 (Information Access)

  • 3.  การเข้าถึงสารสนเทศ (Information access ) หมาย ถึง วิธีการที่ผู้ใช้สามารถสืบค้นสารสนเทศและได้รับสารสนเทศที่ ต้องการ  การเข้าถึงสารสนเทศที่มีปริมาณมากหลากหลายประเภท จำาเป็นต้องใช้ เครื่องมือช่วยค้น ในที่นี้จะกล่าวถึงเครื่องมือ ช่วยค้น โดยจำาแนกตาม - การเข้าถึงสารสนเทศจากทรัพยากรสารสนเทศของ ห้องสมุด - การเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศจากอินเตอร์เน็ต What is “Information Access”
  • 4. การสืบค้นสารสนเทศและเครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ - การสืบค้นสารสนเทศ หมายถึง วิธีการที่บุคคลพยายามค้นหา ให้ได้มาซึ่งสารสนเทศที่ต้องการ โดยใช้เครื่องมือสืบค้นด้วยมือหรือ เทคโนโลยี - การสืบค้นสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการได้อย่าง รวดเร็ว และตรงตามความต้องการของผู้ใช้ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่อไปนี้ - กลยุทธ์และเทคนิคการสืบค้นที่ใช้ - ทักษะในการใช้เครื่องมือสืบค้นต่างๆ - ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประเภทของสารสนเทศที่ได้จากการสืบค้น - เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ หมายถึง เครื่องมือและอุปกรณ์ ต่างๆที่อำานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ในการสืบค้นรายการสารสนเทศที่ ต้องการได้อย่างรวดเร็วทันความต้องการ
  • 5. เราได้อะไรจากเครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ โดยทั่วไปเครื่องมือสืบค้นสารสนเทศจะให้รายละเอียดเพื่อการเข้าถึง ทรัพยากรสารสนเทศหรือสารสนเทศที่ต้องการดังนี้ - ข้อมูลบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศ เช่น ชื่อผู้เขียน ชื่อหนังสือ หรือชื่อบทความ ครั้งที่พิมพ์ สำานักพิมพ์ ปีพิมพ์ จำานวนหน้า เป็นต้น - ข้อมูลดรรชนีและสาระสังเขปบทความในวารสารและหนังสือพิมพ์ เช่น ชื่อ ผู้เขียนบทความ ชื่อบทความ ชื่อวารสาร ปีที่ ฉบับที่ หน้าที่ตีพิมพ์ เป็นต้น และ บางเครื่องมือให้ข้อมูลเนื้อหาย่อด้วย (สาระสังเขป) - ข้อมูลเนื้อหาฉบับเต็ม(Full Text) ข้อมูลเนื้อหาฉบับเต็มโดยทั่วไปมัก เป็นการสืบค้นวารสารอิเล็กทรอนิกส์ นักศึกษาจะได้ข้อมูลที่มีลักษณะเนื้อหาฉบับ เต็มคือมีเนื้อหาของบทความที่นำาไปใช้ประโยชน์ได้ทันที รวมถึงข้อมูล บรรณานุกรมของบทความวารสาร - ข้อมูลสื่อประสม (Multimedia) เป็นข้อมูลที่ประกอบด้วยข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง ข้อมูลในลักษณะนี้ส่วนใหญ่เป็นข้อมูลที่ได้จากการ ศึกษาค้นสารานุกรมออนไลน์ หรือเป็นข้อมูลที่อยู่ในแผ่นซีดีรอม
  • 9. เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศจำาแนกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆดังนี้ 1) เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศด้วยมือ 2) เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ประเภทของเครื่องมือสืบค้น
  • 10. เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศด้วยมือ หมายถึง เครื่องมือสืบค้นที่บันทึกรายละเอียดของรายการ สารสนเทศไว้ในรูปแบบที่ผู้ใช้ต้องสืบค้นด้วยมือ ส่วนใหญ่มักบันทึกในรูปแบบสิ่งตีพิมพ์ เช่น บัตรรายการ (Card catalog) หรือมีลักษณะเป็นเล่ม (Book catalog) บัตรรายการ (Catalog card) หมายถึง บัตรที่แจ้งรายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกับหนังสือ สิ่งพิมพ์อื่นๆ ตลอดจนโสตทัศนวัสดุที่มีในห้องสมุด เพื่อให้ผู้ใช้ทราบข้อมูลต่าง ๆ เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง ครั้งที่พิมพ์ สถานที่พิมพ์ ผู้จัดพิมพ์ ปีพิมพ์ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีเลขเรียก หนังสือ (Call number) บอกตำาแหน่งที่เก็บเพื่อให้หาวัสดุนั้นๆ ได้ถูกที่โดยไม่เสีย เวลา บัตรรายการมีขนาดมาตรฐาน คือ 3” X 5” ด้านล่างเจาะรูสำาหรับให้แกนเหล็ก ร้อยบัตรไว้กับลิ้นชักของตู้บัตรรายการเพื่อไม่ให้บัตรสลับที่หรือถูกนำาออกจากลิ้นชัก เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศด้วยมือ
  • 11. ตัวอย่างบัตรลงรายการ เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศด้วยมือ เลขเรียกหนังสือ (Call number) ชื่อผู้แต่ง - Author ชื่อเรื่อง (Title) พิมพ์ลักษณ์-Imprint (สถานที่พิมพ์, สำานักพิมพ์, ปีที่พิมพ์) ครั้งที่พิมพ์ - Edition บรรณลักษณ์ – Collation (รายการแสดงลักษณะหนังสือ) แนวสืบค้น – Tracing (จำานวนบัตรรายการของหนังสือเล่มนี้, หัวเรื่องที่เกียวข้องกัน)
  • 12. ประโยชน์ของบัตรรายการ 1. ช่วยให้ค้นหาหนังสือที่ต้องการ เพียงผู้ใช้ทราบชื่อผู้แต่ง ชื่อหนังสือ ชื่อหัวเรื่อง หรือทราบ ชื่อผู้แต่งร่วม ผู้แปล ผู้รวบรวม ชื่อชุด หรือข้อมูลใดๆ ที่ห้องสมุดพิมพ์ไว้บรรทัดแรกของบัตร ก็ สามารถใช้ บัตรรายการประเภทต่างๆที่ห้องสมุดจัดทำาขึ้น ได้แก่ บัตรผู้แต่ง บัตรชื่อเรื่อง บัตร หัวเรื่อง หรือบัตรอื่น ๆ ตรวจค้นว่าห้องสมุดมีหนังสือเล่มที่ต้องการหรือไม่ 2. บอกตำาแหน่งที่อยู่ของหนังสือแต่ละเล่มในห้องสมุด เลขเรียกหนังสือในบัตรรายการจะช่วย ให้ผู้ใช้ทราบว่าหนังสือเล่มที่ต้องการอยู่ที่ใดของห้องสมุด 3. เป็นตัวแทนของหนังสือแต่ละเล่มที่มีอยู่ในห้องสมุด รายการต่าง ๆ ในบัตรรายการ ได้แก่ ชื่อ ผู้แต่ง ชื่อเรื่อง ครั้งที่พิมพ์ พิมพ์ลักษณ์ บรรณลักษณ์ ชื่อชุด และหมายเหตุ รายการเหล่านี้จะ ช่วยให้ผู้ใช้ทราบรายละเอียดก่อนได้เห็นตัวเล่มจริง ทำาให้สามารถเลือกหนังสือได้ตรงกับความ ต้องการ 4. รายละเอียดของหนังสือที่บันทึกในบัตรรายการสามารถนำาไปรวบรวมเขียนบรรณานุกรมได้ หนังสือบางเล่มส่วนหน้าปกในอาจฉีกขาดหรือหลุดหายไปบางส่วนสามารถดูรายละเอียดใน บัตรรายการแทนได้ 5. ผู้ที่ต้องการค้นคว้าผลงานของผู้แต่งคนเดียวกัน จะสะดวกอย่างยิ่งถ้าดูจากบัตรผู้แต่ง ทำาให้ ทราบนามจริงของผู้แต่งที่ใช้นามแฝงด้วย 6. ผู้ที่ต้องการค้นเรื่องใดเรื่องหนึ่ง สามารถใช้บัตรหัวเรื่อง ซึ่งจะบอกชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง และ อื่นๆ ที่บันทึกรายการสำาคัญของหนังสือไว้ด้วย จะได้หนังสือจำานวนหลายเล่มในเรื่องที่ต้องการ พร้อมทั้งโยงเพิ่มเติมไปยังหัวเรื่องอื่นที่เกี่ยวข้องให้ด้วย 7. บัตรโยงนำาผู้ใช้จากชื่อบางชื่อ หรือหัวเรื่องบางหัวเรื่องไปยังชื่อหรือหัวเรื่องที่ถูกต้อง ทำาให้ ผู้ใช้สามารถค้นพบสารสนเทศที่ต้องการได้ง่าย เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศด้วยมือ
  • 13. เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศด้วยเทคโนโลยี หมายถึง เครื่องมือสืบค้นที่บันทึกรายละเอียดของรายการสารสนเทศไว้ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในการบันทึกและสืบค้นสารสนเทศ ทำาให้ผู้ใช้สามารถสืบค้น สารสนเทศได้อย่างรวดเร็วและครอบคลุมประเด็นหัวข้อที่ต้องการได้อย่างลึกซึ้งกว้างขวาง เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศด้วยเทคโนโลยีที่ใช้อย่างแพร่หลายในห้องสมุดมีดังต่อไปนี้ - OPAC (Online Public Access Catalog) - ฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Database) เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
  • 14. - OPAC เป็นเครื่องมือที่บันทึกรายละเอียดข้อมูลบรรณานุกรมของ ทรัพยากรสารสนเทศที่มีในห้องสมุดไว้ในฐานข้อมูลด้วยระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ผู้สืบค้นสารสนเทศสามารถป้อนคำาสำาคัญหรือหัวเรื่องที่ต้องการ สืบค้นและแสดงผลการสืบค้นได้ทางจอภาพ - การสืบค้นสารสนเทศจาก OPAC ผู้สืบค้นมีทางเลือกในการสืบค้นหลาย ทาง เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง คำาสำาคัญ เลขเรียกหนังสือ เป็นต้น ซึ่งผู้ สืบค้นทราบข้อมูลส่วนใด ก็เพียงเลือกทางเลือกในการสืบค้น และพิมพ์คำา ค้นลงไป ระบบจะดำาเนินการสืบค้น เมื่อพบรายการที่ต้องการ ระบบจะแสดง ผลออกมา - นอกจากนี้ ผู้สืบค้นสามารถใช้เทคนิคการสืบค้นขั้นสูง เช่น ตรรกบูลีน หรือการจำากัดการค้นด้วยเขตข้อมูล เข้ามาร่วมในการสืบค้นได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่ กับโปรแกรมที่ห้องสมุดแต่ละแห่งเลือกใช้ ซึ่งมีคำาแนะนำาขั้นตอนและวิธีการ สืบค้นจะปรากฏบนหน้าจอเสมอ ผู้ใช้เพียงทำาตามคำาแนะนำาที่บอกให้ไปตาม ลำาดับ http://library.spu.ac.th:81/web/ OPAC (Online Public Access Catalog)
  • 15. - ข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นด้วย OPAC คือข้อมูลบรรณานุกรมซึ่งประกอบด้วย - ชื่อผู้แต่ง (Author) อาจเป็นชื่อบุคคลหรือหน่วยงาน - ชื่อเรื่อง (Title) ของหนังสือ , ชื่อวารสาร , รายงานวิจัย , วิทยานิพนธ์ , โสตทัศนวัสดุ - พิมพ์ลักษณ์ (Imprint) ประกอบด้วยครั้งที่พิมพ์ (Edition) สถานที่พิมพ์ (Place) ได้แก่ เมืองและประเทศ , สำานักพิมพ์ (Publisher) และปีที่พิมพ์ (Year of publication) - สถานภาพ (Status) สถานภาพของทรัพยากรสารสนเทศ มีหลายลักษณะได้แก่มีการยืม ออกก็จะระบุวันกำาหนดส่ง เช่น Due 12-06-04 , อยู่บนชั้น (Check shelves) อยู่ระหว่าง การซื้อ (On order) , อยู่ระหว่างการจัดหมู่และทำารายการ (Cataloguing) , พร้อมให้ บริการ (On Shelf) เป็นต้น - เลขเรียกหนังสือ (Call number) เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้แทนทรัพยากรแต่ละรายการหาก เป็นสิ่งพิมพ์จะติดไว้ที่สันหนังสือ เป็นข้อมูลที่มีความสำาคัญที่ผู้ใช้ห้องสมุดต้องจดเพื่อไป หาหนังสือบนชั้น เนื่องจากหนังสือในห้องสมุดมีการเรียงตามเลขหมู่ - รูปเล่ม (Description) บอกข้อมูลเกี่ยวกับจำานวนหน้า ภาพประกอบ และขนาด - หมายเหตุ (Note) เป็นการระบุข้อมูลของทรัพยากรเพิ่มเติม เช่น มีข้อมูลบรรณานุกรม - สถานที่ (Location) เป็นการบอกว่าทรัพยากรรายการนั้นอยู่ที่ห้องสมุดใด - หัวเรื่อง (Subject) เป็นการระบุคำาหรือกลุ่มคำาที่ใช้แทนเนื้อหาของทรัพยากร มีประโยชน์ ในแง่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถหาสารสนเทศได้มากยิ่งขึ้น - เลขมาตรฐาน (ISBN) เป็นเลขมาตรฐานสากลประจำาหนังสือแต่ละรายการ OPAC (Online Public Access Catalog)
  • 16. ฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Database) เป็นแหล่งรวบรวมสารสนเทศอย่าง เป็นระบบ เพื่อความสะดวกในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ ให้รายละเอียดทาง บรรณานุกรม บทคัดย่อและหรือเนื้อหาเต็ม (Full-text) เอกสารอ้างอิง ของสิ่งพิมพ์ ประเภทต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นหนังสือ บทความวารสาร งานวิจัย วิทยานิพนธ์ ฯลฯ เช่น ฐานข้อมูล ACM Digital Library, ProQuest, IEEE ฯลฯ http://library.spu.ac.th:81/web/elibrary/resources/ %E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%82%E0%B9%89%E 0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5-online ฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Database)
  • 17. บรรณานุกรม • http://lib.kru.ac.th/payom/doc7-1.html. Retrieved 28 July 2012. • http://thaiinfolitaccess.blogspot.com/2010/05/blog-post_43.html
  • 18. งานชิ้นที่ 1A: ฝึกการใช้เครื่องมือสืบค้นข้อมูล ให้นักศึกษาทำาการสืบค้นข้อมูล โดยกำาหนดคำาค้นด้วยตนเอง และใช้ เครื่องมือสืบค้นต่อไปนี้ 1) ใช้โปรแกรม OPAC ของห้องสมุดค้นหนังสือหรือสื่อ (CD/DVD) ที่อยู่ในความสนใจ เขียนรายงานข้อมูลบรรณานุกรมที่ค้น ได้ตามหัวข้อที่ได้บรรยายพร้อมถ่ายภาพหนังสือหรือสื่อแสดงประกอบ ในรายงาน (หากค้นได้มากกว่า 1 รายการ, ให้เลือกมา 1 รายการ) 2) ใช้ search engine ตัวใดตัวหนึ่งที่ชอบ/ถนัด ค้นเรื่องที่อยู่ ในกระแสสังคม อาจเป็นเรื่องเกี่ยวกับเทคโนโลยี หรือเรื่องอื่นใดที่น่า สนใจ พรินต์เนื้อหาที่ค้นได้เป็นรายงาน โดยเนื้อหาควรมีลักษณะพึง ประสงค์ 2 ประการคือ 1. มาจากแหล่งที่มีความน่าเชื่อถือ 2. เนื้อหามี ความสด ทันสมัย/มีความเป็นปัจจุบัน ข้อละ 5 คะแนน เป็นงานเดี่ยว ส่งงานวันที่ 1 สิงหาคม 2556