SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
 1.1 ความหมายของการค้นคืนสารสนเทศ ( Information Retrieval )
การสืบค้นข้อมูลหรือการค้นคืนสารสนเทศ คือ การกระทาใดๆ ที่ทาให้ได้คืนมา ซึ่ง
ซึ่งตัวเอกสารหรือสารสนเทศโดยมีกระบวนการค้นคืนสารสนเทศที่ค้นหาจากเมทา
ดาต้า ผ่านเครื่องมือสืบค้น ซึ่งผลของการดึงข้อมูลจะมีเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับคาค้าที่ใช้
ที่ใช้ในการสืบค้น โดยเอกสารหรือสารสนเทศในที่นี้ หมายความถึง สิ่งพิมพ์ต่างๆ ที่เป็น
ที่เป็นตัวอักษร สื่ออื่นๆ อย่าง วิดีโอ รูปภาพ เสียง และทุกสิ่งทุกอย่างที่มีการจัดเก็บไว้
1.พื้นฐานของการสืบค้น/ค้นคืนสารสนเทศ
 กระบวนการค้นคืนสารสนเทศ เริ่มจากขั้นตอนที่ผู้ใช้ป้ อนคาสอบถาม(Query)ซึ่ง
คือข้อมูลหรือสารสนเทศที่ผู้ใช้ต้องกี่ค้นหาเข้าไปในระบบ ขั้นตอนต่อมา เมื่อระบบค้น
คืนสารสนเทศ( Information Retrieval ) รับคาสอบถามแล้วจะทาการค้นคืน
สารสนเทศจากเอกสาร ขั้นสุดท้ายระบบจะส่งผลลัพธ์ที่ได้เสนอเป็นสารสนเทศที่ถูกดึง
ออกมา ( Information Retrieval ) ซึ่งขึ้นกับความต้องการของผู้ใช้ โดยทั่วไปจะ
ไม่ได้มีเพียงรายการเดียว แต่จะมีหลายรายการ ซึ่งควรสอดคล้องสัมพันธ์( Retrieval )
กับสิ่งที่ผู้ใช้ต้องการค้นหา อย่างไรก็ตาม หากผลลัพธ์มีรายการ ควรมีการจัดอันดับ
(Rank) ตามความสอดคล้องมากน้อย โดยให้ข้อมูลที่ต้องการค้นหามากสุดอยู่ก่อน
ส่วนรายการที่มีความสอดคล้องน้อยอยู่หลัง
1.2 กระบวนการค้นคืนสารสนเทศ
ภาพที่6.2 แสดงกระบวนการค้นคืนสารสนเทศ
ส่วนประกอบของระบบคืนค้นสารสนเทศแบ่งได้เป็น 3 ส่วน ดังนี้
1) ส่วนนาเข้าข้อมูล (Input)
เป็นส่วนของการป้ อนคาสอบถาม(Query) จากผู้ใช้ซึ่งคือ ข้อมูลหรือสารสนเทศที่ผู้ใช้
ต้องการค้นหา เช่น คาสาคัญ ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง เป็นต้น ระบบค้นคืนสารสนเทศจะนา
สารสนเทศเหล่านี้ผ่านการประมวลผลแบบเชื่อโดยตรงกับระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งผู้ใช้จะมี
การโต้ตอบหรือปฏิสัมพันธ์กับระบบโดยตรง
1.3 ส่วนประกอบของการคืนค้นสารสนเทศ
2) ส่วนประมวลผล(Processor)
เป็นส่วนของการประมวลผลได้แก่ การจัดโครงสร้างของสารสนเทศในรูปแบบที่เหมาะสม
เหมาะสม อันประกอบด้วย การสร้างแทนเอกสาร การแบ่งแยกกลุ่มของเอกสาร การจัดเก็บ
จัดเก็บสารสนเทศการดึงข้อมูลตามที่ผู้ใช้ต้องการ ระบบจะนาคาสอบถามไปเปรียบเทียบกับ
กับเอกสารที่มีอยู่ เพื่อดึงเอกสารที่ใกล้เคียงนาออกมาให้แก้ผู้ใช้
3) ส่วนแสดงผลลัพธ์ (Output)
เป็นส่วนที่นาผลลัพธ์ที่ได้จากระบบเป็นข้อความสั้นๆ เช่น ชื่อหนังสือ ชื่อผู้แต่ง หมายเลข
เอกสาร สานักพิมพ์ เป็นต้น ผู้ใช้สามารถพิจารณาจากข้อมูลต่างๆ กับสิ่งที่ต้องการ ผู้ใช้
สามารถป้ อนคาสอบถามใหม่เพื่อให้ได้เอกสารที่ตรงกับความต้องการมากที่สุด ผลลัพธ์ที่ได้จึง
ได้จึงขึ้นอยู่กับคาสอบถามของผู้ใช้
 ระบบการค้นคืนสารสนเทศ มีขั้นตอนการทางานเพื่อให้ได้สารสนเทศที่เหมาะสม
และตรงกับความต้องการของผู้ใช้ ที่สาคัญ 5 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 การทาความเข้าใจกับความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้
เป็นขั้นตอนวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้โดยทั่วไป ความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้
สิ่งสาคัญ จึงต้องทาความเข้าใจกับความต้องการให้มากที่สุด ซึ่งจะทาให้การค้นหา
ดาเนินการไปในทิศทางที่ถูกต้อง
ขั้นตอนที่ 2 การคัดเลือกระบบค้นคืนสารสนเทศที่เหมาะสม
เป็นขั้นตอนการคัดเลือกระบบคืนค้นสารสนเทศที่จะใช้ในการคืนค้น ซึ่งมีอยู่มากมายทั้ง
ในรูปสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และสื่อคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจพิจารณาจากเกณฑ์ต่างๆ เช่น
ขอบเขต ความทันสมัย ระยะเวลาที่ครอบคลุม เนื้อหาสาระของระเบียนข้อมูล วิธีการ
จัดทาศัพท์ดรรชนี และค่าใช้จ่าย
2. ขั้นตอนการสร้างระบบค้นคืนสารสนเทศ
 ขั้นตอนที่ 3 การกาหนดความต้องการสารสนเทศในรูปแนวคิดและคาค้น
 เป็นขั้นตอนการกาหนดคาค้นแทนแนวคิด ผู้ค้นควรคานึงถึงวิธีการจาทาศัพท์ดรรชนี ที่เป็นตัวแทน
ตัวแทนสาระเอกสารในระบบค้นคืนสารสนเทศที่จะใช้ ว่ามีการใช้ศัพท์ควบคุมหรือไม่ ไม่ว่าระบบ
ระบบดังกล่าวจะใช้วิธีการใดก็ตาม การกาหนดคาค้นแทนแนวคิดควรใช้วิธีการเดียวเพื่อให้ได้ผลที่ดี
ได้ผลที่ดี
 ขั้นตอนที่ 4 การกาหนดกลยุทธ์การคืนค้น
 กลยุทธ์การคืนค้นส่วนใหญ่อยู่ในรูปคาถามซึ่งประกอบด้วยคาค้นต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กัน
โดยทั่วไปการกาหนดกลยุทธ์จะขึ้นอยู่กับวิธีการทางานของระบบค้นคืนสารสนเทศที่ใช้และประเภท
ประเภทของความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้
 ขั้นตอนที่ 5 การดาเนินการค้นและทบทวนผลการคืนค้น
 การดาเนินการค้นเป็นการป้ อนคาถามที่สร้างขึ้นเข้าสู่ระบบค้นคืนสารสนเทศ เพื่อจับคู่เปรียบเทียบ
เปรียบเทียบระหว่างศัพท์ดรรชนี ซึ่งเป็นตัวแทนสาระของเอกสารในระบบกับคาค้น ในข้อคาถามและ
คาถามและเป็นตัวแทนความต้องการของผู้ใช้ระบบพิจารณาแต่เอกสารว่า สอดคล้องกับเรื่องที่
ที่สอบถามหรือไม่
 การค้นคืนสารสนเทศจากเครื่องมือต่างๆ สามารถค้นได้จาก คาที่สาคัญ ชื่อเรื่อง หรือ
หัวเรื่อง เป็นต้น สิ่งเหล่านี้จะช่วยให้สามารถค้นสารสนเทศได้สาระสาคัญของเรื่องที่
ต้องการ เทคนิคในการค้นคืนสารสนเทศ มี 5 เทคนิค ดังนี้
3. เทคนิคการค้นคืนสารสนเทศ
เทคนิคการค้นคืนด้วยคาสาคัญ คือ การใช้คาหรือวลีที่สาคัญและมีความหมายที่
สามารถใช้เป็นคาค้น เพื่อเชื่อมโยงไปยังเนื้อหาของสารสนเทศ มักจะปรากฏอยู่ในชื่อเรื่อง
และเนื้อหา เพื่อทาหน้าที่บ่งบอกถึงเนื้อหาของสารสนเทศนั้นๆ
3.1 การใช้คาสาคัญ(Keywords)
เทคนิคการค้นคืนโดยใช้หัวเรื่อง คือ การใช้หัวข้อ หรือวลีที่กาหนดขึ้นแทนหรือบ่งบอก
เนื้อหาที่สาคัญของสารสนเทศเพื่อใช้เป็นเครื่องชี้นาไปยังเนื้อหาที่แท้จริงของสารสนเทศ
หัวเรื่องที่ดีควรเป็นคาหรือกลุ่มคาที่สั้นกะทัดรัด และมีความหมายเฉพาะเจาะจง
ครอบคลุมเนื้อหาที่แท้จริงของสารสนเทศที่ต้องการค้นคืน หัวเรื่องแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1) หัวเรื่องใหญ่ หมายถึง คาที่กาหมดขึ้นเพื่อระบุถึงเนื้อเรื่องของสารสนเทศโดยตรง
2) หัวเรื่องย่อย หมายถึง คาที่กาหมดขึ้นใช้ตามหลังหัวเรื่องใหญ่เพื่อกาหมดขอบเขตหรือ
ความหายของเรื่องให้เฉพาะเจาะจงลงไปโดยมีเครื่องหมาย – คั่น เพื่อระบุแง่มุมเฉพาะ
ด้านของเรื่อง รูปแบบการเขียน หัวเรื่องย่อยบางหัวเรื่องก็สามารถใช้เป็นหัวเรื่องใหญ่ได้
3.2 การใช้หัวเรื่อง (Subject heading)
3.3 การใช้เทคนิคการตัดปลายคา (Truncation)
การค้นคืนสารสนเทศบางครั้งต้องการใช้คาศัพท์ที่มีรูปต่างกัน จากรากศัพท์
เดียวกัน เพื่อให้ได้สารสนเทศครบถ้วน เช่น ต้องการค้นเกี่ยวกับเรื่อง LIBRA ก็ต้องค้นคาที่
เกี่ยวข้อง เช่น LIBRA RAIN,LIBRARY หรือ LIBRARIES การพิมพ์ทุกคาจะเสียเวลา จึงมี
วิธีการตัดปลายคา โดยใช้เครื่องหมาย ? แทนตัวอักษรต่อท้ายอื่น ระบบจะค้นคาที่ขึ้นต้นด้วย
คาดังกล่าวที่ต่อท้ายด้วยอักขระอื่นๆ เท่าที่มีในดรรชนี
เป็นเทคนิคการค้นคืนที่ใช้สาหรับสร้างความสัมพันธ์ ระหว่างคาและแนวความคิด
ต่างๆโดยตัวเชื่อม(Logical Operators) ระหว่างคาที่เป็นแนวความคิด ตัวเชื่อมตรรกะที่
ใช้ในการค้นคืนสารสนเทศมี 3 ประเภท คือ OR AND และ NOT
1) ตัวเชื่อม หรือ (OR) เป็นการเชื่อมคาค้นตั้งแต่ 2 คาขึ้นไป โดยที่ผลการค้นคืนจะ
ปรากฏคาใดคาหนึ่ง หรือคาทั้งสองในรายการผลการค้นคืน ตัวอย่างเช่น เทคโนโลยี OR
สารสนเทศผลการค้นคืน จะได้สารสนเทศที่มีคาศัพท์คาใดคาหนึ่ง หรือทั้ง 2 คา ซึ่งมี
จานวนมากขึ้น
3.4 การใช้ ตรรกะแบบบูลีน (Boolean Logic)
 2) ตัวเชื่อม และ (AND) เป็นการเชื่อมคาค้นตั้งแต่สองคาขึ้นไป โดยผลการค้น
ต้องปรากฏคาทั้ง 2 ในรายการผลการค้นคืน
3) ตัวเขื่อม ไม่ (NOT) เป็นการเชื่อมคาค้นตั้งแต่ 2 คาขึ้นไป โดยที่ผลการค้น
คืนจะปรากฏคาเพียงคาเดียวเท่านั้น และไม่ต้องการให้ปรากฏคาหลังในรายการผล
การค้นคืน
 เป็นเทคนิคการค้นคืนที่ใช้จากัดคาค้น ช่วยไห้สามารถจากัดวงการสืบค้นให้ได้ตรง
กับความต้องการมากที่สุด ซึ่งเทคนิคการค้นคืนที่ใช้จะจากัดการสืบค้นด้านใดนั้น
ขึ้นอยู่กับโปรแกรมส่วนใหญ่สามารถจากัดการค้นคืนจากประเภทของทรัพยากร
สารสนเทศ จากแหล่งสารสนเทศ การจากัดภาษาของสารสนเทศ การจากัดประเภท
ของผลการสืบค้น เป็นต้น เนื่องจากสารสนเทศที่เก็บรวบรวมไว้มีจานวนมากเช่น
จากัดสถานที่ จากัดภาษา หรือ จากัดปีของสารสนเทศ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
3.5 การจากัดคาค้น(Limit Search)
การสืบค้นสารสนเทศจากแหล่งข้อมูลและสารสนเทศบนอินเตอร์เน็ตเป็น
แหล่งข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ที่สาคัญและใหญ่ที่สุด มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
ดังนั้นในการค้นข้อมูลสารสนเทศบนอินเตอร์เน็ต ผู้ค้นที่จะนาข้อมูลและสารสนเทศไปใช้
ควรตั้งวัตถุประสงค์การค้นที่ชัดเจน กาหนดประเภทของเครื่องมือหรือโปรแกรม เพื่อให้ผล
การค้นคืนให้เหมาะสมมีปริมาณที่ไม่มากเกินไป ตรงตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ และ
ความน่าเชื่อถือมากที่สุด การสืบค้นสารสนเทศบนอินเตอร์เน็ตแบ่งประเภทได้ดังนี้
4.1 การสืบค้นข้อความในอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นสารสนเทศประเภทข้อความในอินเทอร์เน็ตสามารถดาเนินการได้
จากทุกมุมโลก โดยผ่านเว็บไซต์ของผู้ผลิต หรือผู้จาหน่ายฐานข้อมูล โดยผู้ใช้สามารถค้น
คืนข้อความ (Text Retrieval) ได้จากฐานข้อมูล ดังรายเอียดต่อไปนี้
4.การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศบนอินเตอร์เน็ต
1) วารสารอิเล็กทรอนิกส์ (E-Journal) เป็นสื่อรูปแบบหนึ่งที่เผยแพร่เป็น
ฉบับต่อเนื่องมีกาหนดออกที่แน่นอนและเสนอข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัย มีบริการฐานข้อมูล
วารสารอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อการศึกษาค้นคว้าเชิงวิชาการทาให้เกิดประโยชน์ในการเรียน
การสอน
2)หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) เป็นหนังสือที่สร้างขึ้นด้วยโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถอ่านเอกสารผ่านทางหน้า
จอคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แบบพกพาอื่นๆได้ ทั้งในระบบออฟไลน์และ
ออนไลน์
3) วิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Thesis) เป็นฐานข้อมูล วิทยานิพนธ์
งานวิจัยและบทความวารสาร ที่มหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาจัดทาขึ้นเพื่อให้
บริการค้นหาวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์หรืองานวิจัยอิเล็กทรอนิกส์
4) ระบบโอแพ็ก (Online Public Access Catalog: OPAC) เป็นฐานข้อมูล
รายการทรัพยากรสารสนเทศของสถาบันบริการสารสนเทศผ่านทางอินเตอร์เน็ต ด้วย
โปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติ ซึ่งเป็นโปรแกรมสาเร็จรูปได้แก่ VTLS,WEB,OPAC เป็นต้น
หรือสถาบันอาจพัฒนาขึ้นเอง
4) เวิลด์ไวด์เว็บ(World Wide Wed: WWW) เป็นฐานข้อมูลทั่วไปใน
อินเตอร์เน็ตที่บริการบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ที่มีข้อมูลและสารสนเทศอยู่เป็นจานวนมาก
ซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่
- การค้นคืนข้อมูลโดยการจัดหมวดหมู่ (Wed Directory) เป็นการค้นคืน
โดยการเลือกจากรายชื่อที่ทางเว็บไซต์ได้รวบรวมและจัดหมวดหมู่เอาไว้แล้ว เว็บไซต์ที่มี
การค้นคืนแบบนี้ได้แก่ Sanook, Saimguru, Excite เป็นต้น
- การค้นคืนข้อมูลโดยใช้โปรแกรมค้นหา (Search Engine) เป็นการค้น
คืนข้อมูล หรือรายละเอียดบนอินเตอร์เน็ตจากคาสาคัญ (Keyword) ที่กาหนดโดยจะ
รวบรวมข้อมูลทั้งที่เป็นรายชื่อและรายละเอียดบนเครือข่ายโดยอัตโนมัติ เว็บไซต์ที่มีการ
ค้นคืนแบบนี้ได้แก่ Google, Yahoo, Altavista เป็นต้น
4.2 การสืบค้นรูปภาพในอินเตอร์เน็ต
การสืบค้นรูปภาพนอกจากคาค้นแล้วยังสามารถค้นจากรูปภาพได้ด้วย เช่นการค้น
คืนในเว็บไซต์ Google สามาค้นหาเนื้อหาทุกประเภทที่เกี่ยวข้องกับแต่ละรูปภาพ ซึ่งจะพบ
พบรูปภาพคล้ายกันหรือเกี่ยวข้องกัน เว็บไซต์ที่ให้บริการค้นคืนรูปภาพในอินเตอร์เน็ต มีดัง
ดังตารางต่อไปนี้
4.3 การสืบค้นเสียงในอินเตอร์เน็ต
การค้นคืนเสียงสามารถค้นได้ด้วยคาค้น และค้นคืนเสียงจากเสียง อาจจะเป็น
เสียงพูด เสียงดนตรี หรือเสียงเพลง การค้นคืนเสียงด้วยคาค้นผู้ใช้สามารถค้นไฟล์เสียงโดยการ
โดยการใส่คาค้นเข้าไปในช่องค้นหา เหมือนกับการค้นข้อมูลทั่วไปในอินเตอร์เน็ต ส่วนการค้น
ค้นคืนเสียงด้วยเสียงนั้นผู้ใช้สามารถค้นเสียงได้ด้วยการคลิกปุ่มรูปไมโครโฟนแล้วพูดหรือ
บันทึกเสียงที่ต้องการค้นหาเข้าไป ระบบก็จะทาการค้นคืนเสียงที่ตรงหรือใกล้เคียงมากที่สุด
ที่สุด เว็บไซต์ที่ให้บริการค้นคืนเสียงในอินเตอร์เน็ต มีดังตารางต่อไปนี้
4.4 การสืบค้นวิดีโอในอินเตอร์เน็ต
การค้นคืนวิดีโอในอินเตอร์เน็ตสามารถค้นได้ด้วยคาค้น เหมือนกับการค้นข้อมูล
ทั่วไปในอินเตอร์เน็ต เว็บไซต์ที่นิยมใช้ในการค้นคืนวิดีโอมากที่สุดในปัจจุบัน คือ
YouTube.com สามารถค้นหาไฟล์วิดีโอมากมายอินเตอร์เน็ต โดย YouTube สามารถค้นหา
ค้นหาไฟล์วิดีโอจาหกเว็บไซต์ทั่วโลก และจัดกลุ่มให้เป็นระเบียบ ถ้าหากผู้ใช้ต้องการดาวน์โหลด
ดาวน์โหลด ต้องใช้เว็บไซต์ที่บริการดาวน์โหลด เช่น YouTube Downloader, Keepvid.com,
Keepvid.com, YouChoob และ Hash YouTube Downloader เป็นต้น เว็บไซต์ที่ให้บริการ
ให้บริการค้นคืนวิดีโอในอินเตอร์เน็ต มีดังตารางต่อไปนี้
การประเมินผลการค้นคืนสารสนเทศ เป็นการประเมินระบบการทางานว่าเป็นไปตาม
วัตถุประสงค์หรือไม่ รวมทั้งค้นหาแนวทางในการแก้ไขปรับปรุงที่จะทาให้ระบบค้นคืนสารสนเทศ
สารสนเทศประสบความสาเร็จ ตลอดจนปรับปรุงเทคนิค สื่อหรือตัวกลางที่ใช้บรรลุวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้โดยวัดลักษณะการทางานของระบบด้าน ประสิทธิภาพ (Efficiency)
5.การประเมินผลระบบการค้นคืนสารสนเทศ
5.1 การวัดประสิทธิภาพของระบบการค้นคืนสารสนเทศ
การวัดประสิทธิภาพของระบบการค้นคืนสารสนเทศนั้น จะพิจารณาจาก ค่าอัตรา
การค้นคืน (Recall Ratio) และอัตราความถูกต้อง (PrecisionRatio) สามารถคานวณได้ดังนี้
ในการค้นคืนสารสนเทศเรื่องหนึ่ง ผลการค้นคืนจะประกอบด้วย สารสนเทศดังนี้
1) สารสนเทศที่ค้นคืนได้และเกี่ยวข้องกับเรื่องที่ต้องการ
2) สารสนเทศที่ค้นคืนได้แต่ไม่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ต้องการ
3) สารสนเทศที่ค้นคืนมาไม่ได้แต่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ต้องการ
4) สารสนเทศที่ไม่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ต้องการและไม่ถูกค้นคืนขึ้นมา
4.2 การสืบค้นรูปภาพในอินเตอร์เน็ต
การสืบค้นรูปภาพนอกจากคาค้นแล้วยังสามารถค้นจากรูปภาพได้ด้วย เช่นการค้น
คืนในเว็บไซต์ Google สามาค้นหาเนื้อหาทุกประเภทที่เกี่ยวข้องกับแต่ละรูปภาพ ซึ่งจะพบ
พบรูปภาพคล้ายกันหรือเกี่ยวข้องกัน เว็บไซต์ที่ให้บริการค้นคืนรูปภาพในอินเตอร์เน็ต มีดัง
ดังตารางต่อไปนี้
ในการวิจัยด้านประสิทธิภาพของการค้นคืนสารสนเทศ ถ้าจานวน B และ C เท่ากับ
0 หมายถึง ประสิทธิภาพสูงสุด แต่ในความเป็นจริง ถ้าพบว่าจานวน B และ C ยิ่งมีค่าต่า
เท่าใด แสดงว่าการค้นคืนนั้นยิ่งมีประสิทธิภาพ จากตารางสมารถคานวณอัตราการค้นคืน
และ อัตราความถูกต้องได้ดังนี้
ตัวอย่าง การวัดประสิทธิภาพของระบบการค้นคืนสารสนเทศ
ในการค้นคืนสารสนเทศ ได้สารสนเทศออกมาทั้งหมด 50 รายการ ซึ่งตรงกับความ
ต้องการ 30 รายการ แต่มีสารสนเทศที่ค้นคืนไม่ได้ แต่ตรงกับที่เราต้องการอีก 10
รายการ อยู่ในฐานข้อมูล ซึ่งมีสารสนเทศอยู่ทั้งหมด 500 รายการ จงคานวณหาอัตรา
การค้นคืน อัตราความถูกต้อง ของการค้นคืนสารสนเทศ
Unit6
Unit6
Unit6

More Related Content

What's hot

Nattachol11
Nattachol11Nattachol11
Nattachol11Miss_Up
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลNithiwan Rungrangsri
 
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน_ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน_ตการติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน_ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน_ตJha Jah
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
การติดต่อสื่อสาร
การติดต่อสื่อสารการติดต่อสื่อสาร
การติดต่อสื่อสารJha Jah
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ตบริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ตstep_auto
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลOrapan Chamnan
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตjobasketball
 
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ทรงไทย Songthai
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ทรงไทย Songthaiระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ทรงไทย Songthai
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ทรงไทย SongthaiNew Evo'v
 
HUM121_30072013 (Information Access)
HUM121_30072013 (Information Access)HUM121_30072013 (Information Access)
HUM121_30072013 (Information Access)Supimon Wattananukoon
 
Database
DatabaseDatabase
Databasepaween
 

What's hot (15)

Nattachol11
Nattachol11Nattachol11
Nattachol11
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน_ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน_ตการติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน_ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน_ต
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
การติดต่อสื่อสาร
การติดต่อสื่อสารการติดต่อสื่อสาร
การติดต่อสื่อสาร
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ตบริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
Mai
MaiMai
Mai
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
 
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ทรงไทย Songthai
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ทรงไทย Songthaiระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ทรงไทย Songthai
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ทรงไทย Songthai
 
HUM121_30072013 (Information Access)
HUM121_30072013 (Information Access)HUM121_30072013 (Information Access)
HUM121_30072013 (Information Access)
 
praew
praewpraew
praew
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
Data struct is_chapter1
Data struct is_chapter1Data struct is_chapter1
Data struct is_chapter1
 

Similar to Unit6

นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5miwmilk
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล
นางสาวมลทิรา  เอกกุลนางสาวมลทิรา  เอกกุล
นางสาวมลทิรา เอกกุลmiwmilk
 
การสืบค้นข้อมูล1
การสืบค้นข้อมูล1การสืบค้นข้อมูล1
การสืบค้นข้อมูล1Walaiporn Fear
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2Hitsuji12
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศSrion Janeprapapong
 
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตKanokkorn Harsuk
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3nunzaza
 
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์Kochakorn Noiket
 
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการอินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการPrapaporn Boonplord
 
การบริการบนอินเตอร์เน็ต
การบริการบนอินเตอร์เน็ตการบริการบนอินเตอร์เน็ต
การบริการบนอินเตอร์เน็ตJitty Charming
 

Similar to Unit6 (20)

Webopac
WebopacWebopac
Webopac
 
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล
นางสาวมลทิรา  เอกกุลนางสาวมลทิรา  เอกกุล
นางสาวมลทิรา เอกกุล
 
Search
SearchSearch
Search
 
การสืบค้นข้อมูล1
การสืบค้นข้อมูล1การสืบค้นข้อมูล1
การสืบค้นข้อมูล1
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
 
Work11
Work11Work11
Work11
 
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
งานคอม#2
งานคอม#2งานคอม#2
งานคอม#2
 
แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4
 
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการอินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
Internet search engine
Internet search engineInternet search engine
Internet search engine
 
Internet search engine
Internet search engineInternet search engine
Internet search engine
 
work3
work3 work3
work3
 
การบริการบนอินเตอร์เน็ต
การบริการบนอินเตอร์เน็ตการบริการบนอินเตอร์เน็ต
การบริการบนอินเตอร์เน็ต
 

Unit6

  • 1.
  • 2.  1.1 ความหมายของการค้นคืนสารสนเทศ ( Information Retrieval ) การสืบค้นข้อมูลหรือการค้นคืนสารสนเทศ คือ การกระทาใดๆ ที่ทาให้ได้คืนมา ซึ่ง ซึ่งตัวเอกสารหรือสารสนเทศโดยมีกระบวนการค้นคืนสารสนเทศที่ค้นหาจากเมทา ดาต้า ผ่านเครื่องมือสืบค้น ซึ่งผลของการดึงข้อมูลจะมีเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับคาค้าที่ใช้ ที่ใช้ในการสืบค้น โดยเอกสารหรือสารสนเทศในที่นี้ หมายความถึง สิ่งพิมพ์ต่างๆ ที่เป็น ที่เป็นตัวอักษร สื่ออื่นๆ อย่าง วิดีโอ รูปภาพ เสียง และทุกสิ่งทุกอย่างที่มีการจัดเก็บไว้ 1.พื้นฐานของการสืบค้น/ค้นคืนสารสนเทศ
  • 3.  กระบวนการค้นคืนสารสนเทศ เริ่มจากขั้นตอนที่ผู้ใช้ป้ อนคาสอบถาม(Query)ซึ่ง คือข้อมูลหรือสารสนเทศที่ผู้ใช้ต้องกี่ค้นหาเข้าไปในระบบ ขั้นตอนต่อมา เมื่อระบบค้น คืนสารสนเทศ( Information Retrieval ) รับคาสอบถามแล้วจะทาการค้นคืน สารสนเทศจากเอกสาร ขั้นสุดท้ายระบบจะส่งผลลัพธ์ที่ได้เสนอเป็นสารสนเทศที่ถูกดึง ออกมา ( Information Retrieval ) ซึ่งขึ้นกับความต้องการของผู้ใช้ โดยทั่วไปจะ ไม่ได้มีเพียงรายการเดียว แต่จะมีหลายรายการ ซึ่งควรสอดคล้องสัมพันธ์( Retrieval ) กับสิ่งที่ผู้ใช้ต้องการค้นหา อย่างไรก็ตาม หากผลลัพธ์มีรายการ ควรมีการจัดอันดับ (Rank) ตามความสอดคล้องมากน้อย โดยให้ข้อมูลที่ต้องการค้นหามากสุดอยู่ก่อน ส่วนรายการที่มีความสอดคล้องน้อยอยู่หลัง 1.2 กระบวนการค้นคืนสารสนเทศ
  • 5. ส่วนประกอบของระบบคืนค้นสารสนเทศแบ่งได้เป็น 3 ส่วน ดังนี้ 1) ส่วนนาเข้าข้อมูล (Input) เป็นส่วนของการป้ อนคาสอบถาม(Query) จากผู้ใช้ซึ่งคือ ข้อมูลหรือสารสนเทศที่ผู้ใช้ ต้องการค้นหา เช่น คาสาคัญ ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง เป็นต้น ระบบค้นคืนสารสนเทศจะนา สารสนเทศเหล่านี้ผ่านการประมวลผลแบบเชื่อโดยตรงกับระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งผู้ใช้จะมี การโต้ตอบหรือปฏิสัมพันธ์กับระบบโดยตรง 1.3 ส่วนประกอบของการคืนค้นสารสนเทศ
  • 6. 2) ส่วนประมวลผล(Processor) เป็นส่วนของการประมวลผลได้แก่ การจัดโครงสร้างของสารสนเทศในรูปแบบที่เหมาะสม เหมาะสม อันประกอบด้วย การสร้างแทนเอกสาร การแบ่งแยกกลุ่มของเอกสาร การจัดเก็บ จัดเก็บสารสนเทศการดึงข้อมูลตามที่ผู้ใช้ต้องการ ระบบจะนาคาสอบถามไปเปรียบเทียบกับ กับเอกสารที่มีอยู่ เพื่อดึงเอกสารที่ใกล้เคียงนาออกมาให้แก้ผู้ใช้ 3) ส่วนแสดงผลลัพธ์ (Output) เป็นส่วนที่นาผลลัพธ์ที่ได้จากระบบเป็นข้อความสั้นๆ เช่น ชื่อหนังสือ ชื่อผู้แต่ง หมายเลข เอกสาร สานักพิมพ์ เป็นต้น ผู้ใช้สามารถพิจารณาจากข้อมูลต่างๆ กับสิ่งที่ต้องการ ผู้ใช้ สามารถป้ อนคาสอบถามใหม่เพื่อให้ได้เอกสารที่ตรงกับความต้องการมากที่สุด ผลลัพธ์ที่ได้จึง ได้จึงขึ้นอยู่กับคาสอบถามของผู้ใช้
  • 7.
  • 8.  ระบบการค้นคืนสารสนเทศ มีขั้นตอนการทางานเพื่อให้ได้สารสนเทศที่เหมาะสม และตรงกับความต้องการของผู้ใช้ ที่สาคัญ 5 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การทาความเข้าใจกับความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ เป็นขั้นตอนวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้โดยทั่วไป ความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ สิ่งสาคัญ จึงต้องทาความเข้าใจกับความต้องการให้มากที่สุด ซึ่งจะทาให้การค้นหา ดาเนินการไปในทิศทางที่ถูกต้อง ขั้นตอนที่ 2 การคัดเลือกระบบค้นคืนสารสนเทศที่เหมาะสม เป็นขั้นตอนการคัดเลือกระบบคืนค้นสารสนเทศที่จะใช้ในการคืนค้น ซึ่งมีอยู่มากมายทั้ง ในรูปสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และสื่อคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจพิจารณาจากเกณฑ์ต่างๆ เช่น ขอบเขต ความทันสมัย ระยะเวลาที่ครอบคลุม เนื้อหาสาระของระเบียนข้อมูล วิธีการ จัดทาศัพท์ดรรชนี และค่าใช้จ่าย 2. ขั้นตอนการสร้างระบบค้นคืนสารสนเทศ
  • 9.  ขั้นตอนที่ 3 การกาหนดความต้องการสารสนเทศในรูปแนวคิดและคาค้น  เป็นขั้นตอนการกาหนดคาค้นแทนแนวคิด ผู้ค้นควรคานึงถึงวิธีการจาทาศัพท์ดรรชนี ที่เป็นตัวแทน ตัวแทนสาระเอกสารในระบบค้นคืนสารสนเทศที่จะใช้ ว่ามีการใช้ศัพท์ควบคุมหรือไม่ ไม่ว่าระบบ ระบบดังกล่าวจะใช้วิธีการใดก็ตาม การกาหนดคาค้นแทนแนวคิดควรใช้วิธีการเดียวเพื่อให้ได้ผลที่ดี ได้ผลที่ดี  ขั้นตอนที่ 4 การกาหนดกลยุทธ์การคืนค้น  กลยุทธ์การคืนค้นส่วนใหญ่อยู่ในรูปคาถามซึ่งประกอบด้วยคาค้นต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กัน โดยทั่วไปการกาหนดกลยุทธ์จะขึ้นอยู่กับวิธีการทางานของระบบค้นคืนสารสนเทศที่ใช้และประเภท ประเภทของความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้  ขั้นตอนที่ 5 การดาเนินการค้นและทบทวนผลการคืนค้น  การดาเนินการค้นเป็นการป้ อนคาถามที่สร้างขึ้นเข้าสู่ระบบค้นคืนสารสนเทศ เพื่อจับคู่เปรียบเทียบ เปรียบเทียบระหว่างศัพท์ดรรชนี ซึ่งเป็นตัวแทนสาระของเอกสารในระบบกับคาค้น ในข้อคาถามและ คาถามและเป็นตัวแทนความต้องการของผู้ใช้ระบบพิจารณาแต่เอกสารว่า สอดคล้องกับเรื่องที่ ที่สอบถามหรือไม่
  • 10.  การค้นคืนสารสนเทศจากเครื่องมือต่างๆ สามารถค้นได้จาก คาที่สาคัญ ชื่อเรื่อง หรือ หัวเรื่อง เป็นต้น สิ่งเหล่านี้จะช่วยให้สามารถค้นสารสนเทศได้สาระสาคัญของเรื่องที่ ต้องการ เทคนิคในการค้นคืนสารสนเทศ มี 5 เทคนิค ดังนี้ 3. เทคนิคการค้นคืนสารสนเทศ
  • 11. เทคนิคการค้นคืนด้วยคาสาคัญ คือ การใช้คาหรือวลีที่สาคัญและมีความหมายที่ สามารถใช้เป็นคาค้น เพื่อเชื่อมโยงไปยังเนื้อหาของสารสนเทศ มักจะปรากฏอยู่ในชื่อเรื่อง และเนื้อหา เพื่อทาหน้าที่บ่งบอกถึงเนื้อหาของสารสนเทศนั้นๆ 3.1 การใช้คาสาคัญ(Keywords)
  • 12. เทคนิคการค้นคืนโดยใช้หัวเรื่อง คือ การใช้หัวข้อ หรือวลีที่กาหนดขึ้นแทนหรือบ่งบอก เนื้อหาที่สาคัญของสารสนเทศเพื่อใช้เป็นเครื่องชี้นาไปยังเนื้อหาที่แท้จริงของสารสนเทศ หัวเรื่องที่ดีควรเป็นคาหรือกลุ่มคาที่สั้นกะทัดรัด และมีความหมายเฉพาะเจาะจง ครอบคลุมเนื้อหาที่แท้จริงของสารสนเทศที่ต้องการค้นคืน หัวเรื่องแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1) หัวเรื่องใหญ่ หมายถึง คาที่กาหมดขึ้นเพื่อระบุถึงเนื้อเรื่องของสารสนเทศโดยตรง 2) หัวเรื่องย่อย หมายถึง คาที่กาหมดขึ้นใช้ตามหลังหัวเรื่องใหญ่เพื่อกาหมดขอบเขตหรือ ความหายของเรื่องให้เฉพาะเจาะจงลงไปโดยมีเครื่องหมาย – คั่น เพื่อระบุแง่มุมเฉพาะ ด้านของเรื่อง รูปแบบการเขียน หัวเรื่องย่อยบางหัวเรื่องก็สามารถใช้เป็นหัวเรื่องใหญ่ได้ 3.2 การใช้หัวเรื่อง (Subject heading)
  • 13. 3.3 การใช้เทคนิคการตัดปลายคา (Truncation) การค้นคืนสารสนเทศบางครั้งต้องการใช้คาศัพท์ที่มีรูปต่างกัน จากรากศัพท์ เดียวกัน เพื่อให้ได้สารสนเทศครบถ้วน เช่น ต้องการค้นเกี่ยวกับเรื่อง LIBRA ก็ต้องค้นคาที่ เกี่ยวข้อง เช่น LIBRA RAIN,LIBRARY หรือ LIBRARIES การพิมพ์ทุกคาจะเสียเวลา จึงมี วิธีการตัดปลายคา โดยใช้เครื่องหมาย ? แทนตัวอักษรต่อท้ายอื่น ระบบจะค้นคาที่ขึ้นต้นด้วย คาดังกล่าวที่ต่อท้ายด้วยอักขระอื่นๆ เท่าที่มีในดรรชนี
  • 14. เป็นเทคนิคการค้นคืนที่ใช้สาหรับสร้างความสัมพันธ์ ระหว่างคาและแนวความคิด ต่างๆโดยตัวเชื่อม(Logical Operators) ระหว่างคาที่เป็นแนวความคิด ตัวเชื่อมตรรกะที่ ใช้ในการค้นคืนสารสนเทศมี 3 ประเภท คือ OR AND และ NOT 1) ตัวเชื่อม หรือ (OR) เป็นการเชื่อมคาค้นตั้งแต่ 2 คาขึ้นไป โดยที่ผลการค้นคืนจะ ปรากฏคาใดคาหนึ่ง หรือคาทั้งสองในรายการผลการค้นคืน ตัวอย่างเช่น เทคโนโลยี OR สารสนเทศผลการค้นคืน จะได้สารสนเทศที่มีคาศัพท์คาใดคาหนึ่ง หรือทั้ง 2 คา ซึ่งมี จานวนมากขึ้น 3.4 การใช้ ตรรกะแบบบูลีน (Boolean Logic)
  • 15.  2) ตัวเชื่อม และ (AND) เป็นการเชื่อมคาค้นตั้งแต่สองคาขึ้นไป โดยผลการค้น ต้องปรากฏคาทั้ง 2 ในรายการผลการค้นคืน 3) ตัวเขื่อม ไม่ (NOT) เป็นการเชื่อมคาค้นตั้งแต่ 2 คาขึ้นไป โดยที่ผลการค้น คืนจะปรากฏคาเพียงคาเดียวเท่านั้น และไม่ต้องการให้ปรากฏคาหลังในรายการผล การค้นคืน
  • 16.  เป็นเทคนิคการค้นคืนที่ใช้จากัดคาค้น ช่วยไห้สามารถจากัดวงการสืบค้นให้ได้ตรง กับความต้องการมากที่สุด ซึ่งเทคนิคการค้นคืนที่ใช้จะจากัดการสืบค้นด้านใดนั้น ขึ้นอยู่กับโปรแกรมส่วนใหญ่สามารถจากัดการค้นคืนจากประเภทของทรัพยากร สารสนเทศ จากแหล่งสารสนเทศ การจากัดภาษาของสารสนเทศ การจากัดประเภท ของผลการสืบค้น เป็นต้น เนื่องจากสารสนเทศที่เก็บรวบรวมไว้มีจานวนมากเช่น จากัดสถานที่ จากัดภาษา หรือ จากัดปีของสารสนเทศ ดังตัวอย่างต่อไปนี้ 3.5 การจากัดคาค้น(Limit Search)
  • 17. การสืบค้นสารสนเทศจากแหล่งข้อมูลและสารสนเทศบนอินเตอร์เน็ตเป็น แหล่งข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ที่สาคัญและใหญ่ที่สุด มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ดังนั้นในการค้นข้อมูลสารสนเทศบนอินเตอร์เน็ต ผู้ค้นที่จะนาข้อมูลและสารสนเทศไปใช้ ควรตั้งวัตถุประสงค์การค้นที่ชัดเจน กาหนดประเภทของเครื่องมือหรือโปรแกรม เพื่อให้ผล การค้นคืนให้เหมาะสมมีปริมาณที่ไม่มากเกินไป ตรงตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ และ ความน่าเชื่อถือมากที่สุด การสืบค้นสารสนเทศบนอินเตอร์เน็ตแบ่งประเภทได้ดังนี้ 4.1 การสืบค้นข้อความในอินเทอร์เน็ต การสืบค้นสารสนเทศประเภทข้อความในอินเทอร์เน็ตสามารถดาเนินการได้ จากทุกมุมโลก โดยผ่านเว็บไซต์ของผู้ผลิต หรือผู้จาหน่ายฐานข้อมูล โดยผู้ใช้สามารถค้น คืนข้อความ (Text Retrieval) ได้จากฐานข้อมูล ดังรายเอียดต่อไปนี้ 4.การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศบนอินเตอร์เน็ต
  • 18. 1) วารสารอิเล็กทรอนิกส์ (E-Journal) เป็นสื่อรูปแบบหนึ่งที่เผยแพร่เป็น ฉบับต่อเนื่องมีกาหนดออกที่แน่นอนและเสนอข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัย มีบริการฐานข้อมูล วารสารอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อการศึกษาค้นคว้าเชิงวิชาการทาให้เกิดประโยชน์ในการเรียน การสอน 2)หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) เป็นหนังสือที่สร้างขึ้นด้วยโปรแกรม คอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถอ่านเอกสารผ่านทางหน้า จอคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แบบพกพาอื่นๆได้ ทั้งในระบบออฟไลน์และ ออนไลน์
  • 19. 3) วิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Thesis) เป็นฐานข้อมูล วิทยานิพนธ์ งานวิจัยและบทความวารสาร ที่มหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาจัดทาขึ้นเพื่อให้ บริการค้นหาวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์หรืองานวิจัยอิเล็กทรอนิกส์ 4) ระบบโอแพ็ก (Online Public Access Catalog: OPAC) เป็นฐานข้อมูล รายการทรัพยากรสารสนเทศของสถาบันบริการสารสนเทศผ่านทางอินเตอร์เน็ต ด้วย โปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติ ซึ่งเป็นโปรแกรมสาเร็จรูปได้แก่ VTLS,WEB,OPAC เป็นต้น หรือสถาบันอาจพัฒนาขึ้นเอง
  • 20. 4) เวิลด์ไวด์เว็บ(World Wide Wed: WWW) เป็นฐานข้อมูลทั่วไปใน อินเตอร์เน็ตที่บริการบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ที่มีข้อมูลและสารสนเทศอยู่เป็นจานวนมาก ซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ - การค้นคืนข้อมูลโดยการจัดหมวดหมู่ (Wed Directory) เป็นการค้นคืน โดยการเลือกจากรายชื่อที่ทางเว็บไซต์ได้รวบรวมและจัดหมวดหมู่เอาไว้แล้ว เว็บไซต์ที่มี การค้นคืนแบบนี้ได้แก่ Sanook, Saimguru, Excite เป็นต้น - การค้นคืนข้อมูลโดยใช้โปรแกรมค้นหา (Search Engine) เป็นการค้น คืนข้อมูล หรือรายละเอียดบนอินเตอร์เน็ตจากคาสาคัญ (Keyword) ที่กาหนดโดยจะ รวบรวมข้อมูลทั้งที่เป็นรายชื่อและรายละเอียดบนเครือข่ายโดยอัตโนมัติ เว็บไซต์ที่มีการ ค้นคืนแบบนี้ได้แก่ Google, Yahoo, Altavista เป็นต้น
  • 21. 4.2 การสืบค้นรูปภาพในอินเตอร์เน็ต การสืบค้นรูปภาพนอกจากคาค้นแล้วยังสามารถค้นจากรูปภาพได้ด้วย เช่นการค้น คืนในเว็บไซต์ Google สามาค้นหาเนื้อหาทุกประเภทที่เกี่ยวข้องกับแต่ละรูปภาพ ซึ่งจะพบ พบรูปภาพคล้ายกันหรือเกี่ยวข้องกัน เว็บไซต์ที่ให้บริการค้นคืนรูปภาพในอินเตอร์เน็ต มีดัง ดังตารางต่อไปนี้
  • 22. 4.3 การสืบค้นเสียงในอินเตอร์เน็ต การค้นคืนเสียงสามารถค้นได้ด้วยคาค้น และค้นคืนเสียงจากเสียง อาจจะเป็น เสียงพูด เสียงดนตรี หรือเสียงเพลง การค้นคืนเสียงด้วยคาค้นผู้ใช้สามารถค้นไฟล์เสียงโดยการ โดยการใส่คาค้นเข้าไปในช่องค้นหา เหมือนกับการค้นข้อมูลทั่วไปในอินเตอร์เน็ต ส่วนการค้น ค้นคืนเสียงด้วยเสียงนั้นผู้ใช้สามารถค้นเสียงได้ด้วยการคลิกปุ่มรูปไมโครโฟนแล้วพูดหรือ บันทึกเสียงที่ต้องการค้นหาเข้าไป ระบบก็จะทาการค้นคืนเสียงที่ตรงหรือใกล้เคียงมากที่สุด ที่สุด เว็บไซต์ที่ให้บริการค้นคืนเสียงในอินเตอร์เน็ต มีดังตารางต่อไปนี้
  • 23. 4.4 การสืบค้นวิดีโอในอินเตอร์เน็ต การค้นคืนวิดีโอในอินเตอร์เน็ตสามารถค้นได้ด้วยคาค้น เหมือนกับการค้นข้อมูล ทั่วไปในอินเตอร์เน็ต เว็บไซต์ที่นิยมใช้ในการค้นคืนวิดีโอมากที่สุดในปัจจุบัน คือ YouTube.com สามารถค้นหาไฟล์วิดีโอมากมายอินเตอร์เน็ต โดย YouTube สามารถค้นหา ค้นหาไฟล์วิดีโอจาหกเว็บไซต์ทั่วโลก และจัดกลุ่มให้เป็นระเบียบ ถ้าหากผู้ใช้ต้องการดาวน์โหลด ดาวน์โหลด ต้องใช้เว็บไซต์ที่บริการดาวน์โหลด เช่น YouTube Downloader, Keepvid.com, Keepvid.com, YouChoob และ Hash YouTube Downloader เป็นต้น เว็บไซต์ที่ให้บริการ ให้บริการค้นคืนวิดีโอในอินเตอร์เน็ต มีดังตารางต่อไปนี้
  • 24. การประเมินผลการค้นคืนสารสนเทศ เป็นการประเมินระบบการทางานว่าเป็นไปตาม วัตถุประสงค์หรือไม่ รวมทั้งค้นหาแนวทางในการแก้ไขปรับปรุงที่จะทาให้ระบบค้นคืนสารสนเทศ สารสนเทศประสบความสาเร็จ ตลอดจนปรับปรุงเทคนิค สื่อหรือตัวกลางที่ใช้บรรลุวัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้โดยวัดลักษณะการทางานของระบบด้าน ประสิทธิภาพ (Efficiency) 5.การประเมินผลระบบการค้นคืนสารสนเทศ
  • 25. 5.1 การวัดประสิทธิภาพของระบบการค้นคืนสารสนเทศ การวัดประสิทธิภาพของระบบการค้นคืนสารสนเทศนั้น จะพิจารณาจาก ค่าอัตรา การค้นคืน (Recall Ratio) และอัตราความถูกต้อง (PrecisionRatio) สามารถคานวณได้ดังนี้ ในการค้นคืนสารสนเทศเรื่องหนึ่ง ผลการค้นคืนจะประกอบด้วย สารสนเทศดังนี้ 1) สารสนเทศที่ค้นคืนได้และเกี่ยวข้องกับเรื่องที่ต้องการ 2) สารสนเทศที่ค้นคืนได้แต่ไม่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ต้องการ 3) สารสนเทศที่ค้นคืนมาไม่ได้แต่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ต้องการ 4) สารสนเทศที่ไม่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ต้องการและไม่ถูกค้นคืนขึ้นมา
  • 26. 4.2 การสืบค้นรูปภาพในอินเตอร์เน็ต การสืบค้นรูปภาพนอกจากคาค้นแล้วยังสามารถค้นจากรูปภาพได้ด้วย เช่นการค้น คืนในเว็บไซต์ Google สามาค้นหาเนื้อหาทุกประเภทที่เกี่ยวข้องกับแต่ละรูปภาพ ซึ่งจะพบ พบรูปภาพคล้ายกันหรือเกี่ยวข้องกัน เว็บไซต์ที่ให้บริการค้นคืนรูปภาพในอินเตอร์เน็ต มีดัง ดังตารางต่อไปนี้
  • 27. ในการวิจัยด้านประสิทธิภาพของการค้นคืนสารสนเทศ ถ้าจานวน B และ C เท่ากับ 0 หมายถึง ประสิทธิภาพสูงสุด แต่ในความเป็นจริง ถ้าพบว่าจานวน B และ C ยิ่งมีค่าต่า เท่าใด แสดงว่าการค้นคืนนั้นยิ่งมีประสิทธิภาพ จากตารางสมารถคานวณอัตราการค้นคืน และ อัตราความถูกต้องได้ดังนี้ ตัวอย่าง การวัดประสิทธิภาพของระบบการค้นคืนสารสนเทศ ในการค้นคืนสารสนเทศ ได้สารสนเทศออกมาทั้งหมด 50 รายการ ซึ่งตรงกับความ ต้องการ 30 รายการ แต่มีสารสนเทศที่ค้นคืนไม่ได้ แต่ตรงกับที่เราต้องการอีก 10 รายการ อยู่ในฐานข้อมูล ซึ่งมีสารสนเทศอยู่ทั้งหมด 500 รายการ จงคานวณหาอัตรา การค้นคืน อัตราความถูกต้อง ของการค้นคืนสารสนเทศ