SlideShare a Scribd company logo
1 / 7
คําปรารภจากคณะผู้แปล
หนังสือ On the Origin of Species เป็นหนึ)งในหนังสือสําคัญของโลก
ที)ทุกคนควรจะได้อานอยางน้อยสักครั5งในชีวต่ ่ ิ !
เหตุใดจึงเป็นเชนนั5น่
2 / 7
มีผู้คนและหน่วยงานจํานวนมากทัวโลก กล่าวถึงความสําคัญและความโดดเด่นของ
หนังสือเล่มนี" รวมถึงแนวคิดทีปรากฏในหนังสือเล่มนี" เช่น นิตยสารดิสคัฟเวอร์ (Discover) ฉบับเดือน
ธันวาคม ๒๕๔๙ ยกย่องให้หนังสือเล่มนี"เป็น ๑ ใน ๒๕ หนังสือวิทยาศาสตร์ทียิงใหญ่ทีสุดตลอดกาล
ขณะทีเว็บไซต์ Online College Course บรรจุหนังสือนี"ไว้ในรายชือ "หนังสือ ๑๐๐ เล่มสําคัญทีควรอ่าน
ขณะอยู่มหาวิทยาลัย" รวมอยู่กับหนังสือสําคัญเล่มอืนๆ ทั"งแนววิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ
เช่นเดียวกับทีเว็บไซต์ OEDB (Open Educational Database) ทีจัดให้เป็น ๑ ใน ๑๐๐ หนังสือ
วิทยาศาสตร์ยอดนิยมทียิงใหญ่ทีสุดตลอดกาล
นักอ่าน นักเขียน และนักคิดคนสําคัญหลายๆ คน ต่างก็ยกย่องให้หนังสือเล่มนี"เป็น
หนังสือสําคัญทีมีผลต่อรากฐานการคิดของชาวตะวันตกและเป็น "หนังสือทีเปลียนโลก"
แน่นอนว่า นิตยสารวิทยาศาสตร์ย่อมต้องยกย่องหนังสือและแนวคิดด้านวิวัฒนาการ
อย่างยิง ดังเห็นได้จาก นิตยสารไซแอนติฟิกอเมริกัน (Scientific American) ฉบับพิเศษฉลองครบ 2
ศตวรรษปีเกิดของดาร์วินในเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๒ ระบุว่า "เรืองวิวัฒนาการเป็นแนวคิดทีทรงพลัง
ทีสุดทางวิทยาศาสตร์"
ในทํานองเดียวกัน ชาร์ลส์ ดาร์วิน ผู้เขียนหนังสือเล่มนี"ก็ได้รับการยกย่องเป็นอย่างสูง
ช่องเคเบิลและดาวเทียมในเครือข่ายเอแอนด์อี (A&E) ของประเทศสหรัฐอเมริกา เลือก
ดาร์วินให้เป็น ๑ ใน ๑๐๐ คนทีทรงอิทธิพลทีสุดในรอบสหัสวรรษ สําหรับชุดสารคดีชีวประวัติบุคคล
สําคัญของทางช่อง ทํานองเดียวกัน วารสารเนเจอร์ (Nature) ของประเทศอังกฤษ ก็ยกย่องดาร์วินไว้ว่า
"ในช่วงสองศตวรรษ ไม่มีนักวิทยาศาสตร์คนใดเลยทีเทียบกับดาร์วินได้ หากพิจารณาในแง่ผลกระทบ
ต่อวิทยาศาสตร์ การเมือง ศาสนา ปรัชญา และศิลปะ"
มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ทีดาร์วินเคยเข้าศึกษา ถึงกับมีโครงการรวบรวมผลงานและ
เอกสารทีเกียวข้องกับชาร์ลส์ ดาร์วิน ไว้ให้ครบถ้วนในเว็บไซต์ดาร์วินออนไลน์ (Darwin Online)
เว็บไซต์นี"ยกย่องดาร์วินไว้ว่า "น่าจะไม่มีใครทีมีอิทธิพลเรืองความรู้เกียวกับชีวิตบนโลก มากเท่ากับ
ชาร์ลส์ ดาร์วิน อีกแล้ว"
หนังสือ On the Origin of Species จึงถือเป็นผลงานชิ"นโบว์แดงของนักวิทยาศาสตร์
คนสําคัญทีคนทัวไปอาจอ่านทําความเข้าใจได้ไม่ยากนัก หากเทียบกับผลงานของนักวิทยาศาสตร์ทีโด่ง
ดังและผู้คนรู้จักกันอย่างกว้างขวางระดับใกล้เคียงกัน ไม่ว่าจะเป็น กาลิเลโอ กาลิเลอี ไอแซก นิวตัน
หรือ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ฯลฯ ซึงมักจะมีเนื"อหาเฉพาะทาง บางครั"งก็เต็มไปด้วยสูตรและสมการ จนคน
ทัวไปไม่อาจเข้าใจได้เองโดยง่าย
3 / 7
จึงไม่น่าแปลกใจทีจะกล่าวว่า ทุกคนควรจะได้อ่านหนังสือเล่มนี"อย่างน้อยสักครั"งใน
ชีวิต !
น่าเสียดายว่าแม้จะผ่านกาลเวลามานานกว่าศตวรรษกึงแล้ว ก็ยังไม่มีผู้แปลหนังสือ
On the Origin of Species ของชาร์ลส์ ดาร์วิน นี"ออกมาเป็นภาษาไทยเลย เมือถึงวาระครบรอบปีสอง
ศตวรรษปีเกิดของดาร์วิน ใน พ.ศ. ๒๕๕๒ ซึงก็ตรงกับการครบรอบศตวรรษกึงของหนังสือนี"ด้วย ทาง
คณะผู้แปลจึงเห็นพ้องต้องกันว่า ควรหาทางแปลหนังสือสําคัญเล่มนี"ออกเป็นภาษาไทยเสียที
แรกเริมเมือคณะผู้แปลหนังสือ On the Origin of Species มาประชุมปรึกษาหารือ
แนวทางในการแปลร่วมกัน พวกเราตระหนักถึงความยากลําบากในการแปลหนังสือคลาสสิก ซึง
ทรงคุณค่าทั"งต่อวงการวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์เล่มนี" ไม่ว่าจะเป็นเรืองสํานวนหรือสไตล์การเขียน
ภาษาอังกฤษในบริบทยุควิกตอเรียกว่า ๑๕๐ ปีก่อน และความลึกซึ"งของเนื"อหาใจความ เมือเริมลงมือ
แปลและได้หารือกันเป็นระยะๆ นั"น ก็พบว่ามีอุปสรรคอืนๆ เพิมเติมมาอีกมาก โดยเฉพาะหลัก
ภาษาไทยทีเข้ามาเกียวข้องกับคําศัพท์เชิงวิชาการต่างๆ ด้วยความตั"งใจอย่างเต็มทีว่าจะทําให้ฉบับ
แปลภาษาไทยของ "หนังสือเปลียนโลก" เล่มนี" มีความถูกต้องทางวิชาการ โดยทียังคงไว้ซึงอรรถรสและ
ความเฉียบคมในการใช้ภาษาของดาร์วินให้มากทีสุด คณะผู้แปลจึงขอแจ้งโดยย่อๆ ให้ผู้อ่านได้รับ
ทราบถึงข้อสรุปร่วม และขอชี"แจงประเด็นสําคัญต่างๆ บางประการของการแปลดังต่อไปนี"
ต้นฉบับที)ใช้ในการแปล
ต้นฉบับหนังสือ On the Origin of Species by Means of Natural Selection, or the
Preservation of Favoured Races in the Struggle for Life ทีใช้ในการแปลครั"งนี" เป็นฉบับตีพิมพ์
ครั"งที 1 ใน พ.ศ. ๒๔๐๒ ซึงดึงมาโดยครบถ้วนทุกคําจากเว็บไซต์ darwin-online.org.uk การทีคณะ
ผู้แปลตัดสินใจเลือกใช้ฉบับตีพิมพ์ครั"งที ๑ นี" ถึงแม้ว่าชาร์ลส์ ดาร์วิน ได้ปรับปรุงแก้ไขหนังสือ On the
Origin of Species ของเขาใหม่ทุกครั"งทีตีพิมพ์ รวมแล้วถึง ๖ ครั"งด้วยกัน
เหตุผลสําคัญคือ นอกจากเป็นการเน้นยํ"าถึงความสําคัญทางประวัติศาสตร์ของช่วงเวล
ทีมีการตีพิมพ์หนังสือเล่มนี"ออกมาเป็น ครั"งแรกในโลกแล้ว ยังเป็นการเลือกใช้ต้นฉบับทีสะท้อนถึง
ความนึกคิดทีแท้จริงของดาร์วินไว้อย่างตรงไปตรงมาทีสุด มีงานวิจัยภายหลังทียืนยันว่าในการตีพิมพ์
ครั"งหลัง ๆ นั"น ชาร์ลส์ ดาร์วิน ไม่ได้แค่ปรับแก้สํานวนและถ้อยคําให้เข้าใจได้ง่ายขึ"นมากเท่านั"น แต่
เขายังได้แก้ไขเนื"อหาในหลายส่วน (มีทั"งการตัดออกบางส่วนและการเพิมเติมบางส่วน) โดยเฉพาะส่วนที
ถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่า ขัดแย้งกับความเชือทางศาสนาในขณะนั"น จนมีความเข้มข้นน้อยลงไปด้วย
4 / 7
รูปแบบประโยค และการอ้างถึงเนื5อหาอื)น
ถึงแม้ว่าหนังสือ On the Origin of Species นี"จะประสบความสําเร็จอย่างสูงในการจัด
จําหน่ายทั"งในอดีตจนถึงปจั จุบันในต่างประเทศ อันเนืองมาจากการเขียนด้วยภาษาอังกฤษทัวไป ไม่ใช่
ภาษาวิชาการทีเต็มไปด้วยศัพท์แสงเข้าใจยาก หรือเต็มไปด้วยสูตรและสมการ แต่หลายครั"งทีผู้อ่าน
อาจจะพบว่า แม้ว่าชาร์ลส์ ดาร์วิน จะอธิบายความได้อย่างจับใจมาก แต่ก็มีลักษณะเฉพาะตัวสูงคือ มัก
อธิบายความเพิมเติมเนื"อหาส่วนสําคัญทีต้องการเน้นยํ"า โดยการเขียนซ้อนกันเป็นชั"นๆ อย่างยืดยาว
แม้เพียงประโยคเดียวก็อาจยาวถึง ๓-๔ บรรทัด หรือแม้แต่เกือบทั"งย่อหน้าก็มี !
โดยเขาอาศัยเครืองหมายจุลภาค ( , ) เชือมต่อส่วนต่างๆ ของประโยคเข้าด้วยกัน ทํา
ให้การแปลให้ "คงรูปประโยค" แบบเดียวกับในภาษาอังกฤษออกมาเป็นภาษาไทยนั"น เป็นเรืองทีทําได้
ยากมาก หรือแทบจะเป็นไปไม่ได้เลยในบางกรณี จึงต้องอาศัยการจัดเรียงแบ่งรูปประโยคใหม่ออกเป็น
ส่วนย่อยๆ หลายๆ ประโยค เพือให้อ่านเข้าใจได้ง่ายยิงขึ"น
สําหรับผู้อ่านทีมีข้อสงสัยในเนื"อหาหรือวิธีการแปล จึงควรลองอ่านเปรียบเทียบกับ
ต้นฉบับหนังสือนี"ในภาษาอังกฤษ โดยสามารถเปิดอ่านหรือดาวน์โหลดได้โดยตรงจากเว็บไซต์ดาร์วิ
นออนไลน์ หรืออ่านจากหนังสือนี"ฉบับทีสํานักพิมพ์ต่างๆ ตีพิมพ์ออกจําหน่าย ก็จะได้ความชัดเจนและ
มีส่วนช่วยเพิมอรรถรสยิงขึ"นด้วย
ความสําเร็จอีกประการหนึงของหนังสือ On the Origin of Species ยังเกิดขึ"นจาก
ความอุตสาหะอย่างยิงยวดของชาร์ลส์ ดาร์วิน ในการรวบรวมหลักฐานและผลการทดลองมากมายอย่าง
น่าอัศจรรย์ใจจากทัวโลก เพือใช้สนับสนุนแนวคิดและทฤษฎีของเขา จนชวนให้ผู้อ่านคิดเห็นคล้อยตาม
ได้ไม่ยาก แต่หลายครั"งเช่นกันทีผู้อ่านจะพบว่า ดาร์วินกล่าวอ้างถึงข้อสังเกต หลักฐาน และงานวิจัย
ของบุคคลอืน โดยไม่ระบุเอกสารอ้างอิงไว้อย่างรัดกุม ดังเอกสารงานวิจัยทัวไปทั"งในยุคนั"นและยุค
ปจจุบันพึงกระทําั
สาเหตุสําคัญอาจเป็นว่า ชาร์ลส์ ดาร์วิน ตั"งใจเขียนหนังสือเล่มนี"ให้เป็นเพียงบันทึกสั"นๆ
ดังปรากฏว่าเขาตั"งใจจะใส่คําว่า บทคัดย่อ (abstract) ไว้ในชือหนังสือด้วย แต่จอห์น เมอร์เรย์ ผู้จัดพิมพ์
หนังสือเล่มนี"เกลี"ยกล่อมจนเขายอมเปลียนใจในทีสุด เพราะหนังสือมีความยาวหลายร้อยหน้า ดาร์วิน
ตั"งใจเขียนให้หนังสือเล่มนี"เป็นฉบับย่อ ทีรวบรวมความนึกคิดและหลักฐานต่างๆ ของเขาจากงานวิจัย
ลับๆ ส่วนตัวทีทําต่อเนืองมาราว ๒๐ ปี และตั"งใจจะทําหนังสือเล่มใหญ่ทีสมบูรณ์กว่าออกมาในภายหลัง
เพืออธิบายประเด็นต่างๆ ให้สมบูรณ์ยิงขึ"น น่าเสียดายว่าสุดท้ายแล้ว ดาร์วินก็ไม่ได้มีโอกาสเขียน
หนังสือเล่มสมบูรณ์ดังกล่าวออกมา
5 / 7
ศัพท์บัญญัตทางวทยาศาสตร์และคําทับศัพท์ิ ิ
ในการแปลหนังสือ On the Origin of Species หรือ กําเนดสปีชีส์ิ ในภาคภาษาไทย
นี" คณะผู้แปลถือหลักในการใช้คําศัพท์วิชาการตามทีราชบัณฑิตยสถานบัญญัติไว้ให้ได้มากทีสุด ไม่ว่า
จะเป็นคําศัพท์วิทยาศาสตร์ทัวไปหรือคําศัพท์เฉพาะทาง เช่น ศัพท์พฤกษศาสตร์ หรือศัพท์ธรณีวิทยา
เป็นต้น เพือให้ได้มาตรฐานเดียวกันกับเอกสารแปลทางวิชาการอืนๆ โดยจะเขียนคําภาษาอังกฤษ
กํากับไว้ในวงเล็บ เมือแรกปรากฏคําศัพท์นั"นๆ เพือให้ผู้อ่านทราบถึงทีมาต้นเค้าทีมาของคําศัพท์คํา
นั"นๆ ในภาษาอังกฤษ
กระนั"นก็ตาม อาจมีบางครั"งทีคณะผู้แปลมีความจําเป็นทีจะต้องใช้คําศัพท์ทีไม่ใช่ศัพท์
บัญญัติของราชบัณฑิตยสถาน หรืออาจจะต้องเขียนคําทับศัพท์เป็นภาษาไทยโดยตรง โดยอาศัย
หลักการทับศัพท์ตามแนวทางของราชบัณฑิตยสถาน เพือให้ผู้อ่านมีความเข้าใจในเนื"อหาของหนังสือ
ได้ชัดเจนขึ"น และตรงตามความหมายทีดาร์วินต้องการจะสืออีกด้วย
ตัวอย่างสําคัญในกรณีนี"คือ การใช้คําว่า “สปีชีส์” แทนคําว่า species แทนทีจะใช้คําว่า
“ชนิดพันธุ์” หรือ “ชนิด” ตามทีปรากฏในศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน เนืองจากคณะผู้แปลมี
ความเห็นร่วมกันว่า คําว่า “สปีชีส์” เป็นคําสําคัญและเป็นหัวใจหลักของการอภิปรายในทุกๆ บทของ
หนังสือเล่มนี" รวมไปจนถึงในการโต้แย้งเกียวกับประเด็นวิวัฒนาการของสิงมีชีวิตทียังคงดําเนินมา
จนถึงปัจจุบัน และไม่มีทีใดในหนังสือนี"อ้างถึงนิยามทีชัดเจนครอบคลุมไว้เลย จึงจําเป็นทีจะต้อง
นําเสนอให้ผู้อ่านได้คุ้นเคย จนเห็นความสําคัญ และเข้าใจนัยยะของคําๆ นี"จากตัวอย่างต่างๆ ทีดาร์วินย
กขึ"นมาอภิปรายไว้ตลอดทัวทั"งเล่ม และเพือไม่ให้สับสนกับการใช้คําว่า “ชนิด” ในกรณีอืนๆ ในเนื"อหา
ส่วนต่างๆ ของหนังสือนี"
ส่วนคําศัพท์อืนๆ ในภาษาอังกฤษทีใช้ในการบอกระดับของหมวดหมู่ในระบบ
อนุกรมวิธานของสิงมีชีวิตนั"น คณะผู้แปลเลือกใช้ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถานให้มากทีสุด เช่น ใช้
วงศ์ แทน family ใช้ สกุล แทน genus และใช้ สกุลย่อย แทน subgenus รวมไปถึงใช้ พันธุ์ แทน
variety เหตุทีไม่ใช้การเขียนทับศัพท์ variety ทั"งทีเป็นหนึงในคําศัพท์สําคัญของเนื"อหา ซึงเชือมโยง
อย่างใกล้ชิดกับคําว่า สปีชีส์ เนืองจากว่าคําศัพท์นี" เป็นคําศัพท์ทีไม่คุ้นเคยกันนักสําหรับคนไทย
นอกจากนี" คําศัพท์นี"ยังมีความหมายอืนทีคุ้นเคยกันมากกว่าในภาษาไทยคือ หมายถึงรายการบันเทิง
ทางโทรทัศน์ทีมีรูปแบบหลากหลาย
6 / 7
ชื)อวทยาศาสตร์ิ ชื)อสกุล และชื)อสามัญของสงมีชีวติ) ิ
สําหรับการเรียกชือสิงมีชีวิตชนิดต่างๆ ในหนังสือ กําเนดสปีชีส์ิ ชาร์ลส์ ดาร์วิน ไม่ได้
เขียนชือวิทยาศาสตร์ (scientific name) ตามระบบสากลของการตั"งชือสัตว์และพืช กล่าวคือแทนทีจะ
เขียนชือ สปีชีส์ของ "นกพิราบปา่ " ด้วยตัวอักษรตัวเอียงเป็น Columba livia หรือเป็นตัวอักษรตัวตรงมี
เส้นใต้กํากับแยกชือสกุลและชือสปีชีส์ออกจากกันเป็น Columba livia แต่เขากลับใช้เป็น Columba livia
(ตัวอักษรตัวตรงไม่มีเส้นใต้กํากับ) ดังนั"น เพือทีไม่ให้ผู้อ่านเกิดสับสนในการเรียกชือสิงมีชีวิตในหนังสือ
ฉบับภาษาไทยนี" ทางคณะผู้แปลจึงเลือกใช้วิธีการเขียนชือวิทยาศาสตร์และชือสกุลเป็นตัวอักษรตัว
เอียงไม่ขีดเส้นใต้ ตามแบบทีนิยมใช้ในปจจุบัน เช่นั Columba livia ดังตัวอย่างข้างต้น
ส่วนชือสามัญ (common name) รวมไปจนถึงชือวงศ์ และชือสกุลของสิงมีชีวิตใน
หนังสือเล่มนี" ถ้าหากสิงมีชีวิตนั"นมีอยู่ในประเทศไทย หรือมีตัวแทนของกลุ่มสิงมีชีวิตนั"นทีรู้จักกันดีใน
หมู่คนไทย คณะผู้แปลจะใช้ชือในภาษาไทยนั"น แทนทีจะเขียนคําทับศัพท์ภาษาอังกฤษ เช่น คําว่า
Leguminosae จะใช้ว่า พืชวงศ์ถัว แทนทีจะเขียนว่า พืชวงศ์เลกูมิโนซี หรือ พืชวงศ์เลกูม เป็นต้น
ชื)อบุคคลและสถานที)
อุปสรรคสําคัญหนึงในการแปลหนังสือเล่มนี" คือ ชือของบุคคลและสถานทีต่างๆ ที
ชาร์ลส์ ดาร์วิน ได้อ้างถึงหรือหยิบยกขึ"นมาประกอบในเนื"อหาในหนังสือ ซึงมีหลายคําทีไม่ได้เป็นเพียง
ชือบุคคลหรือสถานทีทีเป็นภาษาอังกฤษเท่านั"น แต่ยังมีภาษาฝรังเศส เยอรมัน สเปน หรือแม้แต่ภาษา
ละตินอีกด้วย คณะผู้แปลพยายามหาเสียงอ่านชือบุคคลและสถานทีดังกล่าว โดยใช้ทั"งการสอบถามผู้รู้
หรือเจ้าของภาษา และใช้การค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิงจากเอกสารอ้างอิงหรือ
เว็บไซต์มาตรฐานต่างๆ แต่คณะผู้แปลเองมีความตระหนักเช่นกันถึงความผิดพลาดทีอาจจะเกิดขึ"นได้
จึงขออภัยมาล่วงหน้าด้วย
คณะผู้แปลขอขอบพระคุณ ศ. ดร. วิสุทธิ ใบไม้r เป็นอย่างสูงทีกรุณาเขียนคํานิยมมอบ
ให้สําหรับการตีพิมพ์หนังสือเล่มนี" ขอขอบคุณ คุณสุวัฒน์ อัศวไชยชาญ และคุณปณต ไกรโรจนานันท์
ทีรับเป็นบรรณาธิการหนังสือคลาสสิกเล่มสําคัญนี" รวมไปถึงทีมงานจากสํานักพิมพ์สารคดีทุกๆ ท่าน ที
มีส่วนเกียวข้องในขั"นตอนต่างๆ ซึงไม่อาจกล่าวนามได้หมด สุดท้าย ขอขอบคุณผู้อ่านทุกท่านที
สนับสนุนหนังสือ กําเนดสปีชีส์ิ นี"
7 / 7
แม้คณะผู้แปลพอมีความรู้ในวิทยาศาสตร์สาขาต่างๆ ของชีววิทยากันเป็นพื"นฐาน และ
มีความตั"งใจเป็นอย่างมากกับการแปลหนังสือเล่มนี" แต่ด้วยข้อจํากัดหลายๆ อย่าง หากท่านผู้อ่านพบ
จุดผิดพลาดคลาดเคลือนในหนังสือ กําเนดสปีชีส์ิ ฉบับภาษาไทยนี" ขอได้โปรดแจ้งกลับมาเพือจะได้
แก้ไขให้ถูกต้องมากยิงขึ"นในการตีพิมพ์ครั"งต่อๆ ไป
คณะผู้แปลหวังว่าการมีหนังสือ กําเนดสปี ชีส์ิ ทีเป็นภาคภาษาไทยของ On the
Origin of Species ของชาร์ลส์ ดาร์วินนี" จะช่วยเติมเต็มช่องว่างทางด้านความรู้ทางวิทยาศาสตร์ของ
คนไทย ทําให้คนไทยสามารถเข้าถึงผลงานระดับมาสเตอร์พีซด้านวิทยาศาสตร์ของโลกด้วยตัวเอง
ได้มากยิงขึ"น ช่วยให้สามารถซาบซึ"งกับแนวคิดด้านวิวัฒนาการในหนังสือนี" และพิสูจน์ได้ด้วยตาตัวเอง
ว่า เหตุใดหนังสือนี"จึงได้สมญาว่าเป็น "หนังสือทีเปลียนโลก" และเหตุใด ชาร์ลส์ ดาร์วิน นักวิทยาศาสตร์
ผู้ประพันธ์หนังสือเล่มนี" จึงได้สมญาว่าเป็น "นักวิทยาศาสตร์ผู้ทรงอิทธิพลมากทีสุดในรอบสองศตวรรษ"
คณะผู้แปลหนังสือ
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
รายนามคณะผู้แปล
ดร.นําชัย ชีววิวรรธน์
ดร. อุบลศรี เลิศสกุลพาณิช
รองศาสตราจารย์ ดร. จันทร์เพ็ญ จันทร์เจ้า
ผศ.ดร.ต่อศักดิ สีr ลานันท์
อ.ดร.ณัฐพล อ่อนปาน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศศิวิมล แสวงผล
รองศาสตราจารย์ ดร. ว่าทีร้อยตรี เจษฎา เด่นดวงบริพันธ์

More Related Content

Viewers also liked

Monera kingdom
Monera kingdomMonera kingdom
Monera kingdom
Pl'nice Destiny
 
การสอนประกอบแผน 4 monera
การสอนประกอบแผน 4 moneraการสอนประกอบแผน 4 monera
การสอนประกอบแผน 4 monera
nazmnazm070838
 
โครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอรา
โครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอราโครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอรา
โครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอรา
supatcha roongruang
 
การจัดจำแนก
การจัดจำแนกการจัดจำแนก
การจัดจำแนกNonglawan Saithong
 
Lab 5 Origin Of Plants
Lab 5 Origin Of PlantsLab 5 Origin Of Plants
Lab 5 Origin Of Plants
ericavanetten
 
Lab 5 Origin Of Plants
Lab 5 Origin Of PlantsLab 5 Origin Of Plants
Lab 5 Origin Of Plants
ericavanetten
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
Thanyamon Chat.
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
Thanyamon Chat.
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชtarcharee1980
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
Min Minho
 
Bryophyte
BryophyteBryophyte
Bryophyte
Marbisha Perdana
 
Bryophytes
BryophytesBryophytes
Bryophytes
Mark Francis Astom
 

Viewers also liked (13)

Monera kingdom
Monera kingdomMonera kingdom
Monera kingdom
 
การสอนประกอบแผน 4 monera
การสอนประกอบแผน 4 moneraการสอนประกอบแผน 4 monera
การสอนประกอบแผน 4 monera
 
โครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอรา
โครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอราโครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอรา
โครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอรา
 
การจัดจำแนก
การจัดจำแนกการจัดจำแนก
การจัดจำแนก
 
Lab 5 Origin Of Plants
Lab 5 Origin Of PlantsLab 5 Origin Of Plants
Lab 5 Origin Of Plants
 
Lab 5 Origin Of Plants
Lab 5 Origin Of PlantsLab 5 Origin Of Plants
Lab 5 Origin Of Plants
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 
Kingdom
KingdomKingdom
Kingdom
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
Bryophyte
BryophyteBryophyte
Bryophyte
 
Bryophytes
BryophytesBryophytes
Bryophytes
 

Similar to Note from translators final-20150416

03 modelof integration+188
03 modelof integration+18803 modelof integration+188
03 modelof integration+188
Prachoom Rangkasikorn
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5keatsunee.b
 
กลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่น
กลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่นกลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่น
กลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่นSilpakorn University
 
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรกิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
kruthai40
 

Similar to Note from translators final-20150416 (7)

03 modelof integration+188
03 modelof integration+18803 modelof integration+188
03 modelof integration+188
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
กลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่น
กลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่นกลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่น
กลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่น
 
Bibliography language
Bibliography languageBibliography language
Bibliography language
 
Mainidea
MainideaMainidea
Mainidea
 
อธิบายนามศัพท์
อธิบายนามศัพท์อธิบายนามศัพท์
อธิบายนามศัพท์
 
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรกิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
 

More from Namchai Chewawiwat

Podcast ep006-spanish flu v covid
Podcast ep006-spanish flu v covidPodcast ep006-spanish flu v covid
Podcast ep006-spanish flu v covid
Namchai Chewawiwat
 
Podcast ep005-flashbulb memory
Podcast ep005-flashbulb memoryPodcast ep005-flashbulb memory
Podcast ep005-flashbulb memory
Namchai Chewawiwat
 
Podcast ep004-covid rapid test
Podcast ep004-covid rapid testPodcast ep004-covid rapid test
Podcast ep004-covid rapid test
Namchai Chewawiwat
 
Podcast ep002-Covid Vaccines and Drugs
Podcast ep002-Covid Vaccines and DrugsPodcast ep002-Covid Vaccines and Drugs
Podcast ep002-Covid Vaccines and Drugs
Namchai Chewawiwat
 
Podcast ep001-covid: natural or engineerd?
Podcast ep001-covid: natural or engineerd?Podcast ep001-covid: natural or engineerd?
Podcast ep001-covid: natural or engineerd?
Namchai Chewawiwat
 
WHO China Joint Mission on Covid-19
WHO China Joint Mission on Covid-19WHO China Joint Mission on Covid-19
WHO China Joint Mission on Covid-19
Namchai Chewawiwat
 
Basic protective measures against the new coronavirus
Basic protective measures against the new coronavirusBasic protective measures against the new coronavirus
Basic protective measures against the new coronavirus
Namchai Chewawiwat
 
Emerging diseases
Emerging diseasesEmerging diseases
Emerging diseases
Namchai Chewawiwat
 
ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ
ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ  ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ
ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ
Namchai Chewawiwat
 
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...
Namchai Chewawiwat
 
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
Namchai Chewawiwat
 
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
Namchai Chewawiwat
 
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
Namchai Chewawiwat
 
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทยโอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
Namchai Chewawiwat
 
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ
Namchai Chewawiwat
 
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย)
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย) การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย)
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย)
Namchai Chewawiwat
 
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO 20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO
Namchai Chewawiwat
 
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums Maker Faire Berlin, Science & Other Museums
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums
Namchai Chewawiwat
 
Sharing Experiences on Books
Sharing Experiences on Books Sharing Experiences on Books
Sharing Experiences on Books
Namchai Chewawiwat
 
ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV
ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV
ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV
Namchai Chewawiwat
 

More from Namchai Chewawiwat (20)

Podcast ep006-spanish flu v covid
Podcast ep006-spanish flu v covidPodcast ep006-spanish flu v covid
Podcast ep006-spanish flu v covid
 
Podcast ep005-flashbulb memory
Podcast ep005-flashbulb memoryPodcast ep005-flashbulb memory
Podcast ep005-flashbulb memory
 
Podcast ep004-covid rapid test
Podcast ep004-covid rapid testPodcast ep004-covid rapid test
Podcast ep004-covid rapid test
 
Podcast ep002-Covid Vaccines and Drugs
Podcast ep002-Covid Vaccines and DrugsPodcast ep002-Covid Vaccines and Drugs
Podcast ep002-Covid Vaccines and Drugs
 
Podcast ep001-covid: natural or engineerd?
Podcast ep001-covid: natural or engineerd?Podcast ep001-covid: natural or engineerd?
Podcast ep001-covid: natural or engineerd?
 
WHO China Joint Mission on Covid-19
WHO China Joint Mission on Covid-19WHO China Joint Mission on Covid-19
WHO China Joint Mission on Covid-19
 
Basic protective measures against the new coronavirus
Basic protective measures against the new coronavirusBasic protective measures against the new coronavirus
Basic protective measures against the new coronavirus
 
Emerging diseases
Emerging diseasesEmerging diseases
Emerging diseases
 
ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ
ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ  ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ
ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ
 
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...
 
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
 
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
 
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
 
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทยโอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
 
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ
 
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย)
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย) การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย)
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย)
 
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO 20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO
 
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums Maker Faire Berlin, Science & Other Museums
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums
 
Sharing Experiences on Books
Sharing Experiences on Books Sharing Experiences on Books
Sharing Experiences on Books
 
ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV
ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV
ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV
 

Note from translators final-20150416

  • 1. 1 / 7 คําปรารภจากคณะผู้แปล หนังสือ On the Origin of Species เป็นหนึ)งในหนังสือสําคัญของโลก ที)ทุกคนควรจะได้อานอยางน้อยสักครั5งในชีวต่ ่ ิ ! เหตุใดจึงเป็นเชนนั5น่
  • 2. 2 / 7 มีผู้คนและหน่วยงานจํานวนมากทัวโลก กล่าวถึงความสําคัญและความโดดเด่นของ หนังสือเล่มนี" รวมถึงแนวคิดทีปรากฏในหนังสือเล่มนี" เช่น นิตยสารดิสคัฟเวอร์ (Discover) ฉบับเดือน ธันวาคม ๒๕๔๙ ยกย่องให้หนังสือเล่มนี"เป็น ๑ ใน ๒๕ หนังสือวิทยาศาสตร์ทียิงใหญ่ทีสุดตลอดกาล ขณะทีเว็บไซต์ Online College Course บรรจุหนังสือนี"ไว้ในรายชือ "หนังสือ ๑๐๐ เล่มสําคัญทีควรอ่าน ขณะอยู่มหาวิทยาลัย" รวมอยู่กับหนังสือสําคัญเล่มอืนๆ ทั"งแนววิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ เช่นเดียวกับทีเว็บไซต์ OEDB (Open Educational Database) ทีจัดให้เป็น ๑ ใน ๑๐๐ หนังสือ วิทยาศาสตร์ยอดนิยมทียิงใหญ่ทีสุดตลอดกาล นักอ่าน นักเขียน และนักคิดคนสําคัญหลายๆ คน ต่างก็ยกย่องให้หนังสือเล่มนี"เป็น หนังสือสําคัญทีมีผลต่อรากฐานการคิดของชาวตะวันตกและเป็น "หนังสือทีเปลียนโลก" แน่นอนว่า นิตยสารวิทยาศาสตร์ย่อมต้องยกย่องหนังสือและแนวคิดด้านวิวัฒนาการ อย่างยิง ดังเห็นได้จาก นิตยสารไซแอนติฟิกอเมริกัน (Scientific American) ฉบับพิเศษฉลองครบ 2 ศตวรรษปีเกิดของดาร์วินในเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๒ ระบุว่า "เรืองวิวัฒนาการเป็นแนวคิดทีทรงพลัง ทีสุดทางวิทยาศาสตร์" ในทํานองเดียวกัน ชาร์ลส์ ดาร์วิน ผู้เขียนหนังสือเล่มนี"ก็ได้รับการยกย่องเป็นอย่างสูง ช่องเคเบิลและดาวเทียมในเครือข่ายเอแอนด์อี (A&E) ของประเทศสหรัฐอเมริกา เลือก ดาร์วินให้เป็น ๑ ใน ๑๐๐ คนทีทรงอิทธิพลทีสุดในรอบสหัสวรรษ สําหรับชุดสารคดีชีวประวัติบุคคล สําคัญของทางช่อง ทํานองเดียวกัน วารสารเนเจอร์ (Nature) ของประเทศอังกฤษ ก็ยกย่องดาร์วินไว้ว่า "ในช่วงสองศตวรรษ ไม่มีนักวิทยาศาสตร์คนใดเลยทีเทียบกับดาร์วินได้ หากพิจารณาในแง่ผลกระทบ ต่อวิทยาศาสตร์ การเมือง ศาสนา ปรัชญา และศิลปะ" มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ทีดาร์วินเคยเข้าศึกษา ถึงกับมีโครงการรวบรวมผลงานและ เอกสารทีเกียวข้องกับชาร์ลส์ ดาร์วิน ไว้ให้ครบถ้วนในเว็บไซต์ดาร์วินออนไลน์ (Darwin Online) เว็บไซต์นี"ยกย่องดาร์วินไว้ว่า "น่าจะไม่มีใครทีมีอิทธิพลเรืองความรู้เกียวกับชีวิตบนโลก มากเท่ากับ ชาร์ลส์ ดาร์วิน อีกแล้ว" หนังสือ On the Origin of Species จึงถือเป็นผลงานชิ"นโบว์แดงของนักวิทยาศาสตร์ คนสําคัญทีคนทัวไปอาจอ่านทําความเข้าใจได้ไม่ยากนัก หากเทียบกับผลงานของนักวิทยาศาสตร์ทีโด่ง ดังและผู้คนรู้จักกันอย่างกว้างขวางระดับใกล้เคียงกัน ไม่ว่าจะเป็น กาลิเลโอ กาลิเลอี ไอแซก นิวตัน หรือ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ฯลฯ ซึงมักจะมีเนื"อหาเฉพาะทาง บางครั"งก็เต็มไปด้วยสูตรและสมการ จนคน ทัวไปไม่อาจเข้าใจได้เองโดยง่าย
  • 3. 3 / 7 จึงไม่น่าแปลกใจทีจะกล่าวว่า ทุกคนควรจะได้อ่านหนังสือเล่มนี"อย่างน้อยสักครั"งใน ชีวิต ! น่าเสียดายว่าแม้จะผ่านกาลเวลามานานกว่าศตวรรษกึงแล้ว ก็ยังไม่มีผู้แปลหนังสือ On the Origin of Species ของชาร์ลส์ ดาร์วิน นี"ออกมาเป็นภาษาไทยเลย เมือถึงวาระครบรอบปีสอง ศตวรรษปีเกิดของดาร์วิน ใน พ.ศ. ๒๕๕๒ ซึงก็ตรงกับการครบรอบศตวรรษกึงของหนังสือนี"ด้วย ทาง คณะผู้แปลจึงเห็นพ้องต้องกันว่า ควรหาทางแปลหนังสือสําคัญเล่มนี"ออกเป็นภาษาไทยเสียที แรกเริมเมือคณะผู้แปลหนังสือ On the Origin of Species มาประชุมปรึกษาหารือ แนวทางในการแปลร่วมกัน พวกเราตระหนักถึงความยากลําบากในการแปลหนังสือคลาสสิก ซึง ทรงคุณค่าทั"งต่อวงการวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์เล่มนี" ไม่ว่าจะเป็นเรืองสํานวนหรือสไตล์การเขียน ภาษาอังกฤษในบริบทยุควิกตอเรียกว่า ๑๕๐ ปีก่อน และความลึกซึ"งของเนื"อหาใจความ เมือเริมลงมือ แปลและได้หารือกันเป็นระยะๆ นั"น ก็พบว่ามีอุปสรรคอืนๆ เพิมเติมมาอีกมาก โดยเฉพาะหลัก ภาษาไทยทีเข้ามาเกียวข้องกับคําศัพท์เชิงวิชาการต่างๆ ด้วยความตั"งใจอย่างเต็มทีว่าจะทําให้ฉบับ แปลภาษาไทยของ "หนังสือเปลียนโลก" เล่มนี" มีความถูกต้องทางวิชาการ โดยทียังคงไว้ซึงอรรถรสและ ความเฉียบคมในการใช้ภาษาของดาร์วินให้มากทีสุด คณะผู้แปลจึงขอแจ้งโดยย่อๆ ให้ผู้อ่านได้รับ ทราบถึงข้อสรุปร่วม และขอชี"แจงประเด็นสําคัญต่างๆ บางประการของการแปลดังต่อไปนี" ต้นฉบับที)ใช้ในการแปล ต้นฉบับหนังสือ On the Origin of Species by Means of Natural Selection, or the Preservation of Favoured Races in the Struggle for Life ทีใช้ในการแปลครั"งนี" เป็นฉบับตีพิมพ์ ครั"งที 1 ใน พ.ศ. ๒๔๐๒ ซึงดึงมาโดยครบถ้วนทุกคําจากเว็บไซต์ darwin-online.org.uk การทีคณะ ผู้แปลตัดสินใจเลือกใช้ฉบับตีพิมพ์ครั"งที ๑ นี" ถึงแม้ว่าชาร์ลส์ ดาร์วิน ได้ปรับปรุงแก้ไขหนังสือ On the Origin of Species ของเขาใหม่ทุกครั"งทีตีพิมพ์ รวมแล้วถึง ๖ ครั"งด้วยกัน เหตุผลสําคัญคือ นอกจากเป็นการเน้นยํ"าถึงความสําคัญทางประวัติศาสตร์ของช่วงเวล ทีมีการตีพิมพ์หนังสือเล่มนี"ออกมาเป็น ครั"งแรกในโลกแล้ว ยังเป็นการเลือกใช้ต้นฉบับทีสะท้อนถึง ความนึกคิดทีแท้จริงของดาร์วินไว้อย่างตรงไปตรงมาทีสุด มีงานวิจัยภายหลังทียืนยันว่าในการตีพิมพ์ ครั"งหลัง ๆ นั"น ชาร์ลส์ ดาร์วิน ไม่ได้แค่ปรับแก้สํานวนและถ้อยคําให้เข้าใจได้ง่ายขึ"นมากเท่านั"น แต่ เขายังได้แก้ไขเนื"อหาในหลายส่วน (มีทั"งการตัดออกบางส่วนและการเพิมเติมบางส่วน) โดยเฉพาะส่วนที ถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่า ขัดแย้งกับความเชือทางศาสนาในขณะนั"น จนมีความเข้มข้นน้อยลงไปด้วย
  • 4. 4 / 7 รูปแบบประโยค และการอ้างถึงเนื5อหาอื)น ถึงแม้ว่าหนังสือ On the Origin of Species นี"จะประสบความสําเร็จอย่างสูงในการจัด จําหน่ายทั"งในอดีตจนถึงปจั จุบันในต่างประเทศ อันเนืองมาจากการเขียนด้วยภาษาอังกฤษทัวไป ไม่ใช่ ภาษาวิชาการทีเต็มไปด้วยศัพท์แสงเข้าใจยาก หรือเต็มไปด้วยสูตรและสมการ แต่หลายครั"งทีผู้อ่าน อาจจะพบว่า แม้ว่าชาร์ลส์ ดาร์วิน จะอธิบายความได้อย่างจับใจมาก แต่ก็มีลักษณะเฉพาะตัวสูงคือ มัก อธิบายความเพิมเติมเนื"อหาส่วนสําคัญทีต้องการเน้นยํ"า โดยการเขียนซ้อนกันเป็นชั"นๆ อย่างยืดยาว แม้เพียงประโยคเดียวก็อาจยาวถึง ๓-๔ บรรทัด หรือแม้แต่เกือบทั"งย่อหน้าก็มี ! โดยเขาอาศัยเครืองหมายจุลภาค ( , ) เชือมต่อส่วนต่างๆ ของประโยคเข้าด้วยกัน ทํา ให้การแปลให้ "คงรูปประโยค" แบบเดียวกับในภาษาอังกฤษออกมาเป็นภาษาไทยนั"น เป็นเรืองทีทําได้ ยากมาก หรือแทบจะเป็นไปไม่ได้เลยในบางกรณี จึงต้องอาศัยการจัดเรียงแบ่งรูปประโยคใหม่ออกเป็น ส่วนย่อยๆ หลายๆ ประโยค เพือให้อ่านเข้าใจได้ง่ายยิงขึ"น สําหรับผู้อ่านทีมีข้อสงสัยในเนื"อหาหรือวิธีการแปล จึงควรลองอ่านเปรียบเทียบกับ ต้นฉบับหนังสือนี"ในภาษาอังกฤษ โดยสามารถเปิดอ่านหรือดาวน์โหลดได้โดยตรงจากเว็บไซต์ดาร์วิ นออนไลน์ หรืออ่านจากหนังสือนี"ฉบับทีสํานักพิมพ์ต่างๆ ตีพิมพ์ออกจําหน่าย ก็จะได้ความชัดเจนและ มีส่วนช่วยเพิมอรรถรสยิงขึ"นด้วย ความสําเร็จอีกประการหนึงของหนังสือ On the Origin of Species ยังเกิดขึ"นจาก ความอุตสาหะอย่างยิงยวดของชาร์ลส์ ดาร์วิน ในการรวบรวมหลักฐานและผลการทดลองมากมายอย่าง น่าอัศจรรย์ใจจากทัวโลก เพือใช้สนับสนุนแนวคิดและทฤษฎีของเขา จนชวนให้ผู้อ่านคิดเห็นคล้อยตาม ได้ไม่ยาก แต่หลายครั"งเช่นกันทีผู้อ่านจะพบว่า ดาร์วินกล่าวอ้างถึงข้อสังเกต หลักฐาน และงานวิจัย ของบุคคลอืน โดยไม่ระบุเอกสารอ้างอิงไว้อย่างรัดกุม ดังเอกสารงานวิจัยทัวไปทั"งในยุคนั"นและยุค ปจจุบันพึงกระทําั สาเหตุสําคัญอาจเป็นว่า ชาร์ลส์ ดาร์วิน ตั"งใจเขียนหนังสือเล่มนี"ให้เป็นเพียงบันทึกสั"นๆ ดังปรากฏว่าเขาตั"งใจจะใส่คําว่า บทคัดย่อ (abstract) ไว้ในชือหนังสือด้วย แต่จอห์น เมอร์เรย์ ผู้จัดพิมพ์ หนังสือเล่มนี"เกลี"ยกล่อมจนเขายอมเปลียนใจในทีสุด เพราะหนังสือมีความยาวหลายร้อยหน้า ดาร์วิน ตั"งใจเขียนให้หนังสือเล่มนี"เป็นฉบับย่อ ทีรวบรวมความนึกคิดและหลักฐานต่างๆ ของเขาจากงานวิจัย ลับๆ ส่วนตัวทีทําต่อเนืองมาราว ๒๐ ปี และตั"งใจจะทําหนังสือเล่มใหญ่ทีสมบูรณ์กว่าออกมาในภายหลัง เพืออธิบายประเด็นต่างๆ ให้สมบูรณ์ยิงขึ"น น่าเสียดายว่าสุดท้ายแล้ว ดาร์วินก็ไม่ได้มีโอกาสเขียน หนังสือเล่มสมบูรณ์ดังกล่าวออกมา
  • 5. 5 / 7 ศัพท์บัญญัตทางวทยาศาสตร์และคําทับศัพท์ิ ิ ในการแปลหนังสือ On the Origin of Species หรือ กําเนดสปีชีส์ิ ในภาคภาษาไทย นี" คณะผู้แปลถือหลักในการใช้คําศัพท์วิชาการตามทีราชบัณฑิตยสถานบัญญัติไว้ให้ได้มากทีสุด ไม่ว่า จะเป็นคําศัพท์วิทยาศาสตร์ทัวไปหรือคําศัพท์เฉพาะทาง เช่น ศัพท์พฤกษศาสตร์ หรือศัพท์ธรณีวิทยา เป็นต้น เพือให้ได้มาตรฐานเดียวกันกับเอกสารแปลทางวิชาการอืนๆ โดยจะเขียนคําภาษาอังกฤษ กํากับไว้ในวงเล็บ เมือแรกปรากฏคําศัพท์นั"นๆ เพือให้ผู้อ่านทราบถึงทีมาต้นเค้าทีมาของคําศัพท์คํา นั"นๆ ในภาษาอังกฤษ กระนั"นก็ตาม อาจมีบางครั"งทีคณะผู้แปลมีความจําเป็นทีจะต้องใช้คําศัพท์ทีไม่ใช่ศัพท์ บัญญัติของราชบัณฑิตยสถาน หรืออาจจะต้องเขียนคําทับศัพท์เป็นภาษาไทยโดยตรง โดยอาศัย หลักการทับศัพท์ตามแนวทางของราชบัณฑิตยสถาน เพือให้ผู้อ่านมีความเข้าใจในเนื"อหาของหนังสือ ได้ชัดเจนขึ"น และตรงตามความหมายทีดาร์วินต้องการจะสืออีกด้วย ตัวอย่างสําคัญในกรณีนี"คือ การใช้คําว่า “สปีชีส์” แทนคําว่า species แทนทีจะใช้คําว่า “ชนิดพันธุ์” หรือ “ชนิด” ตามทีปรากฏในศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน เนืองจากคณะผู้แปลมี ความเห็นร่วมกันว่า คําว่า “สปีชีส์” เป็นคําสําคัญและเป็นหัวใจหลักของการอภิปรายในทุกๆ บทของ หนังสือเล่มนี" รวมไปจนถึงในการโต้แย้งเกียวกับประเด็นวิวัฒนาการของสิงมีชีวิตทียังคงดําเนินมา จนถึงปัจจุบัน และไม่มีทีใดในหนังสือนี"อ้างถึงนิยามทีชัดเจนครอบคลุมไว้เลย จึงจําเป็นทีจะต้อง นําเสนอให้ผู้อ่านได้คุ้นเคย จนเห็นความสําคัญ และเข้าใจนัยยะของคําๆ นี"จากตัวอย่างต่างๆ ทีดาร์วินย กขึ"นมาอภิปรายไว้ตลอดทัวทั"งเล่ม และเพือไม่ให้สับสนกับการใช้คําว่า “ชนิด” ในกรณีอืนๆ ในเนื"อหา ส่วนต่างๆ ของหนังสือนี" ส่วนคําศัพท์อืนๆ ในภาษาอังกฤษทีใช้ในการบอกระดับของหมวดหมู่ในระบบ อนุกรมวิธานของสิงมีชีวิตนั"น คณะผู้แปลเลือกใช้ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถานให้มากทีสุด เช่น ใช้ วงศ์ แทน family ใช้ สกุล แทน genus และใช้ สกุลย่อย แทน subgenus รวมไปถึงใช้ พันธุ์ แทน variety เหตุทีไม่ใช้การเขียนทับศัพท์ variety ทั"งทีเป็นหนึงในคําศัพท์สําคัญของเนื"อหา ซึงเชือมโยง อย่างใกล้ชิดกับคําว่า สปีชีส์ เนืองจากว่าคําศัพท์นี" เป็นคําศัพท์ทีไม่คุ้นเคยกันนักสําหรับคนไทย นอกจากนี" คําศัพท์นี"ยังมีความหมายอืนทีคุ้นเคยกันมากกว่าในภาษาไทยคือ หมายถึงรายการบันเทิง ทางโทรทัศน์ทีมีรูปแบบหลากหลาย
  • 6. 6 / 7 ชื)อวทยาศาสตร์ิ ชื)อสกุล และชื)อสามัญของสงมีชีวติ) ิ สําหรับการเรียกชือสิงมีชีวิตชนิดต่างๆ ในหนังสือ กําเนดสปีชีส์ิ ชาร์ลส์ ดาร์วิน ไม่ได้ เขียนชือวิทยาศาสตร์ (scientific name) ตามระบบสากลของการตั"งชือสัตว์และพืช กล่าวคือแทนทีจะ เขียนชือ สปีชีส์ของ "นกพิราบปา่ " ด้วยตัวอักษรตัวเอียงเป็น Columba livia หรือเป็นตัวอักษรตัวตรงมี เส้นใต้กํากับแยกชือสกุลและชือสปีชีส์ออกจากกันเป็น Columba livia แต่เขากลับใช้เป็น Columba livia (ตัวอักษรตัวตรงไม่มีเส้นใต้กํากับ) ดังนั"น เพือทีไม่ให้ผู้อ่านเกิดสับสนในการเรียกชือสิงมีชีวิตในหนังสือ ฉบับภาษาไทยนี" ทางคณะผู้แปลจึงเลือกใช้วิธีการเขียนชือวิทยาศาสตร์และชือสกุลเป็นตัวอักษรตัว เอียงไม่ขีดเส้นใต้ ตามแบบทีนิยมใช้ในปจจุบัน เช่นั Columba livia ดังตัวอย่างข้างต้น ส่วนชือสามัญ (common name) รวมไปจนถึงชือวงศ์ และชือสกุลของสิงมีชีวิตใน หนังสือเล่มนี" ถ้าหากสิงมีชีวิตนั"นมีอยู่ในประเทศไทย หรือมีตัวแทนของกลุ่มสิงมีชีวิตนั"นทีรู้จักกันดีใน หมู่คนไทย คณะผู้แปลจะใช้ชือในภาษาไทยนั"น แทนทีจะเขียนคําทับศัพท์ภาษาอังกฤษ เช่น คําว่า Leguminosae จะใช้ว่า พืชวงศ์ถัว แทนทีจะเขียนว่า พืชวงศ์เลกูมิโนซี หรือ พืชวงศ์เลกูม เป็นต้น ชื)อบุคคลและสถานที) อุปสรรคสําคัญหนึงในการแปลหนังสือเล่มนี" คือ ชือของบุคคลและสถานทีต่างๆ ที ชาร์ลส์ ดาร์วิน ได้อ้างถึงหรือหยิบยกขึ"นมาประกอบในเนื"อหาในหนังสือ ซึงมีหลายคําทีไม่ได้เป็นเพียง ชือบุคคลหรือสถานทีทีเป็นภาษาอังกฤษเท่านั"น แต่ยังมีภาษาฝรังเศส เยอรมัน สเปน หรือแม้แต่ภาษา ละตินอีกด้วย คณะผู้แปลพยายามหาเสียงอ่านชือบุคคลและสถานทีดังกล่าว โดยใช้ทั"งการสอบถามผู้รู้ หรือเจ้าของภาษา และใช้การค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิงจากเอกสารอ้างอิงหรือ เว็บไซต์มาตรฐานต่างๆ แต่คณะผู้แปลเองมีความตระหนักเช่นกันถึงความผิดพลาดทีอาจจะเกิดขึ"นได้ จึงขออภัยมาล่วงหน้าด้วย คณะผู้แปลขอขอบพระคุณ ศ. ดร. วิสุทธิ ใบไม้r เป็นอย่างสูงทีกรุณาเขียนคํานิยมมอบ ให้สําหรับการตีพิมพ์หนังสือเล่มนี" ขอขอบคุณ คุณสุวัฒน์ อัศวไชยชาญ และคุณปณต ไกรโรจนานันท์ ทีรับเป็นบรรณาธิการหนังสือคลาสสิกเล่มสําคัญนี" รวมไปถึงทีมงานจากสํานักพิมพ์สารคดีทุกๆ ท่าน ที มีส่วนเกียวข้องในขั"นตอนต่างๆ ซึงไม่อาจกล่าวนามได้หมด สุดท้าย ขอขอบคุณผู้อ่านทุกท่านที สนับสนุนหนังสือ กําเนดสปีชีส์ิ นี"
  • 7. 7 / 7 แม้คณะผู้แปลพอมีความรู้ในวิทยาศาสตร์สาขาต่างๆ ของชีววิทยากันเป็นพื"นฐาน และ มีความตั"งใจเป็นอย่างมากกับการแปลหนังสือเล่มนี" แต่ด้วยข้อจํากัดหลายๆ อย่าง หากท่านผู้อ่านพบ จุดผิดพลาดคลาดเคลือนในหนังสือ กําเนดสปีชีส์ิ ฉบับภาษาไทยนี" ขอได้โปรดแจ้งกลับมาเพือจะได้ แก้ไขให้ถูกต้องมากยิงขึ"นในการตีพิมพ์ครั"งต่อๆ ไป คณะผู้แปลหวังว่าการมีหนังสือ กําเนดสปี ชีส์ิ ทีเป็นภาคภาษาไทยของ On the Origin of Species ของชาร์ลส์ ดาร์วินนี" จะช่วยเติมเต็มช่องว่างทางด้านความรู้ทางวิทยาศาสตร์ของ คนไทย ทําให้คนไทยสามารถเข้าถึงผลงานระดับมาสเตอร์พีซด้านวิทยาศาสตร์ของโลกด้วยตัวเอง ได้มากยิงขึ"น ช่วยให้สามารถซาบซึ"งกับแนวคิดด้านวิวัฒนาการในหนังสือนี" และพิสูจน์ได้ด้วยตาตัวเอง ว่า เหตุใดหนังสือนี"จึงได้สมญาว่าเป็น "หนังสือทีเปลียนโลก" และเหตุใด ชาร์ลส์ ดาร์วิน นักวิทยาศาสตร์ ผู้ประพันธ์หนังสือเล่มนี" จึงได้สมญาว่าเป็น "นักวิทยาศาสตร์ผู้ทรงอิทธิพลมากทีสุดในรอบสองศตวรรษ" คณะผู้แปลหนังสือ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ รายนามคณะผู้แปล ดร.นําชัย ชีววิวรรธน์ ดร. อุบลศรี เลิศสกุลพาณิช รองศาสตราจารย์ ดร. จันทร์เพ็ญ จันทร์เจ้า ผศ.ดร.ต่อศักดิ สีr ลานันท์ อ.ดร.ณัฐพล อ่อนปาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศศิวิมล แสวงผล รองศาสตราจารย์ ดร. ว่าทีร้อยตรี เจษฎา เด่นดวงบริพันธ์