SlideShare a Scribd company logo
สื่อการเรียนการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ สาขาชีววิทยา
โครงงานสื่อการเรียนการสอน เรื่อง อาณาจักรมอเนอรา
Kingdom Monera for leaning
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
จุดประสงค์ของโครงงาน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ในปัจจุบันอินเทอร์เน็ตมีบทบาทและความสาคัญต่อชีวิตประจาวันของ
คนเรามากขึ้น เนื่องจากชีวิตประจาวันของเรานั้นสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะ
เป็นการติดต่อสื่อสาร รู้ทันเหตุการณ์ต่างๆอยู่เสมอ อีกทั้งข้อมูลและสารสนเทศที่
เสนออยู่บนอินเทอร์เน็ตนั้นมีมากมายหลายรูปแบบเพื่อตอบสนองความต้องการ
ของผู้ใช้ทุกกลุ่ม โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการซื้อหนังสือเพื่อค้นคว้าหาข้อมูล
แถมยังได้ข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัยและเปิดกว้างมาก ดังนั้นอินเทอร์เน็ตจึงมี
ความสาคัญต่อชีวิตประจาวันในทุกๆด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านธุรกิจ ด้านความบันเทิง
หรือด้านการศึกษาที่เป็นแหล่งค้นคว้าหาข้อมูลต่างๆ
การศึกษาในปัจจุบันมีการนาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในการเรียน
การสอนมากขึ้น อินเทอร์เน็ตจึงเป็นเหมือนห้องสมุดขนาดใหญ่ในนักเรียนได้
ทบทวนความรู้ในห้องเรียนและศึกษาค้นคว้าหาความรู้นอกห้องเรียน ทาให้
สื่อการเรียนการสอนมีความสาคัญ ที่ทาให้ผู้เรียนนั้นมีความสนในการเรียนรู้
มากขึ้น ดังนั้นผู้จัดทาจึงมีแนวคิดในการพัฒนาสื่อการเรียนการสอน เรื่อง
อาณาจักรมอเนอรา ซึ่งอยู่ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาขาวิชา
ชีววิทยา ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 เพื่อให้ผู้เรียนสามารถศึกษา
ค้นคว้าเนื้อหาเรื่องอาณาจักรของสิ่งมีชีวิตได้อย่างสะดวก
จุดประสงค์ของโครงงาน
• เพื่อเป็นสื่อการเรียนการสอนบนอินเทอร์เน็ต
• เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนบนอินเทอร์เน็ต
เมนูหลัก
รู้จักอาณาจักรมอเนอรา
รูปร่างแบคทีเรีย
อาณาจักรย่อยอาร์เคียแบคทีเรีย
อาณาจักรย่อยยูแบคทีเรีย
ประวัติผู้จัดทา
ไฟลัมในอาณาจักรมอเนอรา
http://fe867b.medialib.glogster.com/media
/99/9999957ec5d15b1bd2bf4d4d54b9d71b
cf555366a64e20051b9096c3aaf4dea0/mon
era-png.png
รู้จักอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
- เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่มีโครงสร้าง
เซลล์แบบโพรคาริโอต (prokaryotic
cell) ในขณะที่สิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ทุก
อาณาจักรมีโครงสร้างเซลล์แบบยูคารี
โอต (eukaryotic cell)
อาณาจักรมอเนอรา (ต่อ)
- ไม่มีออร์แกเนลล์ชนิดมีเยื่อหุ้มเช่น ร่างแหเอนโดพลาสซึม กอลจิคอมเพลกซ์
ไลโซโซม คลอโรพลาสต์ มีเฉพาะออร์แกเนลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้มคือไรโบโซม
สิ่งมีชีวิตใรอาณาจักรนี้มีความสาคัญอย่างมากต่อระบบนิเวศ
กล่าวคือ กลุ่มแบคทีเรียทาหน้าที่เป็นผู้ย่อยอินทรียสารก่อให้เกิดการหมุนเวียน
สารอนินทรีย์และอินทรีย์สารต่างๆ สาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงินทาหน้าที่เป็น
ผู้ผลิตในระบบนิเวศและสิ่งมีชีวิต 2 กลุ่มนี้ยังมีความสาคัญในแง่
เทคโนโลยีชีวภาพซึ่งได้มีการศึกษาวิจัยเพิ่มมากขึ่น เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ใน
ด้านการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร อุตสาหกรรม การแพทย์ และการศึกษา
พันธุศาสตร์ซึ่งช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชากรให้ดียิ่งขึ้น
รูปร่างแบคทีเรีย
รูปร่างแบคทีเรีย
รูปร่างแบบกลม (coccus)
รูปร่างแบบท่อน (bacillus)
รูปร่างแบบเกลียว (spirallum)
รูปร่างแบบกลม (coccus)
รูปร่างแบบท่อน (bacillus)
รูปร่างแบบเกลียว (spirallum)
อาณาจักรย่อยอาร์เคียแบคทีเรีย
อาณาจักรย่อยอาร์เคียแบคทีเรีย
(Subkingdom Archaebacteria)
• อาร์เคียแบคทีเรีย ผนังเซลล์ไม่มีเพปทิโดไกลแคน ดารงชีวิตในแหล่ง
น้าพุร้อน ทะเลที่มีน้าเค็มจัด บริเวณที่มีความเป็นกรดสูง และบริเวณทะเล
ลึก แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ
1. กลุ่มยูริอาร์เคียโอตา (Euryarchaeota)
2. กลุ่มครีนาร์เคียโอตา (Crenarchaeota)
กลุ่มยูริอาร์เคียโอตา (Euryarchaeota)
• กลุ่มยูริอาร์เคียโอตา (Euryarchaeota) สร้างมีเทนและชอบความเค็มจัด
กลุ่มครีนาร์เคียโอตา (Crenarchaeota)
• กลุ่มครีนาร์เคียโอตา (Crenarchaeota) ชอบอุณหภูมิสูงและกรดจัด
อาณาจักรย่อยยูแบคทีเรีย
อาณาจักรย่อยยูแบคทีเรีย
(Subkingdom Eubacteria)
แบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ 5 กลุ่ม คือ
1. กลุ่มโพรทีโอแบคทีเรีย (Proteobacteria)
2. กลุ่มคลาไมเดีย (Chlamydias)
3. กลุ่มสไปโรคีท (Spirochetes)
4. กลุ่มแบคทีเรียแกรมบวก (Gram-Positive Bacteria)
5. กลุ่มไซยาโนแบคทีเรีย (Cyanobacteria)
กลุ่มโพรทีโอแบคทีเรีย (Proteobacteria)
เป็นยูแบคทีเรียแกรมลบที่พบมากที่สุดและมีกระบวนการเมแทบอลิซึมที่
หลากหลายบางกลุ่มสามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้คล้ายพืชบางกลุ่ม
สามารถดารงชีวืตโดยใช้ไฮโดรเจนซัลไฟด์ และให้ซัลเฟอร์ในกระบวนการ
สังเคราะห์ด้วยแสง เช่น เพอเพิลซัลเฟอร์แบคทีเรีย (purple sulfur
bacteria) บางกลุ่มมีบทบาทช่วยตรึงแก๊สไนโตรเจนในอากาศมาสร้างเป็น
สารประกอบไนโตรเจนในดิน ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการเจริญเติบโตของพืช
เช่น Rhizobium sp. ในปมรากของพืชตระกูลถั่ว เป็นต้น
ปมรากถั่ว
การตรึงไนโตรเจน (Nitrogen fixsion)
พืชตระกูลถั่วจะมีความสามารถในการตรึงไนโตรเจนได้ดีกว่าพืชตระกูล
อื่น เนื่องจากมีแบคทีเรีย ไรโซเบียม (Rhizobium sp.) อาศัยอยู่
กลุ่มคลาไมเดีย (Chlamydias)
• เป็นยูแบคทีเรียแกรมลบที่เป็นปรสิตในเซลล์และทาให้เกิดโรคติดต่อทาง
เพศสัมพันธ์ เช่น โรคโกโนเรียหรือหนองใน เป็นต้น
กลุ่มสไปโรคีท (Spirochetes)
• เป็นยูแบคทีเรียแกรมลบที่มีรูปทรงเกลียว มีความยาว
ประมาณ 0.25 มิลลิเมตร ยูแบคทีเรียในกลุ่มนี้มีทั้งดารงชีวิตแบบอิสระ
และบางสปีชีส์เป็นสาเหตุของ โรคซิฟิลิส โรคฉี่หนู เป็นต้น
กลุ่มแบคทีเรียแกรมบวก (Gram-Positive Bacteria)
• เป็นยูแบคทีเรียที่พบแพร่กระจายทั่วไปในดิน อากาศ บางสปีชีส์สามารถ
ผลิตกรดแลกติกได้ เช่น Lactobacillus sp. จึงนามาใช้ในอุตสาหกรรม
อาหารหลายชนิด เช่น การทาเนย ผักดอง และโยเกิร์ต เป็นต้น บางสปีชีส์
เช่น Streptomyces sp. ใช้ยาทาปฏิชีวนะ เช่น ยาสเตร็บ โตมัยซิน ยาเต
ตราไซคลิน เป็นต้น ยูแบคทีเรียกลุ่มนี้บางสปีชีส์ เช่น Bacillus sp.
สามารถสร้างเอนโดสปอร์ (endospore) ทาให้ทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่
ไม่เหมาะสมได้ดีและบางชนิดเป็นสาเหตุทาให้เกิดโรคแอนแทรกซ์
กลุ่มแบคทีเรียแกรมบวก (Gram-Positive Bacteria) (ต่อ)
• ยูแบคทีเรียแกรมบวกอีกกลุ่มหนึ่ง เป็นกลุ่มที่ไม่มีผนังเซลล์มีเพียงเยื่อหุ้ม
เซลล์ที่ประกอบด้วยชั้นของไขมันได้แก่ ไมโคพลาสมา (mycoplasms) เป็น
เซลล์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดประมาณ 0.2-0.3 ไมโครเมตร สามารถเจริญและ
สืบพันธุ์ได้นอกเซลล์โฮสต์ ส่วนใหญ่ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตอื่น
แต่มีบางสปีชีส์ที่เป็นสาเหตุให้เกิดโรคปอดบวมในคนและวัว
Lactobacillus bulgaricus
เป็นแบคทีเรียที่ใช้ทาโยเกิร์ต
กลุ่มไซยาโนแบคทีเรีย (Cyanobacteria)
• เป็นยูแบคทีเรียที่สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้ มีสารสีเช่น คลอโรฟิลล์เอ
แคโรทีนอยด์ และโฟโคบิลินอยู่ภายในถุงแบนๆที่มีเยื่อหุ้มเซลล์ พบ
แพร่กระจายในสภาพแวดล้อมที่หลากหลายทั้งในแหล่งน้าจืด น้าเค็ม
บางสปีชีส์พบในบ่อน้าพุร้อน และภายใต้น้าแข็งของมหาสมุทร เป็นต้น
จากหลักฐานซากดึกดาบรรพ์ทาให้นักวิทยาศาสตร์คาดคะเนได้ว่าไซยาโน
แบคทีเรียทาให้ออกซิเจนในบรรยากาศเพิ่มขึ้น มากขึ้นในโลกยุคนั้นและ
ก่อให้เกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตที่หายใจโดยใช้ออกซิเจนในปัจจุบัน
กลุ่มไซยาโนแบคทีเรีย (Cyanobacteria) (ต่อ)
• ไซยาโนแบคทีเรียเป็นผู้ผลิตที่สาคัญในระบบนิเวศและบางชนิดสามารถ
ตรึงแก๊สไนโตรเจนในอากาศให้เป็นสารประกอบไนเตรต เช่น แอนาบี
นา (Anabaena) นอสตอก (Nostoc) และออสซิลลาทอเรีย (Oscillatoria)
แอนาบีนา (Anabaena)
นอสตอก (Nostoc)
ออสซิลลาทอเรีย (Oscillatoria)
ไฟลัมในอาณาจักรมอเนอรา
• ไฟลัมในอาณาจักรมอเนอราแบ่งได้เป็น 2 ไฟลัม คือ
-ไฟลัมไซยาโนไฟตา (Phylum Cyanophyta)
-ไฟลัมชิโซไฟตา (Phylum Schizophyta)
ไฟลัมชิโซไฟตา (Phylum Schizophyta)
• สิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในไฟลัมนี้ได้แก่ แบคทีเรีย
http://www.saltinstitute.org/wp-
content/uploads/2014/01/bacteria-2.jpg
ลักษณะของสิ่งมีชีวิต
1. มีเซลล์ขนาดเล็ก
2. ลักษณะรูปร่าง มี 3 ลักษณะคือ
2.1 รูปร่างกลม เรียกว่า coccus (coccus = เอกพจน์ cocci = พหูพจน์)
2.2 รูปร่างแบบแท่งยาว เรียกว่า bacillus (bacillus = เอกพจน์ bacilli =
พหูพจน์)
2.3 รูปร่าง เกลียว เรียกว่า spirillum (spirillum = เอกพจน์ spirillum =
พหูพจน์)
3. เซลล์รูปร่างต่าง ๆ มีการเรียงตัวทาให้เกิดลักษณะเฉพาะ เช่น
แบคทีเรียที่มีรูปร่างทรงกลมมีการเรียงตัวหลายแบบ
- เซลล์ทรงกลม 2 เซลล์เรียงต่อกันเรียก diplococci
- เซลล์หลายเซลล์เรียงต่อกันเป็นลูกโซ่เรียก streptococci
- เซลล์หลายเซลล์เรียงกันเป็นกลุ่มก้อนคล้ายพวงองุ่น เรียก staphylococci
- เซลล์ 8 เซลล์ เรียงเป็นลูกบาศก์เรียก sarcina
แบคทีเรียที่มีรูปร่างทรงกระบอก ไม่ค่อยมีแบบแผนการเรียงตัวที่เด่นชัดเท่า
ทรงกลม แต่อาจมีการเรียงตัวของเซลล์เนื่องมาจากระยะการเจริญเติบโตหรือ
ขึ้นกับสภาพของการเพาะเลี้ยงในอาหาร
แบคทีเรียที่มีรูปร่างแบบเกลียว มักอยู่เป็นเซลล์เดี่ยว ๆ แต่ละชนิดมีความ
แตกต่างกันทั้งทางด้านความยาว จานวนเกลียว ความโค้ง
4. แหล่งที่พบแทบทุกแห่งในดินในน้า ในอากาศ แหล่งที่เป็นน้าพุร้อน เขต
หิมะ ทะเลลึก
5. การแบ่งแบคทีเรียตามความต้องการสารอาหาร
5.1 Photoautotroph
5.2 Photoheterotroph
5.3 Chemoautotroph
5.4 Chemoheterotroph
6. การแบ่งแบคทีเรียตามความต้องการอากาศ
6.1 Aerobic bacteria
6.2 Facultative bacteria
6.3 microaerophilic bacteria
6.4 Anaerobic bacteria
7. การแบ่งแบคทีเรียตามความต้องการอุณหภูมิ
7.1 Psychrophile
7.2 Mesophile
7.3 Thermophile
โครงสร้างของแบคทีเรียที่แตกต่างจากเซลล์อื่น ๆ
1. แบคทีเรียมี ribosome ชนิด 70 s และสารพันธุกรรมเป็น DNA โดย
(single circular DNA)
2. ผนังเซลล์ (cell wall) ทาหน้าที่คงรูปร่างของเซลล์ ป้องกันเซลล์แตก
ประกอบด้วย peptidoglycan ซึ่งประกอบด้วยน้าตาล 2 ชนิด คือ N-actyl
glucosamine (NAG) และN-acytyl muramic acid (NAM) และ มี amino acid
หลายชนิด และ lipoprotein lipopolysac teichoic acid
3. Capsule เป็นส่วนที่อยู่นอกผนังเซลล์ สามารถทนต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่
เหมาะสม และทนต่อการทาลายของเม็ดเลือดขาว พบแคปซูลใน
แบคทีเรียบางชนิดเท่านั้น แบคทีเรียที่มีแคปซูลมักก่อโรครุนแรง
4. pilil มีลักษณะเป็นขนคล้ายแฟลกเจลลา แต่มีขนาดเล็ก มีลักษณเป็นท่อ
กลวง ไม่มีหน้าที่ในการเคลื่อนที่แต่ช่วยให้เกาะยึดติดกับผิววัสดุ และ Sex
pilli ช่วยในการถ่ายทอด DNA ใน Conjugation
5. mesosome เป็นส่วนที่เยื่อหุ้มเซลล์บางส่วนยื่นเว้าเข้าไปในcytoplasm
จะพบบริเวณ ที่จะมี การแบ่งเซลล์
6. Flagella เป็นโครงสร้างใช้ในการเคลื่อนที่ แบคทีเรียส่วนใหญ่เป็นพวกที่
เคลื่อนที่ได้ แฟลกเจลลาประกอบด้วยเส้นใยเส้นเดี่ยว ๆ ซึ่งต่างจากแฟล
กเจลลาของสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ แบคทีเรียอาจมีแฟลกเจลลา 1 เส้นจนถึงหลาย
ร้อยเส้น และอยู่ได้หลายตาแหน่ง ส่วนของแฟลกเจลลา ประกอบด้วย 3
ส่วน คือ basal body , hook และ filament
7. Plasmid เป็น DNA ที่อยู่นอกโครโมโซมของแบคทีเรีย ลักษณะของพ
ลาสมิดเป็น DNA วงแหวน และเป็นเกลียวคู่ สามารถจาลองตัวเองได้และ
สามารถถ่ายทอดไปยังแบคทีเรียอื่น ๆ ได้ พลาสมิดมีหลายชนิด บางชนิด
ควบคุมการสืบพันธุ์แบบมีเพศของเซลล์ บางชนิดควบคุมการดื้อต่อยา
ปฏิชีวนะต่าง ๆ
8. endospore เป็นโครงสร้างที่พบในแบคทีเรียบางชนิด เป็นโครงสร้างที่
ทาให้แบคทีเรียมีความทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมได้ เอนโด
สปอร์เกิดขึ้นภายในเซลล์และสร้างได้ 1 สปอร์ต่อ 1 เซลล์จะไม่ถือว่าเป็น
การสืบพันธุ์ แต่ถือว่าเป็นการดารงชีพ
การสืบพันธุ์ของแบคทีเรีย
ส่วนใหญ่แบคทีเรียสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศที่เรียกว่า Transverse Binary
Fission
บางชนิดมีการแลกเปลี่ยนสารพันธุกรรมได้ 3 รูปแบบคือ
1. Conjugation คือ การถ่ายทอดยีนจากแบคทีเรียเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์
หนึ่งด้วยการจับคู่สัมผัสกันโดยตรง
2. Transformation คือ การถ่ายทอด DNA ตัวเปล่า (naked DNA) หรือ
DNA อิสระจากแบคทีเรียเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง
3. Transduction คือ การถ่ายทอดยีนจากแบคทีเรียเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์
หนึ่งโดยอาศัยไวรัสหรือ Bacteriophage
การจาแนก Bacteria
การจาแนก Bacteria อาศัยลักษณะดังนี้
1. ลักษณะทางสัณฐานวิทยา ได้แก่ รูปร่าง
2. ตามอาหารที่ได้รับ แบ่งเป็น
2.1 พวก Autotroph เป็นพวกที่สามารถสร้างอาหารเองได้
2.2 พวก Heterotroph เป็นพวกที่สามารถสร้างอาหารเองไม่ได้
3. การติดสีของผนังเซลล์ [ Gram stain ] แบ่งเป็น
3.1 Gram positive เป็นพวกที่ติดสีย้อมคริสตัลไวโอเลต
3.2 Gram negative เป็นพวกที่ติดสีย้อมซาฟานิน
4. การหายใจ ความต้องการใช้อากาศหรือ O 2
5. ลักษณะการเลี้ยงเชื้อ : อาหาร สภาพแวดล้อม
6. ลักษณะทางแอนติเจน
ประโยชน์ของแบคทีเรีย
1. ด้านอุตสาหกรรม เช่นการผลิตอาหารหมัก ใช้ฟอกหนัง
2. ด้านการเกษตร เช่นใช้เป็นปุ๋ย
3. การทดสอบคุณภาพน้า
4. ทางด้านการแพทย์ เช่นการผลิตยาปฏิชีวนะ
5. ใช้ในเทคโนโลยีชีวภาพ โดยใช้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมสร้างแบคทีเรีย
ที่มีลักษณะต่าง ๆ
6. ช่วยย่อยสลายซากสิ่งมีชีวิตให้เป็นอาหารของพืช
โทษของแบคทีเรีย
1. ผลิตสารพิษที่เป็นอันตราย
2. ทาให้เกิดโรคต่างๆ ใน คน เช่น ไทฟอยด์ อหิวาตกโรค ปอดบวม วัณ
โรค คอตีบ สัตว์ เช่น แอนแทรกซ์ บาดทะยัก และพืช เช่น โรครากเน่า
โรคใบไม้ของสาลี่
ไฟลัมไซยาโนไฟตา (Phylum Cyanophyta)
• ได้แก่ สาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน (Blue-green algae) ปัจจุบัน
เรียกชื่อใหม่ว่า Cyanobacteria
ลักษณะของสิ่งมีชีวิต
1. ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส เป็นเซลล์พวกโปรคารีโอต ไม่มี flagella
2. มี chlorophyll phycocyanin phycorythin กระจายในเซลล์ แต่ไม่ได้รวมเป็น
chloroplast
3. ผนังเซลล์เป็น cellulose และ pectin
4. มีขนาดเล็ก อาจอยู่ในลักษณะ
4.1 เซลล์เดี่ยว หรือเซลล์กลุ่ม เช่น
4.2 เซลล์ที่จัดเรียงเป็นสาย
การสืบพันธุ์
1. การแบ่งตัว Binary fission.
2. การหักเป็นท่อน (fragmentation) พบในพวกที่เป็นสาย
3. สร้างสปอร์หรือสร้างเซลล์พิเศษ เช่น akinete
ประโยชน์
- เป็นผู้ผลิตอาหาร และ O2
- Spirulina หรือเกลียวทอง มี protein สูง ใช้ทาอาหารเสริมคนและสัตว์
- Nostoc Anabaena Oscillatori สามารถเพิ่มความตรึง N ทาเป็นปุ๋ยในดิน
เช่น แหนแดง (Azolla) ซึ่ง Anabaena อยู่ช่องว่างกลางใบ
ที่มา
• http://www.dmj.ac.th/Woralukkhana/Kingdom%20Monera.htm
• http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B9%80%
E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B8%B2
• https://sites.google.com/site/ruethairat2537/home/content2
• http://moneraby6041216.blogspot.com/
• http://www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/568-00/
• http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=69046
ประวัติผู้จัดทา
ชื่อ นางสาวศุภัชฌา รุ่งเรือง
ชื่อเล่น เต้าหู้
ชั้น ม.6/8 เลขที่ 12
Blog : taohu651.blogspot
แผนการเรียน วิทย์-คณิต
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย เชียงใหม่
ชื่อ นางสาวขวัญวรานิษฐ กลิ่นหอม
ชื่อเล่น ขิง
ชั้น ม.6/8 เลขที่ 19
Blog : mymiine khing
แผนการเรียน วิทย์-คณิต
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย เชียงใหม่

More Related Content

What's hot

อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจพัน พัน
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราPinutchaya Nakchumroon
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)Thitaree Samphao
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มWichai Likitponrak
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 

What's hot (20)

อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตา
 
ประชากร1
ประชากร1ประชากร1
ประชากร1
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
ส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอกส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอก
 
ย่อยอาหาร
ย่อยอาหารย่อยอาหาร
ย่อยอาหาร
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 

Similar to โครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอรา

โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)Prangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องM'suKanya MinHyuk
 
New media and national security contents
New media and national security contentsNew media and national security contents
New media and national security contentsTeeranan
 
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตการวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตTor Jt
 
เทคโนโลยีวีวภาพ
เทคโนโลยีวีวภาพเทคโนโลยีวีวภาพ
เทคโนโลยีวีวภาพpeter dontoom
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งWichai Likitponrak
 

Similar to โครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอรา (20)

computer project
computer projectcomputer project
computer project
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
3 32222
3 322223 32222
3 32222
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
New media and national security contents
New media and national security contentsNew media and national security contents
New media and national security contents
 
Open Collaboration for Library & Research
Open Collaboration for Library & ResearchOpen Collaboration for Library & Research
Open Collaboration for Library & Research
 
2
22
2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตการวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
 
เทคโนโลยีวีวภาพ
เทคโนโลยีวีวภาพเทคโนโลยีวีวภาพ
เทคโนโลยีวีวภาพ
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
 

โครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอรา