SlideShare a Scribd company logo
1 of 52
โครงสร้า งและหน้า ที่ข อง
เซลล์
การค้น พบเซลล์

การค้นพบเซลล์สิ่งมีชีวิตเกิดขึ้น ในปี ค.ศ.
1655 โดย นักพฤกษศาสตร์ ชาวอังกฤษ โรเบิร์ต
ฮุค (Robert Hooke) ได้ใช้กล้องจุลทรรศน์ที่เขา
ประดิษฐ์ขึ้นสังเกตโครงสร้างเล็กๆ ของไม้คอร์ก
(cork) ที่ถูกเฉือนเป็นแผ่นบางๆ พบว่ามีลักษณะเป็น
ห้องเล็กๆ คล้ายรังผึง เขาได้เรียกห้องเล็กๆเหล่านี้
้
ว่า “เซลล์” (Cell) แต่เป็นเซลล์ที่ตายแล้วเหลือแต่
ผนังเซลล์ (cell wall) เท่านั้น

กล้องจุลทรรศน์ของโรเบิร์ต ฮุค

เซลล์ไม้คอร์กที่ตายแล้ว
การค้น พบเซลล์ (ต่อ )

ต่อมาในปี ค.ศ. 1674 -1683 อังตวน แวน
เลเวนฮุค (Anton Van Leeuwenhoek) นัก
วิทยาศาสตร์ชาวดัทช์ (Dutch) ได้พัฒนา
กล้องจุลทรรศน์ที่มีกำาลังขยายกว่า 200 เท่า
และใช้ในการสังเกตสิ่งมีชวิตขนาดเล็กรูปร่างๆ
ี
แตกต่างกัน ได้แก่ โปรโทซัว (protozoa)
แบคทีเรีย (bacteria) และสเปิร์ม (sperm) การ
ค้นพบใน
ครั้งนี้ถือว่าเป็นการ
ค้นพบเซลล์จุลินทรีย์เป็นครั้งแรก
การค้น พบเซลล์ (ต่อ )

            หลังจากนั้นในปี ค.ศ. 1830-1839 นัก
พฤกษศาสตร์ มัตทิอัส
ชไลเดน
(Matthias Schleiden) และนักสัตววิทยา เท
โอดอร์ ชวันน์ (Theodor Schwann) ได้ศึกษา
เซลล์พืชและเซลล์สตว์ชนิดต่างๆ รวมทั้งศึกษา
ั
บทบาทของนิวเคลียส (nucleus)ภายในเซลล์
ต่อการแบ่งเซลล์
ชไลเดน และ ชวันน์ ได้
รวบรวมความรู้ที่ได้และจัดตั้งเป็น “ทฤษฎีเซลล์”
(The Cell Theory)
การค้น พบเซลล์ (ต่อ )

“สิงมีชีวิตทั้งหลายย่อมประกอบไปด้วย
่
เซลล์ และเซลล์คอหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สดของ
ื
ุ
สิ่งมีชีวิตที่มีการจัดระบบ”
สรุปใจความที่สำาคัญได้ดังนี้
         1. สิงมีชวิตทุกชนิดประกอบด้วยเซลล์
่
ี
         2. เซลล์เป็นหน่วยพื้นฐานของสิงมีชีวิต
่
         3. เซลล์เกิดจากการแบ่งตัวของเซลล์ที่มี
อยู่ก่อน
รูป ร่า งและชนิด ของเซลล์

เซลล์ที่เรารู้จักมี 2 ชนิด คือ เซลล์พืช และ
เซลล์สตว์
ั
เซลล์ใ น
ร่า งกายของ
ส่ว นประกอบของเซลล์
ส่ว นประกอบของเซลล์ม ี 3 ส่ว นสำา คัญ
ดัง นี้
1. ส่ว นที่ห ่อ หุ้ม เซลล์ แบ่ง ออกเป็น
1.1 ผนังเซลล์ (Cell Wall)
1.2 เยื่อหุ้มเซลล์ (Plasma Membrane)
2. ไซโทพลาซึม (Cytoplasm) ประกอบด้ว ย
2.1 ไซโทซอล (Cytosol)
2.2 ออร์แกเนลล์ (Organelles)
ส่ว นประกอบของเซลล์ (ต่อ )
3. นิว เคลีย ส (Nucleus) ประกอบด้ว ย
3.1 เยื่อหุ้มนิวเคลียส (Nuclear Membrane)
3.2 นิวคลีโอพลาซึม (Nucleoplasm)
3.3 โครมาทิน (Chromatin)
3.4 นิวคลีโอลัส (Nucleolus)
โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์
• เยื่อ หุ้ม เซลล์ (Cell membrane) เป็นเยื่อที่
บางมาก หนาประมาณ 7 นาโนเมตร ที่มีหน้าที่
ในการคัดเลือกสารที่จะเข้าออกจากเซลล์ และ
ใช้ในการป้องกันตัวในสัตว์เซลล์เดียว ประกอบ
- สายคาร์โบไฮเดรต
- โมเลกุลของ
ด้วย
เชื่อมกับโปรตีนหรือ
ฟอสโฟลิพิด
ฟอสโฟลิพดด้านนอก
ิ
ของเซลล์

เป็นสารพวกไข
มันเรียงตัวเป็น
2 ชั้น

- โปรตีน แทรกตัวอยูในชั้นของ
่
ฟอสโฟลิพด
ิ
- มีคณสมบัติเป็นเยื่อเลือก
ุ
ผ่าน
(Semipermeable
Membrane)
มีห น้า ที่
- ควบคุมการผ่านเข้า-ออกของสาร
ระหว่างเซลล์กับสิงแวดล้อม
่
ภายนอก
- จดจำาโครงสร้างของเซลล์บาง
โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์
(ต่อ )

• ผนัง เซลล์ (Cell wall) เซลล์พืชทุกชนิดจะมี
ผนังเซลล์ ประกอบด้วยสารสำาคัญคือ เส้นใย
เซลลูโลส ห่อหุ้มอยู่ด้านนอกของเยื่อหุ้มเซลล์
เรียงตัวแบบไขว้กัน จึงทำาให้เซลล์พืชมีรูปร่าง
คงที่และแข็งแรง ผนังเซลล์มักยอมให้สารต่าง ๆ
ผ่านเข้าออกสะดวก  มีชองเล็ก ๆ ติดต่อระหว่าง
่
เซลล์  เรียกว่า พลาสโมเดสมาตา
(plasmodesmata)
โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์
(ต่อ )
- อยู่ถัดจากเยื่อหุ้มเซลล์ออกไป
(ผนังเซลล์พบที่
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบางประเภท
เช่น พืช สาหร่าย เห็ด รา และ
แบคทีเรีย)
- ยอมให้สารผ่านได้หมด (ซึ่ง
จะแตกต่างจาก
ทำา หน้า ที่
เยื่อหุ้ม
- ปกป้องและคำ้าจุนเซลล์ เซลล์)
โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์
(ต่อ )

• พลาสโมเดสมาตา (Plastmodesmata)
เป็นช่องว่างเล็กจำานวนมาก ทำาหน้าที่เชื่อมเซลล์
ที่อยู่ใกล้เคียงกัน เพื่อช่วยในการขนถ่ายสิงๆ
่
ต่างๆระหว่างเซลล์พืช เช่น นำ้า สารอาหาร
ฮอร์โมน
โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์
(ต่อ )
• ไซโทพลาสซึม (Cytoplasm) เป็นส่วน

ประกอบภายในเซลล์ทั้งหมด ยกเว้นนิวเคลียส
เป็นสารละลายของสารอินทรีย์และเกลือแร่ต่างๆ
รวมทั้งสารแขวนลอย มีลักษณะคล้ายวุ้น ข้น
และหนืด เป็นที่อยู่ของโครงสร้างเล็กๆ เรียกว่า
ออร์แกเนลล์ (Organelle) หลายชนิด
โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์
(ต่อ )

• ไซโทซอล (Cytosol) เป็นสารกึ่งของเหลว มี
อยู่ประมาณร้อยละ 50 – 60 ของปริมาตรเซลล์
ทั้งหมด เซลล์ส่วนใหญ่มักมีปริมาตรของไซโท
ซอล ประมาณ 3 เท่า ของปริมาตรนิวเคลียส
บริเวณด้านนอกที่อยู่ติดกับเยื่อหุ้มเซลล์ เรียกว่า
เอ็ บริเวณด้านใน
เอ็กโทพลาซึม (ectoplasm)ก โทพลาซึม
(ectoplasm)
เรียกว่า เอนโดพลาสซึม (endoplasm)
เอนโดพลาสซึม
(endoplasm)
โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์
(ต่อ )

• ออร์แกเนลล์ (Organelles) โครงสร้างขนาดเล็ก
ที่ทำาหน้าที่เฉพาะมีหลายขนาด รูปร่าง จำานวน
และหน้าที่ต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของเซลล์
เป็นส่วนประกอบที่จำาเป็นต่อการดำารง
ชีวิตของเซลล์ และบางส่วนจำาเป็นสำาหรับ
ทำา หน้าที่พิเศษของเซลล์ ออร์แกเนลล์ ที่สำาคัญ
ได้แก่
  1. ร่างแหเอนโดพลาสมิกเรติคลัม
ู
(endoplasmic reticulum)
   2. ไรโบโซม (ribosome)
6. เซนทริโอล
(centriole)
โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์
(ต่อ )
• นิว เคลีย ส (Necleus) เป็นหน่วยที่เล็กที่สุด
ทำาหน้าที่ควบคุมกระบวนการต่างๆภายในเซลล์
ภายในนิวเคลียสบรรจุสารพันธุกรรมที่กำาหนด
ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์
(ต่อ )
เป็นโครงสร้างที่มีเยื่อหุ้ม 2
ชั้น และมีโครโมโซมอยู่
ภายใน

มีห น้า ที่
- ควบคุมการสังเคราะห์โปรตีนและ
การสืบพันธุ์
ของเซลล์
- เป็นแหล่งเก็บโครโมโซม
โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์
(ต่อ )

• เยื่อ หุ้ม นิว เคลีย ส (nuclear membranes,
Nuclear envelope, perinuclear,
envelopenucleolemma หรือ karyotheca)
เป็นเยื่อบางๆ 2 ชัน เรียงซ้อนกัน ที่เยื่อนี้จะมีรู
้
เรียกว่านิวเคลียร์พอร์ (nuclear pore) หรือ
แอนนูลัส (annulus) มากมาย ทำาหน้าที่เป็นทาง
ผ่านของสารต่างๆ ระหว่างไซโทพลาซึมและ
นิวเคลียส
นอกจากนี้เยื่อหุ้มนิวเคลียสยังมีลักษณะเป็น
เยื่อเลือก
ผ่านเช่นเดียวกับ เยื่อ
http://www.bcnlp.ac.th/Anatomy/page/apichat/celltissue/picture/nucleus.jpg

http://www.myfirstbrain.com/thaidata/image.asp?ID=396852
โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์
(ต่อ )

• นิว คลีโ อพลาซึม (Nucleoplasm)
คือส่วนที่อยู่ภายในเยื่อหุ้มนิวเคลียส ประกอบ
ด้วย
- นิวคลิโอลัส ( Nucleolus )
- โครมาติน ( Chromatin )

http://www.bcnlp.ac.th/Anatomy/page/apichat/celltissue/picture/nucleus.jpg
โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์
(ต่อ )

• นิว คลิโ อลัส ( Nucleolus ) เป็นแหล่ง
สังเคราะห์และรวบรวมกรดไรโบนิวคลีอิค
( ribonucleic acid ) เรียกย่อว่า RNA ทำาหน้าที่
นำาคำาสั่ง
จากนิวเคลียสไปยังเซลล์สวน
่
อื่นๆ และสร้างไรโบโซมเพื่อไปทำาหน้าที่
สังเคราะห์โปรตีน
โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์
(ต่อ )
• โครมาติน ( Chromatin ) เส้นใยขนาดเล็กที่
ย้อมติดสีจำานวนมากมายขดม้วนซ้อนกันเหมือน
ร่างแห เส้นใยโครมาทิน ประกอบด้วยดีเอ็นเอ
และโปรตีนประเภทฮิสโทน (histone)
โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์
(ต่อ ) ก เรติค ล ัม
ร่า งแหเอนโดพลาสมิ
ู
(endoplasmic reticulum)
มี
ลักษณะเป็นเยื่อบางๆ 2 ชัน เรียงทบไปมาคล้าย
้
ถุงแบนๆ กระจายทั่วไปในโซโตพลาสซึม
จำาแนกได้เป็น 2 ชนิด คือ

http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/45/2/cell/i
mage/Endoplasmic.jpg
โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์
(ต่อ )

• > เอนโดพลาสติกเรติคูลัมชนิดขรุขระ (rough
endoplasmic reticulum : RER ) เป็นเยื่อ
ร่างแหที่มีลักษณะขรุขระเพราะมีไรโบโซมมา
จับอยู่ที่
เมมเบรนทำาหน้าที่สังเคราะห์
โปรตีนที่เป็นองค์ประกอบของ
‘endomembrane system’ และโปรตีนที่ส่ง
ออกไปนอกเซลล์ทำาหน้าที่คล้ายกันกับเอ็นโด
พลาสมิคเรติคูลัมชนิดเรียบ พบในเซลล์สัตว์
เท่านั้น สังเคราะห์ โปรตีนในใบ และ ต้น
http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/252/p1_10.jpg
โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์
(ต่อัมชนิดเรียบ (smooth
)
• > แอนโดพลาสติกเรติคล
ู

endoplasmic reticulum : SER) เป็นเยื่อ
ร่างแหที่มีลักษณะเรียบ เชือมโยงระหว่าง
่
นิวเคลียสกับเซลล์เมมเบรน ประกอบไปด้วยไข
มันและโปรตีน ทำาหน้าที่ในการขนส่งสารต่าง ๆ
ผ่านเซลล์ และเกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ สเต
รอยด์ (steroid) บางชนิด เช่น ฮอร์โมนเพศ
ไตรกลีเซอไรด์ สารประกอบของคอเลสเตอรอล
http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/252/p1_9.jpg
- RER สร้างสารประเภท
โปรตีนสำาหรับส่งออกไปใช้
ภายนอกเซลล์
- SER สร้างสารประเภทลิ
พิด (Lipid) และกำาจัดสาร
พิษ
•

โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์
(ต่ ล )
ไรโบโซม (ribosome) มีอักษณะเป็นรูปทรงกลม

หรือรูปไข่ มีขนาดเล็กมาก ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส
พบในเซลล์ทุกชนิด โดยเฉพาะเซลล์ที่สร้าง
โปรตีนได้มากจะมีจำานวนไรโบโซมมากกว่าเซลล์
อื่น ประกอบไปด้วยสารโปรตีนรวมกับ r RNA
(ribosomal RNA)
หน้าที่ของไรโบโซม คือ เป็นแหล่งที่สร้างหรือ
สังเคราะห์โปรตีน
คือ สังเคราะห์โปรตีน
แล้วส่งออกไปใช้นอกเซลล์ เช่น เซลล์สร้างนำ้า
ย่อย
ในตับอ่อน
http://t0.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcQhyTuw2PS57kp1Iy9yk3cDl2DBieU9tVnDEK8EZgs_7b2vuMlf8a_OCIxG
http://www.il.mahidol.ac.th/emedia/dna/chapter/stockimages/5translation/rrna2.jpg

- มีขนาดเล็ก ประกอบด้วย
โปรตีนและ RNA
- มีทั้งไรโบโซมอิสระ (ลอย
อยู่ในไซโทพลาซึม)
และไรโบโซมยึดเกาะ เช่น
เกาะอยู่ที่เอนโดพลาสมิกเรติคลัม (ER)
ู

น้า ที่
งสารประเภทโปรตีนสำาหรับใช้ภายในเซลล์
http://www.biology18542.hostei.com/images/ribrosome.jpg
โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์
(ต่อ )
• กอลจิบอดี (golgi body) หรือกอลจิแอพพา
ราทัส (golgi apparatus) เป็นส่วนที่อยู่ใกล้
นิวเคลีส เป็นโครงสร้างที่ประกอบด้วย
ถุง( vacuole) หุ้มด้วยเยื่อบาง ๆ หลาย ๆ ถุง
เรียงกัน ภายในถุงจะมีสารที่เซลล์จะขนส่งออก
นอกเซลล์ ทำาหน้าที่ในขบวนการขนถ่าย
( secretion ) เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ไลโซ
โซมและเซลเพลทของพืช

http://158.108.17.142/museum/MotherEarth/golgi.bmp
-มีลักษณะคล้ายถุงแบนๆ
-เรียงซ้อนกันเป็นชัน
้
http://vichakarn.triamudom.ac.th/comtech/studentproject/sci/cell6/topic
/golgi.jpg

ทำา หน้า ที่
- สร้างเวสิเคิลหุ้มโปรตีน
ที่ RER สร้างขึ้นแล้ว
ลำาเลียง
ไปยังเยื่อหุ้มเซลล์เพื่อส่ง
โปรตีนออกไปนอกเซลล์
http://www.atom.rmutphysics
.com/charud/oldnews/0/286/
โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์
(ต่อ )
• ไมโคคอนเดรีย (mitochondria) พบเฉพาะใน
เซลล์ยูคาริโอท ประกอบด้วยโปรตีน ไขมัน
DNA RNA และไรโบโซม รูปร่างไม่แน่นอน
อาจจะเป็นก้อน (granular) เป็นท่อนยาว
ๆ(filamentous) หรือคล้ายกระบอง(club
shape) ก็ได้ มีเยื่อหุ้มสองชันภายในมีเอ็นไซม์
้
ที่เกี่ยวข้องกับการหายใจแบบใช้ออกซิเจน
หลายชนิด
• แบคทีเรียไม่มี ไมโตคอนเดรีย แต่จะมีโปรตีน
และสารอื่น
ละลายอยู่ในไซโต
โซมทำาหน้าที่เป็นแหล่งผลิตพลังงาน
ชันนอกผิวเรียบ ส่วนชันใน
้
้
พับเข้าไป
ด้านใน เรียกว่า คริ
สตี (cristae) ภายในมี
ของเหลวซึ่งประกอบด้วย
สารหลายชนิด เรียกว่า เม
เป็นแหล่งสร้างพลังงาน
ทริก ซ์ (matrix) ซึ่งมีไรโบ
ให้แก่เซลล์
โซม และ DNA ลอยอยู่
จากกระบวนการสลาย
สารอาหาร
ภายในเซลล์แบบใช้
ออกซิเจน หรือ
เรียกว่า การหายใจ

http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/s
cience04/45/2/cell/image/mitochondriax_resize.jpg

http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/45/2/cell/i
mage/mito_resize.gif
โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์
(ต่อ )
• พลาสติด (Plastid) คือ เม็ดสีในเซลล์ เป็นออร์
แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม  2 ชัน พบได้ในเซลล์พืชและ
้
สาหร่ายทั่วไป ยกเว้นสาหร่ายสีเขียวแกม
นำ้าเงิน จำาแนกได้  3 ชนิด  ได้แก่ คลอโร
พลาสต์  โครโมพลาสต์ และลิวโคพลาสต์
• คลอโรพลาสต์ (chloroplast) เป็นพลาสติดที่
มีสเขียวเพราะมีคลอโรฟีลล์เป็นองค์ประกอบเป็น
ี
ส่วนใหญ่ เป็นแหล่งสร้างอาหาร
ของพืชและโพรติสต์บางชนิด
• ภายในมีโครงสร้างคล้ายถุงแบน ๆ มีเยื่อหุ้ม เรียก
ว่า ไทลาคอยด์ (thylakoid) และไทลาคอยด์ จะ
เรียงซ้อนกันเป็นตั้งเรียกว่า 
กรานุม   (granum)  แต่ละกรานุมมีโครงสร้างเชื่อม
ต่อถึงกัน  
• บนไทลาคอยด์มีสารสีที่ใช้ในกระบวนการ
หน้า ที่ :
- เป็นแหล่งสร้างอาหาร
กลูโคสให้แก่เซลล์
(คลอโรพลาสต์สร้างอาหาร
จากกระบวนการสังเคราะห์
ด้วยแสง)

http://www.geocities.ws/p_ook_kung/chloroplast.jpg

http://t3.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcSdH9z17HuvNj_De3JYlm3ybaaGLv14WtOK1oR9l-y6F_uhxv91OdTtsVTug
โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์
(ต่อ )
• เซนทริโ อล (centriole)   เป็นออร์แกเนลล์ที่
ไม่มีเยื่อหุ้ม พบในเซลล์สตว์และสิงมีชีวิตเซลล์
ั
่
เดียว ไม่พบในเซลล์พืช และ เห็ด รา อยู่เป็นคู่
วางตั้งฉากกัน อยู่ใกล้ ๆ กับเยื่อหุ้มนิวเคลียส
   ประกอบด้วย หลอดเล็ก ๆ เรียกว่า ไมโครทิว
บูล  (microtubule) 
เรียงเป็นกลุ่มกลุ่มละ 3หลอด มีทั้งหมด 9 กลุ่ม
เชื่อมต่อกัน เป็นทรงกระบอก บริเวณตรงกลางไม่
มีไมโคทูบล เรียกการ
ู
เรียงตัวแบบนี้ว่า 9 + 0 
บริเวณไซโทพลาซึมที่ล้อม
รอบเซนทริโอล เรียก
ว่า เซนโทรโซม ซึ่งเป็น
แหล่งกำาเนิด
เส้นใยสปินเดิล
http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/45/2/cell/ima
ge/centriolesfigure1_resize.jpg

หน้า ที่
- สร้างเส้นใยสปินเดิลใน
กระบวนการแบ่งเซลล์
http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/45/2/cell/i
โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์
(ต่อ )

• ไลโซโซม (lysosome) ไลโซโซมเป็นออร์
แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้มชั้นเดียวรูปร่างกลมรี มี
ลักษณะเป็นถุงกลมๆ เรียกว่า เวสิเคิล (เป็นเวสิ
เคิลที่สร้างจากกอลจิคอมเพล็กซ์) ภายในมี
เอนไซม์ที่ใช้สำาหรับย่อยสารต่างๆบรรจุอยู่
ในไลโซโซมมีเอนไซม์ย่อยอาหาร ไลโซ
โซมจะรวมกับเวสิเคิลหรือ
แวคิวโอล
ที่มีอาหารอยู่ มีเอนไซม์ทำาลายสิ่งแปลกปลอม
และทำาลาย
ออร์แกเนลล์ที่เสือม
่
สภาพ

http://plc.cwru.edu/tutorial/enhanced/files/llc
/Chem/vesicle.gif
http://www.uic.edu/classes/bios/bios100/summer2006/lysosome.jpg

http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/45/2/cell/i
mage/lysozome_resize.gif

หน้า ที่
- ย่อยสลายออร์แกเนลล์และเซลล์ที่เสื่อม
สภาพ
- ย่อยสารต่างๆ ที่เซลล์นำาเข้ามาด้วย
กระบวนการเอนโดไซโทซิส
โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์
(ต่อ )
• แวคคิว โอล (vacuole) คือ ถุงบรรจุสาร เป็น
ออร์แกเนลล์ที่มีลักษณะเป็นถุง มีเมมเบรนที่
เรียกว่า โทโนพลาสต์ (tonoplast) ห่อหุ้ม
ภายในมีสารต่าง ๆ บรรรจุอยู่ โดยทั่วไปจะพบ
ในเซลล์พืชและเซลล์สตว์ชั้นตำ่า 
ั
ในสัตว์ชนสูงไม่คอยพบ แวคิวโอลแแบ่งออก
ั้
่
เป็น 3 ชนิด คือ

http://www.vcharkarn.com/uploads/21/21203.gif
โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์
(ต่อ )
•  คอนแทร็ก ไทล์แ วคิว โอล (contractile
vacuole) ทำาหน้าที่รักษาสมดุลของนำ้า พบใน
เซลล์ อะมีบา พารามีเซียม

http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/45/2
/cell/image/contractile_vacuole.gif

http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/45/2/cell/i
mage/parame_contract.gif
http://www.skoolbuz.com/content_images/200911/images/biology/cell/img13.gif
โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์
(ต่อ )
• ฟูด แวคิว โอล  (food vacuole)   บรรจุอาหาร
ที่รับมาจากนอกเซลล์เพื่อย่อยสลายต่อไป พบ
ใน เซลล์เม็ดเลือดขาวและสิ่งมีชวิตเซลล์เดียว
ี

http://www.biologycorner.com/resources/paramecium.gif
http://www.cartage.org.lb/en/themes/sciences/botanicalsciences/major
divisions/kingdomprotista/Protists/paramecvacs.gif
โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์
(ต่อ )
• แซบแวคิว โอล (sap vacuole) พบในเซลล์
พืช ตอนอายุนอย ๆ มีจำานวนมาก แต่เมื่ออายุ
้
มากเข้าจะรวมเป็นถุงเดียวขนาดใหญ่ 
มีหน้าที่สะสมสาร เช่น สารสี ไอออน นำ้าตาล
สารพิษ

http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/45/2/cell/ihttp://t1.gstatic.com/images?
mage/plantvacuole.jpg
q=tbn:ANd9GcSdJ4th1jVngKJquiPpa48E2pXkuvKzg0avB5Zg0Oq-
ประเภทของเซลล์ข องสิ่ง มีช ีว ิต
• โปรคาริโ อติค เซลล์ (prokaryotic cell) เป็น
เซลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียสห่อหุ้มสาร
พันธุกรรม (genetic material) ได้แก่ เซลล์ของ
แบคทีเรีย ริคเก็ตเซีย และสาหร่าย สีนำ้าเงินแกม
เขียว
ประเภทของเซลล์ข องสิ่ง มีช ีว ิต
(ต่อ )

• ยูค าริโ อติค เซลล์ (eukaryotic cell) เซลล์ที่
มีเยื่อหุ้มนิวเคลียสห่อหุ้มสารพันธุกรรม ได้แก่
เซลล์ของ ยีสต์ รา โปรโตซัว เซลล์สัตว์ต่าง ๆ
และเซลล์พืช
งานกลุ่ม

• ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ
4-5 คน
• สร้างแบบจำาลองเซลล์พืช
หรือ เซลล์สตว์
ั
• มีองค์ประกอบของเซลล์ครบ
• ให้มีความคงทน
• มีความสวยงาม
• มีความคิดสร้างสรรค์
• กำาหนดส่ง หลังสอบกลาง
ภาค

http://t0.gstatic.com/images?
q=tbn:ANd9GcSn0G1cOSQ6pDxVfO0SgZ8DWN4FSfNCsYyn_N1le5tlLgVo5S4UPA

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีนแบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีนWichai Likitponrak
 
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพสำเร็จ นางสีคุณ
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายAomiko Wipaporn
 
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3Anana Anana
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสBiobiome
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนSukanya Nak-on
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
แบบทดสอบประชากร
แบบทดสอบประชากรแบบทดสอบประชากร
แบบทดสอบประชากรWichai Likitponrak
 

What's hot (20)

แบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีนแบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีน
 
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
 
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
 
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
แบบทดสอบประชากร
แบบทดสอบประชากรแบบทดสอบประชากร
แบบทดสอบประชากร
 

Viewers also liked

แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์Wann Rattiya
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์dnavaroj
 
Normal organ biological effective dose azmal su jamila
Normal organ biological effective dose   azmal su jamilaNormal organ biological effective dose   azmal su jamila
Normal organ biological effective dose azmal su jamilaazmal sarker
 
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงWichai Likitponrak
 
Internal radiation dosimetry
Internal radiation dosimetryInternal radiation dosimetry
Internal radiation dosimetryNaslinda Rizan
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์Kittiya GenEnjoy
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตพัน พัน
 

Viewers also liked (13)

แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
Normal organ biological effective dose azmal su jamila
Normal organ biological effective dose   azmal su jamilaNormal organ biological effective dose   azmal su jamila
Normal organ biological effective dose azmal su jamila
 
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
 
Internal radiation dosimetry
Internal radiation dosimetryInternal radiation dosimetry
Internal radiation dosimetry
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
Radiation Protection
Radiation ProtectionRadiation Protection
Radiation Protection
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 

Similar to โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์

2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์Wichai Likitponrak
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์Sukan
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์Sukan
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์Sukan
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์Sukan
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)Thanyamon Chat.
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์chawisa44361
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนีmu_nin
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตTakky Pinkgirl
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptx
การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptxการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptx
การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptxssuser4ff757
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...kasidid20309
 

Similar to โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์ (20)

2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
4
44
4
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
 
Cell2558
Cell2558Cell2558
Cell2558
 
B03
B03B03
B03
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนี
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ใบงานที่7.1
ใบงานที่7.1ใบงานที่7.1
ใบงานที่7.1
 
Bbb
BbbBbb
Bbb
 
การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptx
การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptxการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptx
การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptx
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
 

More from Kankamol Kunrat

ใบความรู้ พลังงานในชีวิตประจำวัน
ใบความรู้ พลังงานในชีวิตประจำวันใบความรู้ พลังงานในชีวิตประจำวัน
ใบความรู้ พลังงานในชีวิตประจำวันKankamol Kunrat
 
ใบความรู้ เรื่อง งานและพลังงาน
ใบความรู้ เรื่อง งานและพลังงานใบความรู้ เรื่อง งานและพลังงาน
ใบความรู้ เรื่อง งานและพลังงานKankamol Kunrat
 
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกKankamol Kunrat
 
การรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
การรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆการรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
การรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆKankamol Kunrat
 
ระบบภูมิคุุ้มกัน
ระบบภูมิคุุ้มกันระบบภูมิคุุ้มกัน
ระบบภูมิคุุ้มกันKankamol Kunrat
 
การรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิตKankamol Kunrat
 
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์Kankamol Kunrat
 

More from Kankamol Kunrat (10)

ใบความรู้ พลังงานในชีวิตประจำวัน
ใบความรู้ พลังงานในชีวิตประจำวันใบความรู้ พลังงานในชีวิตประจำวัน
ใบความรู้ พลังงานในชีวิตประจำวัน
 
ใบความรู้ เรื่อง งานและพลังงาน
ใบความรู้ เรื่อง งานและพลังงานใบความรู้ เรื่อง งานและพลังงาน
ใบความรู้ เรื่อง งานและพลังงาน
 
Science.m.6.2
Science.m.6.2Science.m.6.2
Science.m.6.2
 
Science.m.6.1
Science.m.6.1Science.m.6.1
Science.m.6.1
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
 
การรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
การรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆการรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
การรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
 
ระบบภูมิคุุ้มกัน
ระบบภูมิคุุ้มกันระบบภูมิคุุ้มกัน
ระบบภูมิคุุ้มกัน
 
การรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิต
 
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
 

โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์

  • 2. การค้น พบเซลล์ การค้นพบเซลล์สิ่งมีชีวิตเกิดขึ้น ในปี ค.ศ. 1655 โดย นักพฤกษศาสตร์ ชาวอังกฤษ โรเบิร์ต ฮุค (Robert Hooke) ได้ใช้กล้องจุลทรรศน์ที่เขา ประดิษฐ์ขึ้นสังเกตโครงสร้างเล็กๆ ของไม้คอร์ก (cork) ที่ถูกเฉือนเป็นแผ่นบางๆ พบว่ามีลักษณะเป็น ห้องเล็กๆ คล้ายรังผึง เขาได้เรียกห้องเล็กๆเหล่านี้ ้ ว่า “เซลล์” (Cell) แต่เป็นเซลล์ที่ตายแล้วเหลือแต่ ผนังเซลล์ (cell wall) เท่านั้น กล้องจุลทรรศน์ของโรเบิร์ต ฮุค เซลล์ไม้คอร์กที่ตายแล้ว
  • 3. การค้น พบเซลล์ (ต่อ ) ต่อมาในปี ค.ศ. 1674 -1683 อังตวน แวน เลเวนฮุค (Anton Van Leeuwenhoek) นัก วิทยาศาสตร์ชาวดัทช์ (Dutch) ได้พัฒนา กล้องจุลทรรศน์ที่มีกำาลังขยายกว่า 200 เท่า และใช้ในการสังเกตสิ่งมีชวิตขนาดเล็กรูปร่างๆ ี แตกต่างกัน ได้แก่ โปรโทซัว (protozoa) แบคทีเรีย (bacteria) และสเปิร์ม (sperm) การ ค้นพบใน ครั้งนี้ถือว่าเป็นการ ค้นพบเซลล์จุลินทรีย์เป็นครั้งแรก
  • 4. การค้น พบเซลล์ (ต่อ )             หลังจากนั้นในปี ค.ศ. 1830-1839 นัก พฤกษศาสตร์ มัตทิอัส ชไลเดน (Matthias Schleiden) และนักสัตววิทยา เท โอดอร์ ชวันน์ (Theodor Schwann) ได้ศึกษา เซลล์พืชและเซลล์สตว์ชนิดต่างๆ รวมทั้งศึกษา ั บทบาทของนิวเคลียส (nucleus)ภายในเซลล์ ต่อการแบ่งเซลล์ ชไลเดน และ ชวันน์ ได้ รวบรวมความรู้ที่ได้และจัดตั้งเป็น “ทฤษฎีเซลล์” (The Cell Theory)
  • 5. การค้น พบเซลล์ (ต่อ ) “สิงมีชีวิตทั้งหลายย่อมประกอบไปด้วย ่ เซลล์ และเซลล์คอหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สดของ ื ุ สิ่งมีชีวิตที่มีการจัดระบบ” สรุปใจความที่สำาคัญได้ดังนี้          1. สิงมีชวิตทุกชนิดประกอบด้วยเซลล์ ่ ี          2. เซลล์เป็นหน่วยพื้นฐานของสิงมีชีวิต ่          3. เซลล์เกิดจากการแบ่งตัวของเซลล์ที่มี อยู่ก่อน
  • 6. รูป ร่า งและชนิด ของเซลล์ เซลล์ที่เรารู้จักมี 2 ชนิด คือ เซลล์พืช และ เซลล์สตว์ ั
  • 7.
  • 9. ส่ว นประกอบของเซลล์ ส่ว นประกอบของเซลล์ม ี 3 ส่ว นสำา คัญ ดัง นี้ 1. ส่ว นที่ห ่อ หุ้ม เซลล์ แบ่ง ออกเป็น 1.1 ผนังเซลล์ (Cell Wall) 1.2 เยื่อหุ้มเซลล์ (Plasma Membrane) 2. ไซโทพลาซึม (Cytoplasm) ประกอบด้ว ย 2.1 ไซโทซอล (Cytosol) 2.2 ออร์แกเนลล์ (Organelles)
  • 10. ส่ว นประกอบของเซลล์ (ต่อ ) 3. นิว เคลีย ส (Nucleus) ประกอบด้ว ย 3.1 เยื่อหุ้มนิวเคลียส (Nuclear Membrane) 3.2 นิวคลีโอพลาซึม (Nucleoplasm) 3.3 โครมาทิน (Chromatin) 3.4 นิวคลีโอลัส (Nucleolus)
  • 11. โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์ • เยื่อ หุ้ม เซลล์ (Cell membrane) เป็นเยื่อที่ บางมาก หนาประมาณ 7 นาโนเมตร ที่มีหน้าที่ ในการคัดเลือกสารที่จะเข้าออกจากเซลล์ และ ใช้ในการป้องกันตัวในสัตว์เซลล์เดียว ประกอบ - สายคาร์โบไฮเดรต - โมเลกุลของ ด้วย เชื่อมกับโปรตีนหรือ ฟอสโฟลิพิด ฟอสโฟลิพดด้านนอก ิ ของเซลล์ เป็นสารพวกไข มันเรียงตัวเป็น 2 ชั้น - โปรตีน แทรกตัวอยูในชั้นของ ่ ฟอสโฟลิพด ิ
  • 12. - มีคณสมบัติเป็นเยื่อเลือก ุ ผ่าน (Semipermeable Membrane) มีห น้า ที่ - ควบคุมการผ่านเข้า-ออกของสาร ระหว่างเซลล์กับสิงแวดล้อม ่ ภายนอก - จดจำาโครงสร้างของเซลล์บาง
  • 13. โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์ (ต่อ ) • ผนัง เซลล์ (Cell wall) เซลล์พืชทุกชนิดจะมี ผนังเซลล์ ประกอบด้วยสารสำาคัญคือ เส้นใย เซลลูโลส ห่อหุ้มอยู่ด้านนอกของเยื่อหุ้มเซลล์ เรียงตัวแบบไขว้กัน จึงทำาให้เซลล์พืชมีรูปร่าง คงที่และแข็งแรง ผนังเซลล์มักยอมให้สารต่าง ๆ ผ่านเข้าออกสะดวก  มีชองเล็ก ๆ ติดต่อระหว่าง ่ เซลล์  เรียกว่า พลาสโมเดสมาตา (plasmodesmata)
  • 14. โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์ (ต่อ ) - อยู่ถัดจากเยื่อหุ้มเซลล์ออกไป (ผนังเซลล์พบที่ เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบางประเภท เช่น พืช สาหร่าย เห็ด รา และ แบคทีเรีย) - ยอมให้สารผ่านได้หมด (ซึ่ง จะแตกต่างจาก ทำา หน้า ที่ เยื่อหุ้ม - ปกป้องและคำ้าจุนเซลล์ เซลล์)
  • 15. โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์ (ต่อ ) • พลาสโมเดสมาตา (Plastmodesmata) เป็นช่องว่างเล็กจำานวนมาก ทำาหน้าที่เชื่อมเซลล์ ที่อยู่ใกล้เคียงกัน เพื่อช่วยในการขนถ่ายสิงๆ ่ ต่างๆระหว่างเซลล์พืช เช่น นำ้า สารอาหาร ฮอร์โมน
  • 16. โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์ (ต่อ ) • ไซโทพลาสซึม (Cytoplasm) เป็นส่วน ประกอบภายในเซลล์ทั้งหมด ยกเว้นนิวเคลียส เป็นสารละลายของสารอินทรีย์และเกลือแร่ต่างๆ รวมทั้งสารแขวนลอย มีลักษณะคล้ายวุ้น ข้น และหนืด เป็นที่อยู่ของโครงสร้างเล็กๆ เรียกว่า ออร์แกเนลล์ (Organelle) หลายชนิด
  • 17. โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์ (ต่อ ) • ไซโทซอล (Cytosol) เป็นสารกึ่งของเหลว มี อยู่ประมาณร้อยละ 50 – 60 ของปริมาตรเซลล์ ทั้งหมด เซลล์ส่วนใหญ่มักมีปริมาตรของไซโท ซอล ประมาณ 3 เท่า ของปริมาตรนิวเคลียส บริเวณด้านนอกที่อยู่ติดกับเยื่อหุ้มเซลล์ เรียกว่า เอ็ บริเวณด้านใน เอ็กโทพลาซึม (ectoplasm)ก โทพลาซึม (ectoplasm) เรียกว่า เอนโดพลาสซึม (endoplasm) เอนโดพลาสซึม (endoplasm)
  • 18. โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์ (ต่อ ) • ออร์แกเนลล์ (Organelles) โครงสร้างขนาดเล็ก ที่ทำาหน้าที่เฉพาะมีหลายขนาด รูปร่าง จำานวน และหน้าที่ต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของเซลล์ เป็นส่วนประกอบที่จำาเป็นต่อการดำารง ชีวิตของเซลล์ และบางส่วนจำาเป็นสำาหรับ ทำา หน้าที่พิเศษของเซลล์ ออร์แกเนลล์ ที่สำาคัญ ได้แก่   1. ร่างแหเอนโดพลาสมิกเรติคลัม ู (endoplasmic reticulum)    2. ไรโบโซม (ribosome) 6. เซนทริโอล (centriole)
  • 19. โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์ (ต่อ ) • นิว เคลีย ส (Necleus) เป็นหน่วยที่เล็กที่สุด ทำาหน้าที่ควบคุมกระบวนการต่างๆภายในเซลล์ ภายในนิวเคลียสบรรจุสารพันธุกรรมที่กำาหนด ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
  • 20. โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์ (ต่อ ) เป็นโครงสร้างที่มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น และมีโครโมโซมอยู่ ภายใน มีห น้า ที่ - ควบคุมการสังเคราะห์โปรตีนและ การสืบพันธุ์ ของเซลล์ - เป็นแหล่งเก็บโครโมโซม
  • 21. โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์ (ต่อ ) • เยื่อ หุ้ม นิว เคลีย ส (nuclear membranes, Nuclear envelope, perinuclear, envelopenucleolemma หรือ karyotheca) เป็นเยื่อบางๆ 2 ชัน เรียงซ้อนกัน ที่เยื่อนี้จะมีรู ้ เรียกว่านิวเคลียร์พอร์ (nuclear pore) หรือ แอนนูลัส (annulus) มากมาย ทำาหน้าที่เป็นทาง ผ่านของสารต่างๆ ระหว่างไซโทพลาซึมและ นิวเคลียส นอกจากนี้เยื่อหุ้มนิวเคลียสยังมีลักษณะเป็น เยื่อเลือก ผ่านเช่นเดียวกับ เยื่อ
  • 23. โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์ (ต่อ ) • นิว คลีโ อพลาซึม (Nucleoplasm) คือส่วนที่อยู่ภายในเยื่อหุ้มนิวเคลียส ประกอบ ด้วย - นิวคลิโอลัส ( Nucleolus ) - โครมาติน ( Chromatin ) http://www.bcnlp.ac.th/Anatomy/page/apichat/celltissue/picture/nucleus.jpg
  • 24. โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์ (ต่อ ) • นิว คลิโ อลัส ( Nucleolus ) เป็นแหล่ง สังเคราะห์และรวบรวมกรดไรโบนิวคลีอิค ( ribonucleic acid ) เรียกย่อว่า RNA ทำาหน้าที่ นำาคำาสั่ง จากนิวเคลียสไปยังเซลล์สวน ่ อื่นๆ และสร้างไรโบโซมเพื่อไปทำาหน้าที่ สังเคราะห์โปรตีน
  • 25. โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์ (ต่อ ) • โครมาติน ( Chromatin ) เส้นใยขนาดเล็กที่ ย้อมติดสีจำานวนมากมายขดม้วนซ้อนกันเหมือน ร่างแห เส้นใยโครมาทิน ประกอบด้วยดีเอ็นเอ และโปรตีนประเภทฮิสโทน (histone)
  • 26. โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์ (ต่อ ) ก เรติค ล ัม ร่า งแหเอนโดพลาสมิ ู (endoplasmic reticulum) มี ลักษณะเป็นเยื่อบางๆ 2 ชัน เรียงทบไปมาคล้าย ้ ถุงแบนๆ กระจายทั่วไปในโซโตพลาสซึม จำาแนกได้เป็น 2 ชนิด คือ http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/45/2/cell/i mage/Endoplasmic.jpg
  • 27. โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์ (ต่อ ) • > เอนโดพลาสติกเรติคูลัมชนิดขรุขระ (rough endoplasmic reticulum : RER ) เป็นเยื่อ ร่างแหที่มีลักษณะขรุขระเพราะมีไรโบโซมมา จับอยู่ที่ เมมเบรนทำาหน้าที่สังเคราะห์ โปรตีนที่เป็นองค์ประกอบของ ‘endomembrane system’ และโปรตีนที่ส่ง ออกไปนอกเซลล์ทำาหน้าที่คล้ายกันกับเอ็นโด พลาสมิคเรติคูลัมชนิดเรียบ พบในเซลล์สัตว์ เท่านั้น สังเคราะห์ โปรตีนในใบ และ ต้น
  • 29. โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์ (ต่อัมชนิดเรียบ (smooth ) • > แอนโดพลาสติกเรติคล ู endoplasmic reticulum : SER) เป็นเยื่อ ร่างแหที่มีลักษณะเรียบ เชือมโยงระหว่าง ่ นิวเคลียสกับเซลล์เมมเบรน ประกอบไปด้วยไข มันและโปรตีน ทำาหน้าที่ในการขนส่งสารต่าง ๆ ผ่านเซลล์ และเกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ สเต รอยด์ (steroid) บางชนิด เช่น ฮอร์โมนเพศ ไตรกลีเซอไรด์ สารประกอบของคอเลสเตอรอล
  • 31. - RER สร้างสารประเภท โปรตีนสำาหรับส่งออกไปใช้ ภายนอกเซลล์ - SER สร้างสารประเภทลิ พิด (Lipid) และกำาจัดสาร พิษ
  • 32. • โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์ (ต่ ล ) ไรโบโซม (ribosome) มีอักษณะเป็นรูปทรงกลม หรือรูปไข่ มีขนาดเล็กมาก ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส พบในเซลล์ทุกชนิด โดยเฉพาะเซลล์ที่สร้าง โปรตีนได้มากจะมีจำานวนไรโบโซมมากกว่าเซลล์ อื่น ประกอบไปด้วยสารโปรตีนรวมกับ r RNA (ribosomal RNA) หน้าที่ของไรโบโซม คือ เป็นแหล่งที่สร้างหรือ สังเคราะห์โปรตีน คือ สังเคราะห์โปรตีน แล้วส่งออกไปใช้นอกเซลล์ เช่น เซลล์สร้างนำ้า ย่อย ในตับอ่อน http://t0.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcQhyTuw2PS57kp1Iy9yk3cDl2DBieU9tVnDEK8EZgs_7b2vuMlf8a_OCIxG
  • 33. http://www.il.mahidol.ac.th/emedia/dna/chapter/stockimages/5translation/rrna2.jpg - มีขนาดเล็ก ประกอบด้วย โปรตีนและ RNA - มีทั้งไรโบโซมอิสระ (ลอย อยู่ในไซโทพลาซึม) และไรโบโซมยึดเกาะ เช่น เกาะอยู่ที่เอนโดพลาสมิกเรติคลัม (ER) ู น้า ที่ งสารประเภทโปรตีนสำาหรับใช้ภายในเซลล์ http://www.biology18542.hostei.com/images/ribrosome.jpg
  • 34. โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์ (ต่อ ) • กอลจิบอดี (golgi body) หรือกอลจิแอพพา ราทัส (golgi apparatus) เป็นส่วนที่อยู่ใกล้ นิวเคลีส เป็นโครงสร้างที่ประกอบด้วย ถุง( vacuole) หุ้มด้วยเยื่อบาง ๆ หลาย ๆ ถุง เรียงกัน ภายในถุงจะมีสารที่เซลล์จะขนส่งออก นอกเซลล์ ทำาหน้าที่ในขบวนการขนถ่าย ( secretion ) เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ไลโซ โซมและเซลเพลทของพืช http://158.108.17.142/museum/MotherEarth/golgi.bmp
  • 35. -มีลักษณะคล้ายถุงแบนๆ -เรียงซ้อนกันเป็นชัน ้ http://vichakarn.triamudom.ac.th/comtech/studentproject/sci/cell6/topic /golgi.jpg ทำา หน้า ที่ - สร้างเวสิเคิลหุ้มโปรตีน ที่ RER สร้างขึ้นแล้ว ลำาเลียง ไปยังเยื่อหุ้มเซลล์เพื่อส่ง โปรตีนออกไปนอกเซลล์ http://www.atom.rmutphysics .com/charud/oldnews/0/286/
  • 36. โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์ (ต่อ ) • ไมโคคอนเดรีย (mitochondria) พบเฉพาะใน เซลล์ยูคาริโอท ประกอบด้วยโปรตีน ไขมัน DNA RNA และไรโบโซม รูปร่างไม่แน่นอน อาจจะเป็นก้อน (granular) เป็นท่อนยาว ๆ(filamentous) หรือคล้ายกระบอง(club shape) ก็ได้ มีเยื่อหุ้มสองชันภายในมีเอ็นไซม์ ้ ที่เกี่ยวข้องกับการหายใจแบบใช้ออกซิเจน หลายชนิด • แบคทีเรียไม่มี ไมโตคอนเดรีย แต่จะมีโปรตีน และสารอื่น ละลายอยู่ในไซโต โซมทำาหน้าที่เป็นแหล่งผลิตพลังงาน
  • 37. ชันนอกผิวเรียบ ส่วนชันใน ้ ้ พับเข้าไป ด้านใน เรียกว่า คริ สตี (cristae) ภายในมี ของเหลวซึ่งประกอบด้วย สารหลายชนิด เรียกว่า เม เป็นแหล่งสร้างพลังงาน ทริก ซ์ (matrix) ซึ่งมีไรโบ ให้แก่เซลล์ โซม และ DNA ลอยอยู่ จากกระบวนการสลาย สารอาหาร ภายในเซลล์แบบใช้ ออกซิเจน หรือ เรียกว่า การหายใจ http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/s cience04/45/2/cell/image/mitochondriax_resize.jpg http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/45/2/cell/i mage/mito_resize.gif
  • 38. โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์ (ต่อ ) • พลาสติด (Plastid) คือ เม็ดสีในเซลล์ เป็นออร์ แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม  2 ชัน พบได้ในเซลล์พืชและ ้ สาหร่ายทั่วไป ยกเว้นสาหร่ายสีเขียวแกม นำ้าเงิน จำาแนกได้  3 ชนิด  ได้แก่ คลอโร พลาสต์  โครโมพลาสต์ และลิวโคพลาสต์ • คลอโรพลาสต์ (chloroplast) เป็นพลาสติดที่ มีสเขียวเพราะมีคลอโรฟีลล์เป็นองค์ประกอบเป็น ี ส่วนใหญ่ เป็นแหล่งสร้างอาหาร ของพืชและโพรติสต์บางชนิด
  • 39. • ภายในมีโครงสร้างคล้ายถุงแบน ๆ มีเยื่อหุ้ม เรียก ว่า ไทลาคอยด์ (thylakoid) และไทลาคอยด์ จะ เรียงซ้อนกันเป็นตั้งเรียกว่า  กรานุม   (granum)  แต่ละกรานุมมีโครงสร้างเชื่อม ต่อถึงกัน   • บนไทลาคอยด์มีสารสีที่ใช้ในกระบวนการ
  • 40. หน้า ที่ : - เป็นแหล่งสร้างอาหาร กลูโคสให้แก่เซลล์ (คลอโรพลาสต์สร้างอาหาร จากกระบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสง) http://www.geocities.ws/p_ook_kung/chloroplast.jpg http://t3.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcSdH9z17HuvNj_De3JYlm3ybaaGLv14WtOK1oR9l-y6F_uhxv91OdTtsVTug
  • 41. โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์ (ต่อ ) • เซนทริโ อล (centriole)   เป็นออร์แกเนลล์ที่ ไม่มีเยื่อหุ้ม พบในเซลล์สตว์และสิงมีชีวิตเซลล์ ั ่ เดียว ไม่พบในเซลล์พืช และ เห็ด รา อยู่เป็นคู่ วางตั้งฉากกัน อยู่ใกล้ ๆ กับเยื่อหุ้มนิวเคลียส    ประกอบด้วย หลอดเล็ก ๆ เรียกว่า ไมโครทิว บูล  (microtubule)  เรียงเป็นกลุ่มกลุ่มละ 3หลอด มีทั้งหมด 9 กลุ่ม เชื่อมต่อกัน เป็นทรงกระบอก บริเวณตรงกลางไม่ มีไมโคทูบล เรียกการ ู เรียงตัวแบบนี้ว่า 9 + 0 
  • 43. โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์ (ต่อ ) • ไลโซโซม (lysosome) ไลโซโซมเป็นออร์ แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้มชั้นเดียวรูปร่างกลมรี มี ลักษณะเป็นถุงกลมๆ เรียกว่า เวสิเคิล (เป็นเวสิ เคิลที่สร้างจากกอลจิคอมเพล็กซ์) ภายในมี เอนไซม์ที่ใช้สำาหรับย่อยสารต่างๆบรรจุอยู่ ในไลโซโซมมีเอนไซม์ย่อยอาหาร ไลโซ โซมจะรวมกับเวสิเคิลหรือ แวคิวโอล ที่มีอาหารอยู่ มีเอนไซม์ทำาลายสิ่งแปลกปลอม และทำาลาย ออร์แกเนลล์ที่เสือม ่ สภาพ http://plc.cwru.edu/tutorial/enhanced/files/llc /Chem/vesicle.gif
  • 45. โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์ (ต่อ ) • แวคคิว โอล (vacuole) คือ ถุงบรรจุสาร เป็น ออร์แกเนลล์ที่มีลักษณะเป็นถุง มีเมมเบรนที่ เรียกว่า โทโนพลาสต์ (tonoplast) ห่อหุ้ม ภายในมีสารต่าง ๆ บรรรจุอยู่ โดยทั่วไปจะพบ ในเซลล์พืชและเซลล์สตว์ชั้นตำ่า  ั ในสัตว์ชนสูงไม่คอยพบ แวคิวโอลแแบ่งออก ั้ ่ เป็น 3 ชนิด คือ http://www.vcharkarn.com/uploads/21/21203.gif
  • 46. โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์ (ต่อ ) •  คอนแทร็ก ไทล์แ วคิว โอล (contractile vacuole) ทำาหน้าที่รักษาสมดุลของนำ้า พบใน เซลล์ อะมีบา พารามีเซียม http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/45/2 /cell/image/contractile_vacuole.gif http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/45/2/cell/i mage/parame_contract.gif
  • 48. โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์ (ต่อ ) • ฟูด แวคิว โอล  (food vacuole)   บรรจุอาหาร ที่รับมาจากนอกเซลล์เพื่อย่อยสลายต่อไป พบ ใน เซลล์เม็ดเลือดขาวและสิ่งมีชวิตเซลล์เดียว ี http://www.biologycorner.com/resources/paramecium.gif http://www.cartage.org.lb/en/themes/sciences/botanicalsciences/major divisions/kingdomprotista/Protists/paramecvacs.gif
  • 49. โครงสร้า งและหน้า ที่ข องเซลล์ (ต่อ ) • แซบแวคิว โอล (sap vacuole) พบในเซลล์ พืช ตอนอายุนอย ๆ มีจำานวนมาก แต่เมื่ออายุ ้ มากเข้าจะรวมเป็นถุงเดียวขนาดใหญ่  มีหน้าที่สะสมสาร เช่น สารสี ไอออน นำ้าตาล สารพิษ http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/45/2/cell/ihttp://t1.gstatic.com/images? mage/plantvacuole.jpg q=tbn:ANd9GcSdJ4th1jVngKJquiPpa48E2pXkuvKzg0avB5Zg0Oq-
  • 50. ประเภทของเซลล์ข องสิ่ง มีช ีว ิต • โปรคาริโ อติค เซลล์ (prokaryotic cell) เป็น เซลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียสห่อหุ้มสาร พันธุกรรม (genetic material) ได้แก่ เซลล์ของ แบคทีเรีย ริคเก็ตเซีย และสาหร่าย สีนำ้าเงินแกม เขียว
  • 51. ประเภทของเซลล์ข องสิ่ง มีช ีว ิต (ต่อ ) • ยูค าริโ อติค เซลล์ (eukaryotic cell) เซลล์ที่ มีเยื่อหุ้มนิวเคลียสห่อหุ้มสารพันธุกรรม ได้แก่ เซลล์ของ ยีสต์ รา โปรโตซัว เซลล์สัตว์ต่าง ๆ และเซลล์พืช
  • 52. งานกลุ่ม • ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน • สร้างแบบจำาลองเซลล์พืช หรือ เซลล์สตว์ ั • มีองค์ประกอบของเซลล์ครบ • ให้มีความคงทน • มีความสวยงาม • มีความคิดสร้างสรรค์ • กำาหนดส่ง หลังสอบกลาง ภาค http://t0.gstatic.com/images? q=tbn:ANd9GcSn0G1cOSQ6pDxVfO0SgZ8DWN4FSfNCsYyn_N1le5tlLgVo5S4UPA