SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
Download to read offline
แนวทางการวางระบบการติดตามปัญหาการ
เผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่ า
ณ แนวเชื่อมต่อทางนิเวศอ่างฤาไน-เขาชะเมา
ปัญหาการเผชิญหน้าระหว่างคนและช้างป่ า
สูญเสียชีวิต
ทั้งคนและช้าง
สูญเสียทรัพย์สิน
ผลผลิตทางการเกษตร
เสียหาย
การสูญเสียความรู้สึกที่ดี
ต่อกันระหว่างช้างและคน
ขาดการมีส่วนร่วมในการ
แก้ปัญหาของคนในพื้นที่
เครื่องมือส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา คือ
ระบบการบันทึกและรายงานข้อมูล ฯ
กลุ่มรักษ์เขาชะเมา
โครงการคืนแผ่นดินสร้างถิ่นอาหารช้าง
โครงการทางช้างผ่าน
สื่อรณรงค์เพื่อสร้างความเข้าใจเรื่องช้าง
โครงการแก้ปัญหาช้างรุกพื้นที่เกษตรกรรมม.3 ต.ห้วยทับ
มอญ โดยงบประมาณจากกองทุนเพื่อสังคม (sif)
กลุ่มคนทางาน
ด้านสิ่งแวดล้อม
ด้านเด็ก-เยาวชน
ด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น
วัตถุประสงค์ของโครงการ
เพื่อให้กลุ่มป่ าตะวันออกมีรูปแบบ
“ระบบบันทึกและรายงานข้อมูลการเผชิญหน้าของคนกับช้างป่ า”
ในแนวเชื่อมต่อทางนิเวศน์อ่างฤาไน-เขาชะเมา
ที่ได้รับการออกแบบ
อย่างมีส่วนร่วมจากภาคประชาชน
และสามารถนาไปใช้โดยภาคประชาชนและหน่วยงานต่าง ๆ
เป้าหมาย
เพื่อสร้างระบบการบันทึกและ
รายงานอย่างมีส่วนร่วม
สามารถนาข้อมูลไปใช้ได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
พื้นที่การดาเนินงาน
กลุ่มเขตป่ าตะวันออก โดยเฉพาะแนวเชื่อมต่อ
ระหว่างอุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง และเขต
รักษาพันธุ์สัตว์ป่ าเขาอ่างฤาไน
(ระยอง - จันทบุรี)
พื้นที่ปฏิบัติการ
ขอบเขตการดาเนินงาน
• ทาความเข้าใจกับกลุ่มตัวอย่างที่มีประสบการณ์การเผชิญหน้ากับช้างป่า
• นาข้อมูลที่ได้มา ยกร่างให้เกิดเป็นโครงสร้างของระบบการบันทึกข้อมูลฯโดยครอบคลุม
เนื้อหา
1. ข้อมูลทางชีวกายภาพของตาแหน่งที่เกิดการเผชิญหน้าของคนและช้าง
2. ข้อมูลของช้างป่าที่ได้พบเห็นในแต่ละครั้ง
3. ข้อมูลฝ่ายคนคนที่เผชิญหน้ากับช้างป่า
4. ข้อมูลของผู้จดบันทึก
• หารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณาถึงรูปแบบ วิธีการ การวางระบบ
• วิธีการสร้างต้นแบบและเครือข่ายผู้บันทึกข้อมูล
• นาเสนอ “รูปแบบของระบบบันทึกและรายงานข้อมูล” ต่อคณะกรรมการ ฯ
• จัดทารายงานผลการออกแบบระบบบันทึก ฯ ”
ขั้นตอนการดาเนินงาน
1. ชี้แจงรายละเอียดโครงการให้กลุ่มตัวอย่างทราบ
2. ยกร่างแบบบันทึกฯ และรวบรวมแบบบันทึกฯ นามาปรับปรุง
3. ทดลองใช้และปรับปรุงโดยประชากรกลุ่มตัวอย่างและไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จนเห็นชอบ
ร่วมกัน
4. นาเสนอต่อคณะกรรมการ และนาข้อเสนอมาปรับปรุงแบบบันทึก
5. หารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณาถึงรูปแบบ วิธีการ การวางระบบ การสร้าง
เครือข่ายผู้บันทึกข้อมูล
6. นาเสนอ “รูปแบบของระบบบันทึกและรายงานข้อมูล” ต่อคณะกรรมการ ฯ
7. ปรับปรุงแบบบันทึก ฯและรายงานฯ ตามข้อเสนอของคณะกรรมการและจัดทาเป็น
“รูปเล่ม” ต่อไป
อรทัย สุขถาวร
129/1 ม.7 ต.ห้วยทับมอญ อ.เขาชะเมา จ.ระยอง
ญาณี ใจตั้ง
50 ม.3 ต.ห้วยทับมอญ อ.เขาชะเมา จ. ระยอง
สมชัย ค่าสุริยา
10 ม.3 ต.พวา อ.แก่งหางแมว จ.. จันทบุรี
บุญเลิส ดุชิตา
75/1 ม.2 ต.พวา อ.แก่งหางแมว จ.จันทบุรี
กลุ่มวนเกษตรโดย กัญญา ดุชิตา
ต.พวา อ.แก่งหางแมว จ. จันทบุรี
สุจินต์ บุตรวงศ์
173 ม.3 ต.เขาวงกต อ.แก่งหางแมว จ.. จันทบุรี
กลุ่มตัวอย่างของ
ประชาชนที่มี
ประสบการณ์ใน
การเผชิญหน้า
กับช้างป่ า
ประชาชน
นอกกลุ่มตัวอย่าง
หารือกับผู้นาท้องถิ่นเรื่องโครงสร้างการจัดเก็บและการนาข้อมูลไปใช้
คุณสมหมาย อิสระนาเวศ
กานัน ต. เขาวงกต อ. แก่งหางแมว
จ.จันทบุรี
คุณทนง เมธาวรากูล
นายกสภาเทศบาล ต. พวา อ.แก่งหางแมว
จ. จันทบุรี
คุณสมชาย อิสรนาเวศ และ คุณสมพิศ ทองคา
ประธาน อบต. เขาวงกต และ ส.อบต. เขาวงกต
คุณอรุณ เหมือนเรือง
ผู้ใหญ่บ้านม.2 ต. เขาวงกต
อ.แก่งหางแมวจ. จันทบุรี
คุณธรรมศักดิ์ เลาหกัยกุล
กานัน ต. น้าเป็น อ.เขาชะเมา
จ.ระยอง
คุณจุฑารัตน์ สอดส่อง
ผู้ใหญ่บ้าน ม. 7 ต. ห้วยทับมอญ
อ.เขาชะเมา จ.ระยอง
คุณบุญธรรม จันทรา
ผู้ใหญ่บ้าน ม.3 ต.ห้วยทับมอญอ.เขาชะเมา
จ.ระยอง
คุณธงชัย หมายมั่น
ส. อบต. ต.ห้วยทับมอญ อ.เขาชะเมา
จ.ระยอง
คุณพิทักษ์ ยืนยง
หัวหน้าหน่วยพิทักษ์ป่ าสีระมัน
ภาคประชาชน
(นายลาพูน ยอดนาดี)
ผู้นาศูนย์เฝ้าระวังและติดตามช้างป่า อ.เขาชะเมาจ.ระยอง
นาเสนอข้อมูล
ต่อ “คณะกรรมการ ฯ”
แบบบันทึกข้อมูลสภาวะ
การเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่ า
แบบรายงานข้อมูลการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่ า
มีอยู่5 แบบ ได้แก่
1. แบบรายงานข้อมูลการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่าระดับหมู่บ้าน
2. แบบรายงานข้อมูลการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่าระดับตาบล
3. แบบรายงานข้อมูลการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่าระดับอาเภอ
4. แบบรายงานข้อมูลการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่าระดับจังหวัด
5. แบบรายงานข้อมูลการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่า (สาหรับหน่วยงานทั่วไป)
ทรัพย์สิน อื่น ๆ อืน ๆ
บาดเจ็บ เสียชีวิต
บางส่วน ทั้งหมด บางส่วน ทั้งหมด
(ชนิด-จานวน)
ระบุ....................... ระบุ..................
รวม จานวนผู้ได้รับผลกระทบ..........คน
เอกสารประกอบ1. แผนที่ จุดพิกัดที่พบช ้างป่า ระดับหมู่บ ้าน
2. ภาพความเสียหายจากช ้างป่า รูปภาพ ...........ภาพ ภาพเคลื่อนไหว.............ภาพ
ลงชื่อ .......................................ผู้รายงาน
( )
ตาแหน่ง...........................................................
แบบรายงานข้อมูลการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่ า (ระดับหมู่บ้าน)
ม.............ชื่อหมู่บ้าน................................ต..............................อ..................................จ...............................
ประจาเดือน...........................................ปี ..............................
บ้านเลขที่
จานวนช้างที่พบ
หมายเหตุความคิดเห็น
สับปะรด
มันสัมปะหลัง
เลขที่อ้างอิง
คน
ความเสียหาย
อารมณ์/พฤติกรรม
ลองกอง ขนุน
มะพร้าว
กล้วย
จานวนครั้งที่พบช้าง
วันที่
ชื่อ- สกุล
จานวนผู้ จานวนครั้ง
ได้รับ ที่ อื่น ๆ อืน ๆ
ผลกระทบ พบช้าง บาดเจ็บ เสียชีวิต บางส่วน ทั้งหมด บางส่วน ทั้งหมด ระบุ.......................ระบุ..................
รวม
เอกสารประกอบ 1. แผนที่ จุดพิกัดที่พบช ้างป่า ระดับตาบล
2.ภาพความเสียหายจากช ้างป่า รูปภาพ.......... ภาพ ภาพเคลื่อนไหว............. ภาพ
ลงชื่อ .......................................ผู้รายงาน
( )
ตาแหน่ง...........................................................
หมู่ที่
แบบรายงานข้อมูลการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่ า(ระดับตาบล)
ต..............................อ..................................จ...............................
ประจาเดือน...........................................ปี ..............................
ชื่อหมู่บ้าน
ความเสียหาย
หมายเหตุคน ลองกอง ขนุน
มะพร้าว
กล้วย
สับปะรด
มันสัมปะหลัง
ทรัพย์สิน
จานวน จานวนครั้ง
ผู้ได้รับ ที่ อื่น ๆ อืน ๆ
ผลกระทบ พบช้าง บาดเจ็บ เสียชีวิต บางส่วน ทั้งหมด บางส่วน ทั้งหมด ระบุ.......................ระบุ..................
รวม
เอกสารประกอบ 1. แผนที่ จุดพิกัดที่พบช ้างป่า ระดับอาเภอ
2.ภาพความเสียหายจากช ้างป่า รูปภาพ.......... ภาพ ภาพเคลื่อนไหว............. ภาพ
ลงชื่อ.......................................ผู้รายงาน
( )
ตาแหน่ง...........................................................
ลาดับที่
แบบรายงานข้อมูลการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่ า(ระดับอาเภอ)
อ..................................จ...............................
ประจาเดือน...........................................ปี ..............................
ชื่อตาบล
ความเสียหาย
หมายเหตุคน ลองกอง ขนุน
มะพร้าว
กล้วย
สับปะรด
มันสัมปะหลัง
ทรัพย์สิน
จานวน จานวนครั้ง
ผู้ได้รับ ที่ อื่น ๆ อืน ๆ
ผลกระทบ พบช้าง บาดเจ็บ เสียชีวิต บางส่วน ทั้งหมด บางส่วน ทั้งหมด ระบุ....................... ระบุ..................
รวม
เอกสารประกอบ 1. แผนที่ จุดพิกัดที่พบช ้างป่า ระดับอาเภอ
2.ภาพความเสียหายจากช ้างป่า รูปภาพ.......... ภาพ ภาพเคลื่อนไหว............. ภาพ
ลงชื่อ .......................................ผู้รายงาน
( )
ตาแหน่ง...........................................................
ลาดับที่
แบบรายงานข้อมูลการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่ า(ระดับจังหวัด)
จ...............................
ประจาเดือน...........................................ปี ..............................
ชื่ออาเภอ
ความเสียหาย
หมายเหตุคน ลองกอง ขนุน
มะพร้าว
กล้วย
สับปะรด
มันสัมปะหลัง
ทรัพย์สิน
ทรัพย์สิน อื่น ๆ อืน ๆ
บาดเจ็บ เสียชีวิต บางส่วน ทั้งหมด บางส่วน ทั้งหมด (ชนิด-จานวน) ระบุ.......................ระบุ..................
รวม จานวนผู้ได้รับผลกระทบ..........
ลงชื่อ .......................................ผู้รายงาน
( )
ตาแหน่ง...........................................................
ความเสียหาย
ความคิดเห็น หมายเหตุคน ลองกอง ขนุน
มะพร้าว
กล้วย
สับปะรด
มันสัมปะหลัง
แบบรายงานข้อมูลการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่า (สาหรับหน่วยงานทั่วไป)
ชื่อหน่วยงาน....................................................................................................................................
ประจาเดือน...........................................ปี ..............................
เลขที่อ้างอิง
ครั้งที่
วันที่
ชื่อ-สกุล
ที่อยู่
จานวนช้างที่พบ
อารมณ์/พฤติกรรม
ข้อเสนอระบบโครงสร้างการจัดเก็บข้อมูล
และการนาไปใช้
สร้างเครือข่ายผู้ได้รับผลกระทบในพื้นที่
เครือข่าย
ภาค
ประชาชน
หน่วยงาน
ภาครัฐ
สมาคมฯ
- รับแจ้งเหตุในพื้นที่ของ
ตนเอง
- รวบรวมและประมวลผลแบบ
เก็บข้อมูลจากประชาชนผู้
ประสบเหตุ
- ส่งต่อข้อมูลให้หน่วยงานที่
ต้องการ
เพื่อเป็นศูนย์กลางในการรวบรวม
และกระจายข้อมูล
โครงสร้างการจัดเก็บและรายงานข้อมูล
ประชาชนผู้ได้รับ
ผลกระทบ ฯ
เครือข่าย
ระดับหมู่บ้าน
เครือข่าย
ระดับตาบล
หน่วยงานภาครัฐ
และเอกชน
เครือข่าย
ระดับอาเภอ
เครือข่าย
ระดับจังหวัด
แบบรายงาน ฯ
ระดับตาบล
แบบบันทึก ฯ
แบบรายงาน ฯ
ระดับหมู่บ้าน
แบบรายงาน ฯ
ระดับอาเภอ
แบบรายงาน ฯ
ระดับจังหวัด
สมาคม ฯอปท.
แบบบันทึก ฯ แบบบันทึก ฯ
เงินชดเชย
หน่วยงานทั่วไป
แบบบันทึก ฯ
แบบรายงาน ฯสาหรับหน่วยงานทั่วไป
หน่วยงานระดับสูงขึ้นไป
โครงสร้าง การใช้ข้อมูลเชิงวิชาการ
ประชาชนผู้ได้รับ
ผลกระทบ
อปท.
ข้อมูล
ฝ่ายปกครอง
อนุรักษ์
นักวิชาการ
ฯลฯ
สมาคมฯ
เครือข่าย
สนับสนุนการทางานของเครือข่าย ฯ
แบบบันทึก ฯ
รวบรวม
โครงสร้างการใช้ข้อมูลเพื่อการชดเชยความเสียหาย
ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบ
เครือข่ายฯ สมาคม
หน่วยงานภาครัฐ/เอกชน
กองทุน ฯ
อปท.
วาระแห่งชาติ
วาระจังหวัด
ฐานข้อมูลเชิงวิชาการ
นาข้อมูลไปใช้ในการแก้ปัญหา
สร้างความร่วมมือ
ระหว่างภาครัฐ - เครือข่าย
สร้างเครือข่าย ผู้ได้รับผลกระทบในพื้นที่
เพื่อเก็บ รวบรวม และ รายงานข้อมูลฯ
จัดตั้งสมาคม – กองทุนแทนคุณระบบนิเวศ(PES)
แนวทางการวางระบบการติดตามปัญหาการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่า

More Related Content

Viewers also liked

Self portrait drawing
Self portrait drawingSelf portrait drawing
Self portrait drawing
Rachel Hayes
 
Απο τη Ρώμη στη Νέα Ρώμη
Απο τη Ρώμη στη Νέα ΡώμηΑπο τη Ρώμη στη Νέα Ρώμη
Απο τη Ρώμη στη Νέα Ρώμη
Evangelia Patera
 
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
Thidarat Termphon
 

Viewers also liked (15)

ダメダメだった過去といい感じな今のチームの話
ダメダメだった過去といい感じな今のチームの話ダメダメだった過去といい感じな今のチームの話
ダメダメだった過去といい感じな今のチームの話
 
Ashok leyland
Ashok leylandAshok leyland
Ashok leyland
 
Analytika ve světě e-mailingu
Analytika ve světě e-mailinguAnalytika ve světě e-mailingu
Analytika ve světě e-mailingu
 
architectural case study, sun temple, kashmir
architectural case study, sun temple, kashmirarchitectural case study, sun temple, kashmir
architectural case study, sun temple, kashmir
 
Ashok leyland valuation
Ashok leyland valuationAshok leyland valuation
Ashok leyland valuation
 
เกษตรแปลงใหญ่
เกษตรแปลงใหญ่เกษตรแปลงใหญ่
เกษตรแปลงใหญ่
 
Self portrait drawing
Self portrait drawingSelf portrait drawing
Self portrait drawing
 
Architectural Case study laxmi vilas palace, Vadodra, Gujrat
Architectural Case study laxmi vilas palace, Vadodra, GujratArchitectural Case study laxmi vilas palace, Vadodra, Gujrat
Architectural Case study laxmi vilas palace, Vadodra, Gujrat
 
Απο τη Ρώμη στη Νέα Ρώμη
Απο τη Ρώμη στη Νέα ΡώμηΑπο τη Ρώμη στη Νέα Ρώμη
Απο τη Ρώμη στη Νέα Ρώμη
 
Αρχαίο Ελληνικό Θέατρο
Αρχαίο Ελληνικό ΘέατροΑρχαίο Ελληνικό Θέατρο
Αρχαίο Ελληνικό Θέατρο
 
Ενότητα 2η - Ενότητα 3η
Ενότητα 2η - Ενότητα 3ηΕνότητα 2η - Ενότητα 3η
Ενότητα 2η - Ενότητα 3η
 
นโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แบบเบ็ดเสร็จ (Single Command)
นโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แบบเบ็ดเสร็จ (Single Command)นโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แบบเบ็ดเสร็จ (Single Command)
นโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แบบเบ็ดเสร็จ (Single Command)
 
Redes sociales
Redes socialesRedes sociales
Redes sociales
 
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
 
Webová analytika pro WordPress weby
Webová analytika  pro WordPress webyWebová analytika  pro WordPress weby
Webová analytika pro WordPress weby
 

More from yah2527

สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspaสรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
yah2527
 
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPAรายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
yah2527
 
สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...
สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...
สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...
yah2527
 
การสำรวจประเมินมูลค่า การพึ่งพิงรัพยากรและการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่...
การสำรวจประเมินมูลค่า การพึ่งพิงรัพยากรและการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่...การสำรวจประเมินมูลค่า การพึ่งพิงรัพยากรและการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่...
การสำรวจประเมินมูลค่า การพึ่งพิงรัพยากรและการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่...
yah2527
 
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตาแผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
yah2527
 

More from yah2527 (20)

สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspaสรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
 
Journal of Thailand Protected Area
Journal of Thailand Protected AreaJournal of Thailand Protected Area
Journal of Thailand Protected Area
 
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิต
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิตอุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิต
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิต
 
NTFP
NTFPNTFP
NTFP
 
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPAรายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
 
สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...
สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...
สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...
 
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติการจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
 
ป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตก
ป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตกป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตก
ป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตก
 
การสำรวจประเมินมูลค่า การพึ่งพิงรัพยากรและการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่...
การสำรวจประเมินมูลค่า การพึ่งพิงรัพยากรและการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่...การสำรวจประเมินมูลค่า การพึ่งพิงรัพยากรและการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่...
การสำรวจประเมินมูลค่า การพึ่งพิงรัพยากรและการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่...
 
คมกริช เศรษบุบผา กิจกรรมป่าตะวันตก
คมกริช เศรษบุบผา กิจกรรมป่าตะวันตกคมกริช เศรษบุบผา กิจกรรมป่าตะวันตก
คมกริช เศรษบุบผา กิจกรรมป่าตะวันตก
 
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตาแผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
 
เปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูล
เปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูลเปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูล
เปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูล
 
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้าความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
 
การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ อช ดอยอินทนนท์
การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ อช ดอยอินทนนท์การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ อช ดอยอินทนนท์
การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ อช ดอยอินทนนท์
 
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน
 
9.00 อ.เดชา (1) การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ
9.00 อ.เดชา (1) การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ9.00 อ.เดชา (1) การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ
9.00 อ.เดชา (1) การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ
 
คนกับช้างป่าที่แก่งหางแมว
คนกับช้างป่าที่แก่งหางแมวคนกับช้างป่าที่แก่งหางแมว
คนกับช้างป่าที่แก่งหางแมว
 
โครงการประเมินมูลค่าการใช้น้ำป่าตะวันออก
โครงการประเมินมูลค่าการใช้น้ำป่าตะวันออกโครงการประเมินมูลค่าการใช้น้ำป่าตะวันออก
โครงการประเมินมูลค่าการใช้น้ำป่าตะวันออก
 
อ.มานพ งานนำเสนอเวที Catspa
อ.มานพ งานนำเสนอเวที Catspaอ.มานพ งานนำเสนอเวที Catspa
อ.มานพ งานนำเสนอเวที Catspa
 
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรีอ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
 

แนวทางการวางระบบการติดตามปัญหาการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่า