SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
สฤณี อาชวานันทกุล
Fringer | คนชายขอบ
http://www.fringer.org/
วันที่ 28 เมษายน 2556
นโยบายประชานิยมในละตินอเมริกา
 งานนี้เผยแพร่ภายใต้ลิขสิทธิ์Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-
nc-sa) โดยผู้สร้างอนุญาตให้ทาซ้า แจกจ่าย แสดง และสร้างงานดัดแปลงจากส่วนใดส่วนหนึ่งของงานนี้
ได้โดยเสรี แต่เฉพาะในกรณีที่ให้เครดิตผู้สร้าง ไม่นาไปใช้ในทางการค้า และเผยแพร่งานดัดแปลงภายใต้
ลิขสิทธิ์เดียวกันนี้เท่านั้น
2
“ความหมาย” อยู่ที่คนใช้
 อุดมการณ์เบื้องหลัง “ประชานิยม” จะเป็น “ขวา” ก็ได้ เป็น “ซ้าย” ก็ได้
ความเหมือนอยู่ที่การสื่อว่าผู้นาประชานิยมนั้นเป็น “ตัวแทน” มวลชน-
คนส่วนใหญ่ในสังคมที่ต่อต้านชนชั้นนาผู้มีอภิสิทธิ์ (บางครั้งเห็น
ต่างกันว่า “ชนชั้นนา” นั้นคือใคร)
 ผู้ดาเนินนโยบายประชานิยมใช้คาคานี้ในความหมายด้านบวก
 ในขณะเดียวกัน “ประชานิยม” มักถูกใช้ในความหมายด้านลบโดยผู้
สังเกตการณ์ นักเศรษฐศาสตร์ ฯลฯ สื่อนัยว่า “มวลชน” อยากได้ในสิ่ง
ที่ไม่รับผิดชอบ อาจมีประโยชน์ระยะสั้นแต่สร้างโทษมากกว่าในระยะ
ยาว ในทางที่บั่นทอนความเข้มแข็งของประชาธิปไตยและเศรษฐกิจ
3
ลักษณะเด่นทางการเมืองของประชานิยม
 จากบทความของ Paul Taggart, University of Sussex,
http://blogs.lse.ac.uk/politicsandpolicy/archives/29481 --
 ประชานิยมมักต่อต้านรูปแบบและวิถีปฏิบัติของระบอบประชาธิปไตยตัวแทนดั้งเดิม
อาศัยความไม่ไว้ใจของผู้คนต่อนักการเมืองโดยทั่วไป และความเชื่อที่แพร่หลายว่า
การเมืองถูกครอบงาโดย “ชนชั้นนา” - เสนอ “ทางเลือกใหม่” ที่ฉีกออกจาก “การเมือง
แบบเดิมๆ”
 ประชานิยมดึงคุณค่ามาจาก “ฐานราก” ในจินตนาการร่วม (“ชุมชนจินตกรรม”) – “…an
implicit or explicit heartland – a version of the past that celebrates a
hypothetical, uncomplicated and non-political territory of the imagination… It is
from this territory that it draws its own vision of its natural constituency – unified,
diligent and ordinary.”
 ประชานิยมมีแนวโน้มที่จะมองโลกว่ามีฝ่าย “ดี” และฝ่าย “เลว” และแบ่งสังคมออกเป็น
“พวกเรา” กับ “พวกเขา”
4
ปรัชญาและเบื้องหลังประชานิยมในละตินอเมริกา
 แนวคิดประชานิยมมีรากฐานทางปรัชญาเกี่ยวพันกับลัทธิประโยชน์
นิยม (Utilitarianism) ของ เจเรมี เบนแธม (Jeremy Bentham)
 การดาเนินนโยบายเศรษฐกิจแบบ “เปิดเสรีสุดขั้ว” ภายใต้อุดมการณ์
เสรีนิยมใหม่ของ “ตะวันตก” ซึ่งถูก “นาเข้า” มาใช้อย่างเร่งรีบและ
รุนแรง เป็นสาเหตุหนึ่งของการเลือกดาเนินนโยบายประชานิยม
 ผู้ปกครองภายใต้แนวคิดประชานิยมพยายามนาเสนอแนวนโยบายที่มี
ลักษณะเป็นปฏิกิริยาโต้กลับ (Reactionary) นโยบายเดิม โดยมีสาระ
ต่อต้านแนวคิดแบบ “ตะวันตก” และลิดรอนอานาจทางเศรษฐกิจของ
ชนชั้นนา (Establishment) ทั้งชนชั้นนาระดับท้องถิ่นและระดับชาติที่มี
บรรษัทต่างชาติคอยหนุนหลัง
5
รูปแบบและหลักการของนโยบายประชานิยม
 หลักการพื้นฐานของนโยบายประชานิยมทางเศรษฐกิจ คือการระดมทรัพยากรทางการ
คลังของรัฐบาล ทั้งเงินในงบประมาณและเงินนอกงบประมาณ และรายได้จากการค้า
ขายของรัฐบาล มาใช้จ่ายอย่างเต็มที่ในนโยบายประชานิยมรูปแบบต่างๆ รวมทั้งการทา
ให้สถาบันการเงินของรัฐให้เป็นแหล่งเงินทุนในการใช้จ่ายงบประมาณไปในนโยบาย
ประชานิยม โดยเน้นหนักไปในการใช้นโยบายกึ่งการคลัง
 รัฐบาลมักอ้างว่าการดาเนินนโยบายประชานิยมเป็นไปเพื่อช่วยเหลือคนยากจนที่เป็น
กลุ่มคนส่วนใหญ่ภายในประเทศให้มีสิทธิเสรีภาพมากขึ้น และมีชีวิตความเป็นอยู่ดีขึ้น
 นโยบายประชานิยมมีหลากหลายมาตรการ มาตรการหลักได้แก่
 มาตรการพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชนในระดับรากหญ้า
 มาตรการสร้างสวัสดิการสังคม
 มาตรการแก้ไขปัญหาความยากจนและการยกหนี้/พักชาระหนี้
6
ที่มาของนโยบายประชานิยมในละตินอเมริกา
 ในยุคล่าอาณานิคมภูมิภาคละตินอเมริกาตกเป็นเมืองขึ้นและถูกประเทศแม่ขูดรีด
ทรัพยากรไปเป็นจานวนมาก หลังจากได้รับเอกราช ประเทศส่วนใหญ่อยู่ภายใต้
ระบบสังคมนิยมและเผด็จการ ปกครองโดยรัฐบาลทหาร เนื่องจากรัฐบาลทหาร
ต้องการแสวงหาความชอบธรรมเพื่อจะได้อยู่ในอานาจนานๆ จึงเริ่มใช้นโยบาย
ประชานิยม
 การใช้นโยบายประชานิยมก่อปัญหามากมาย องค์กรโลกบาลต่างๆ จึงเข้ามามี
บทบาทในละตินอเมริกา โดยเสนอให้ดาเนินนโยบายตามฉันทมติวอชิงตัน ซึ่ง
เป็น “ยาแรง” ที่ส่งผลเสียต่อประเทศไม่น้อยไปกว่ากัน นาไปสู่วิกฤติเศรษฐกิจทั่ว
ทั้งภูมิภาค ประชาชนได้รับความเดือดร้อนกันทั่วหน้า
 หลังจากวิกฤติ ประเทศเริ่มมีปฏิกิริยาต่อต้านการชักนาและนโยบายแทรกแซง
ของสหรัฐอเมริกา นาไปสู่การดาเนินนโยบายประชานิยมอีกครั้ง ซึ่งมีรูปแบบ
แตกต่างออกไปจากเดิมในรายละเอียด
7
โครงสร้างเชิงสถาบันกับนโยบายประชานิยม
 โดยรวม การใช้นโยบายประชานิยมเป็น “ปฏิกิริยา” (reactionary policies) ของประเทศละตินต่อผลเสีย
จากอุดมการณ์เสรีนิยมใหม่ และการกดขี่แทรกแซงของบรรษัทข้ามชาติและรัฐบาลอเมริกัน
 ประชากรในละตินอเมริกามีหลากหลายเชื้อชาติ มีภาษาและวัฒนธรรมเฉพาะเป็นของตนเอง และมี
แนวโน้มที่จะต่อต้านต่างชาติ เนื่องจากทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ถูกขูดรีดและแทรกแซงจาก
ต่างชาติเสมอมา ทาให้การดาเนินนโยบายประชานิยมสอดคล้องกับความต้องการของประชาชนส่วน
ใหญ่ เอื้อให้เกิดการดาเนินนโยบายในลักษณะนี้อยู่เสมอ
 รูปแบบและความสาเร็จของนโยบายประชานิยม มักขึ้นอยู่กับ
 อุดมการณ์ทางการเมืองที่ผู้นายึดถือ เช่น ประชาธิปไตย สังคมนิยม หรือเผด็จการทหาร
 ลัทธิความเชื่อทางเศรษฐกิจว่าเชื่อในลัทธิเสรีนิยมใหม่ หรือต่อต้านเสรีนิยมใหม่
 ระดับความแข็งแกร่งของโครงสร้างเชิงสถาบันในละตินอเมริกา ซึ่งในหลายประเทศยังอ่อนแออยู่
 ระดับทรัพยากร เช่น ประเทศที่มีรายได้จากการขายพลังงานที่ราคากาลังพุ่งสูงเป็นประวัติการณ์
(เวเนซุเอลา โบลิเวีย และเอกวาดอร์) ย่อมสามารถใช้เงินดาเนินนโยบายประชานิยมอย่าง “ยั่งยืน”
มากกว่าประเทศที่ไม่มี
8
ทรัพยากรธรรมชาติ หนี้สาธารณะ และประชานิยม
สัดส่วนหนี้สาธารณะที่อยู่ในระดับสูงของอาร์เจนตินาและบราซิล
ประกอบกับการที่ไม่มีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์เท่าไร ทาให้มี
ความคล่องตัวในการดาเนินนโยบายประชานิยมต่ากว่าประเทศอื่น
วันนี้ใช้เงินอุดหนุนราคาสินค้า 17,000
ล้านเหรียญสหรัฐทุกปี (เกือบหนึ่งใน
ห้าของงบประมาณภาครัฐ)
9
รูปแบบของประชานิยมในละตินอเมริกา
 ประชานิยมแบบดั้งเดิม มีฐานเสียงส่วนใหญ่อยู่ที่กลุ่มสหภาพแรงงาน มีนโยบาย
จัดสรร กระจายและแจกจ่ายสินค้าและบริการต่าง ๆ ให้กับประชาชนส่วนใหญ่ของ
ประเทศซึ่งเป็นคนจนและชนชั้นกลางให้เป็นธรรมมากขึ้น แต่ก็ไม่ได้ตั้งใจต่อต้านทุน
นิยมเสียทีเดียว นโยบายแบบนี้มีลักษณะต้องการกระจายอานาจในการบริโภคมากกว่า
ต้องการปฏิวัติระบอบเศรษฐกิจ
 ประชานิยมเสรีนิยมใหม่ เลือกดาเนินนโยบายประชานิยมควบคู่ไปกับนโยบาย
เศรษฐกิจแบบเสรีนิยมใหม่ปล่อยให้กลไกตลาดเป็นตัวกาหนดกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
และลดบทบาทของรัฐลง แล้วใช้นโยบายเอาใจฐานเสียงที่ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มคนระดับ
ล่างในเศรษฐกิจนอกระบบซึ่งจะใช้เฉพาะกลุ่มเท่านั้น ลักษณะสาคัญอีกประการหนึ่ง คือ
การแยกตัวเองออกจากกลุ่มนักการเมืองรุ่นเก่า หรือ กลุ่มอานาจเก่า
 ประชานิยมชาตินิยม มีนโยบายซื้อคืนกิจการของเอกชน โดยเฉพาะกิจการผูกขาดใน
สาธารณูปโภคพื้นฐานที่ตกอยู่ในมือบรรษัทข้ามชาติ ให้กลับมาเป็นของรัฐ และ
ดาเนินการปฏิรูปโครงสร้างสถาบัน
10
ผลดี-ผลเสียของนโยบายประชานิยมรูปแบบต่าง ๆ
 ประชานิยมแบบดั้งเดิมส่งผลให้รายได้ที่แท้จริงและการบริโภคอยู่ในระดับดีขึ้น อย่างมี
นัยสาคัญในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ประชาชนได้สินค้าและบริการมาอุปโภคบริโภคโดยไม่ต้องแบก
รับต้นทุน ทาให้เศรษฐกิจในระยะแรกเติบโต แต่จะก่อให้เกิดปัญหาตามมาในระยะยาว
โดยเฉพาะการบั่นทอนวินัยทางการคลังของรัฐ และวินัยทางการเงินของประชาชน
 ประชานิยมเสรีนิยมใหม่ ทาให้เกิดผลกระทบคล้ายคลึงกับประชานิยมแบบแรก ต่างกันที่
 มีผลดีจากการที่นักลงทุนจากในและต่างประเทศจะมีความเชื่อมั่นที่จะเข้ามาลงทุน
ภายในประเทศ มากกว่าประเทศที่ใช้ประชานิยมแบบดั้งเดิมและประชานิยมชาตินิยม
 เมื่อใช้นโยบายควบคู่กับเสรีนิยมใหม่ที่เน้นกลไกตลาด จะทาให้เกิดประสิทธิภาพเพิ่มมาก
ขึ้น หากประเทศมีโครงสร้างเชิงสถาบันที่ดี
 ประชานิยมชาตินิยม ส่งผลให้รายได้ที่แท้จริงเพิ่มขึ้น ระบบบริการสุขภาพและระบบการศึกษา
มีคุณภาพดีกว่าเดิม แต่ก็ส่งผลให้รัฐบาลมีภาระในการใช้จ่ายมาก ซึ่งอาจส่งผลกระทบในระยะ
ยาวไม่ต่างกันกับนโยบายประชานิยมแบบอื่น ๆ นอกจากนี้ ก็มีข้อกังขาว่ารัฐบาลจะสามารถ
ดาเนินธุรกิจผูกขาดได้ดีกว่าเอกชนหรือไม่
11
รูปแบบของประชานิยมในประเทศละตินอเมริกา
12
ข้อถกเถียงเกี่ยวกับนโยบายประชานิยม
 การดาเนินนโยบายประชานิยมช่วยแก้ปัญหาให้กับคนยากจนได้หรือไม่
 การดาเนินนโยบายกระตุ้นอุปสงค์ระยะสั้นแบบเคนส์ (Keynes) ส่งผลดีหรือ
ผลเสียมากกว่ากัน
 การดาเนินนโยบายประชานิยมอยู่ภายใต้อุดมการณ์สังคมนิยมหรือไม่
 แนวนโยบายประชานิยมต่อต้านอุดมการณ์เสรีนิยมใหม่จริงหรือไม่
 การดาเนินนโยบายประชานิยม ทาให้กระบวนการพัฒนาประชาธิปไตยและ
ประชาสังคมต้องติดขัดจริงหรือไม่
 การดาเนินนโยบายประชานิยมมีเป้าหมายเพื่อช่วยเหลือคนจนจริงหรือไม่
13
การปรับตัวภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์
 การปรับตัวตอบสนองและสนับสนุนโลกาภิวัตน์
 แสดงให้เห็นว่าหลักการของทุนนิยมนั้นไม่ได้ขัดต่อการดาเนินนโยบายประชานิยมแต่
อย่างใด แม้ว่าอาจมีรายละเอียดปลีกย่อยที่เฉพาะเจาะจงกว่าประชานิยมโดยทั่วไปบ้าง
 เช่น รัฐบาลประชานิยมเสรีนิยมใหม่ของประธานาธิบดี อัลเบอร์โต ฟูจิโมริ แห่งเปรู เลือก
ที่จะไม่ดาเนินนโยบายปฏิรูปที่ดิน นโยบายกระจายรายได้ แต่เน้นส่งเสริมการบริโภคของ
ประชาชน กระตุ้นอุปสงค์ระยะสั้นเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจมหภาค
 การปรับตัวตอบสนองและต่อต้านโลกาภิวัตน์ในรูปแบบต่าง ๆ
 “เขตเศรษฐกิจของประชาชน” (Bolivarian Alternative for the Americas, ALBA) ลงนาม
ร่วมกันระหว่างโบลิเวีย คิวบา และเวเนซุเอลา
 นโยบายควบคุมเงินทุนไหลเข้า เช่น อาร์เจนตินาในยุคประธานาธิบดี เนสเตอร์ คิชเนอร์
 โครงการ “เปโตรคาริป” (Petro Caribe) ขายน้ามันราคาถูก, “เปโตรชัว” (Petro Sur)
น้ามันแลกลูกวัว, และ “เทเลซัว” (Tele Sur) ผลิตรายการทางเลือก
14
ประชานิยมละตินเข้ากันไม่ได้กับประชาธิปไตย?
15
“มรดก” ของ อูโก ชาเวซ – จะดีกว่านี้อีกถ้าไม่ใช้ประชานิยม?
16
Bolsa Família : นโยบาย “ประชานิยม” ที่รับผิดชอบ?
 Bolsa Família (Family Allowance) คือโครงการสวัสดิการสังคมของรัฐบาลบราซิล มอบเงิน
อุดหนุนโดยตรงให้กับครอบครัวยากจน (มีรายได้ต่ากว่าเดือนละ 140 เรียล) เดือนละ 22 เรียล
(ประมาณ 12 เหรียญสหรัฐ) ต่อบุตรที่ไปโรงเรียนและฉีดวัคซีนแล้ว สูงสุดไม่เกินสามคน
 ครอบครัวที่ “ยากจนมาก” (มีรายได้ไม่ถึง 70 เรียลต่อเดือน) จะได้เงินอุดหนุนเพิ่มอีกเดือนละ
68 เรียลอย่างไม่มีเงื่อนไข
 ปัจจุบันมีชาวบราซิลได้รับเงินจากโครงการนี้ 12 ล้านครัวเรือน มากกว่าหนึ่งในสี่ของประเทศ
ถูกกล่าวถึงว่าเป็นโครงการลักษณะนี้ที่ใหญ่ที่สุดในโลก
 เป็นนโยบายหลักในชุดนโยบายสังคมของประธานาธิบดี Luiz Inácio Lula da Silva (“ลูลา”)
และส่งผลสาคัญต่อชัยชนะสมัยที่สองในการเลือกตั้งปี 2006 – อัตราความยากจนเรื้อรังลดลง
ถึง 27% ในสมัยแรกของประธานาธิบดีลูลา
 ในปี 2006 ใช้เงินราว 0.5% ของจีดีพีบราซิล และ 2.5% ของงบประมาณภาครัฐ
 งานวิจัย UNDP พบว่าประโยชน์ 80% ไปถึงมือครัวเรือนยากจนจริงๆ และมีส่วน 20% ในการ
ช่วยลดความเหลื่อมล้าทางเศรษฐกิจในบราซิลตั้งแต่ปี 2001

More Related Content

More from Sarinee Achavanuntakul

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Sarinee Achavanuntakul
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?Sarinee Achavanuntakul
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectSarinee Achavanuntakul
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandSarinee Achavanuntakul
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessSarinee Achavanuntakul
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkSarinee Achavanuntakul
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Sarinee Achavanuntakul
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueSarinee Achavanuntakul
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilitySarinee Achavanuntakul
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์Sarinee Achavanuntakul
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016Sarinee Achavanuntakul
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยSarinee Achavanuntakul
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeSarinee Achavanuntakul
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverSarinee Achavanuntakul
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsSarinee Achavanuntakul
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorSarinee Achavanuntakul
 

More from Sarinee Achavanuntakul (20)

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
 
2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View
 
Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in Thailand
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable Business
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibility
 
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
 
Game & Social Problems
Game & Social ProblemsGame & Social Problems
Game & Social Problems
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital Age
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sector
 

Populist Policies in Latin America

  • 1. สฤณี อาชวานันทกุล Fringer | คนชายขอบ http://www.fringer.org/ วันที่ 28 เมษายน 2556 นโยบายประชานิยมในละตินอเมริกา  งานนี้เผยแพร่ภายใต้ลิขสิทธิ์Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by- nc-sa) โดยผู้สร้างอนุญาตให้ทาซ้า แจกจ่าย แสดง และสร้างงานดัดแปลงจากส่วนใดส่วนหนึ่งของงานนี้ ได้โดยเสรี แต่เฉพาะในกรณีที่ให้เครดิตผู้สร้าง ไม่นาไปใช้ในทางการค้า และเผยแพร่งานดัดแปลงภายใต้ ลิขสิทธิ์เดียวกันนี้เท่านั้น
  • 2. 2 “ความหมาย” อยู่ที่คนใช้  อุดมการณ์เบื้องหลัง “ประชานิยม” จะเป็น “ขวา” ก็ได้ เป็น “ซ้าย” ก็ได้ ความเหมือนอยู่ที่การสื่อว่าผู้นาประชานิยมนั้นเป็น “ตัวแทน” มวลชน- คนส่วนใหญ่ในสังคมที่ต่อต้านชนชั้นนาผู้มีอภิสิทธิ์ (บางครั้งเห็น ต่างกันว่า “ชนชั้นนา” นั้นคือใคร)  ผู้ดาเนินนโยบายประชานิยมใช้คาคานี้ในความหมายด้านบวก  ในขณะเดียวกัน “ประชานิยม” มักถูกใช้ในความหมายด้านลบโดยผู้ สังเกตการณ์ นักเศรษฐศาสตร์ ฯลฯ สื่อนัยว่า “มวลชน” อยากได้ในสิ่ง ที่ไม่รับผิดชอบ อาจมีประโยชน์ระยะสั้นแต่สร้างโทษมากกว่าในระยะ ยาว ในทางที่บั่นทอนความเข้มแข็งของประชาธิปไตยและเศรษฐกิจ
  • 3. 3 ลักษณะเด่นทางการเมืองของประชานิยม  จากบทความของ Paul Taggart, University of Sussex, http://blogs.lse.ac.uk/politicsandpolicy/archives/29481 --  ประชานิยมมักต่อต้านรูปแบบและวิถีปฏิบัติของระบอบประชาธิปไตยตัวแทนดั้งเดิม อาศัยความไม่ไว้ใจของผู้คนต่อนักการเมืองโดยทั่วไป และความเชื่อที่แพร่หลายว่า การเมืองถูกครอบงาโดย “ชนชั้นนา” - เสนอ “ทางเลือกใหม่” ที่ฉีกออกจาก “การเมือง แบบเดิมๆ”  ประชานิยมดึงคุณค่ามาจาก “ฐานราก” ในจินตนาการร่วม (“ชุมชนจินตกรรม”) – “…an implicit or explicit heartland – a version of the past that celebrates a hypothetical, uncomplicated and non-political territory of the imagination… It is from this territory that it draws its own vision of its natural constituency – unified, diligent and ordinary.”  ประชานิยมมีแนวโน้มที่จะมองโลกว่ามีฝ่าย “ดี” และฝ่าย “เลว” และแบ่งสังคมออกเป็น “พวกเรา” กับ “พวกเขา”
  • 4. 4 ปรัชญาและเบื้องหลังประชานิยมในละตินอเมริกา  แนวคิดประชานิยมมีรากฐานทางปรัชญาเกี่ยวพันกับลัทธิประโยชน์ นิยม (Utilitarianism) ของ เจเรมี เบนแธม (Jeremy Bentham)  การดาเนินนโยบายเศรษฐกิจแบบ “เปิดเสรีสุดขั้ว” ภายใต้อุดมการณ์ เสรีนิยมใหม่ของ “ตะวันตก” ซึ่งถูก “นาเข้า” มาใช้อย่างเร่งรีบและ รุนแรง เป็นสาเหตุหนึ่งของการเลือกดาเนินนโยบายประชานิยม  ผู้ปกครองภายใต้แนวคิดประชานิยมพยายามนาเสนอแนวนโยบายที่มี ลักษณะเป็นปฏิกิริยาโต้กลับ (Reactionary) นโยบายเดิม โดยมีสาระ ต่อต้านแนวคิดแบบ “ตะวันตก” และลิดรอนอานาจทางเศรษฐกิจของ ชนชั้นนา (Establishment) ทั้งชนชั้นนาระดับท้องถิ่นและระดับชาติที่มี บรรษัทต่างชาติคอยหนุนหลัง
  • 5. 5 รูปแบบและหลักการของนโยบายประชานิยม  หลักการพื้นฐานของนโยบายประชานิยมทางเศรษฐกิจ คือการระดมทรัพยากรทางการ คลังของรัฐบาล ทั้งเงินในงบประมาณและเงินนอกงบประมาณ และรายได้จากการค้า ขายของรัฐบาล มาใช้จ่ายอย่างเต็มที่ในนโยบายประชานิยมรูปแบบต่างๆ รวมทั้งการทา ให้สถาบันการเงินของรัฐให้เป็นแหล่งเงินทุนในการใช้จ่ายงบประมาณไปในนโยบาย ประชานิยม โดยเน้นหนักไปในการใช้นโยบายกึ่งการคลัง  รัฐบาลมักอ้างว่าการดาเนินนโยบายประชานิยมเป็นไปเพื่อช่วยเหลือคนยากจนที่เป็น กลุ่มคนส่วนใหญ่ภายในประเทศให้มีสิทธิเสรีภาพมากขึ้น และมีชีวิตความเป็นอยู่ดีขึ้น  นโยบายประชานิยมมีหลากหลายมาตรการ มาตรการหลักได้แก่  มาตรการพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชนในระดับรากหญ้า  มาตรการสร้างสวัสดิการสังคม  มาตรการแก้ไขปัญหาความยากจนและการยกหนี้/พักชาระหนี้
  • 6. 6 ที่มาของนโยบายประชานิยมในละตินอเมริกา  ในยุคล่าอาณานิคมภูมิภาคละตินอเมริกาตกเป็นเมืองขึ้นและถูกประเทศแม่ขูดรีด ทรัพยากรไปเป็นจานวนมาก หลังจากได้รับเอกราช ประเทศส่วนใหญ่อยู่ภายใต้ ระบบสังคมนิยมและเผด็จการ ปกครองโดยรัฐบาลทหาร เนื่องจากรัฐบาลทหาร ต้องการแสวงหาความชอบธรรมเพื่อจะได้อยู่ในอานาจนานๆ จึงเริ่มใช้นโยบาย ประชานิยม  การใช้นโยบายประชานิยมก่อปัญหามากมาย องค์กรโลกบาลต่างๆ จึงเข้ามามี บทบาทในละตินอเมริกา โดยเสนอให้ดาเนินนโยบายตามฉันทมติวอชิงตัน ซึ่ง เป็น “ยาแรง” ที่ส่งผลเสียต่อประเทศไม่น้อยไปกว่ากัน นาไปสู่วิกฤติเศรษฐกิจทั่ว ทั้งภูมิภาค ประชาชนได้รับความเดือดร้อนกันทั่วหน้า  หลังจากวิกฤติ ประเทศเริ่มมีปฏิกิริยาต่อต้านการชักนาและนโยบายแทรกแซง ของสหรัฐอเมริกา นาไปสู่การดาเนินนโยบายประชานิยมอีกครั้ง ซึ่งมีรูปแบบ แตกต่างออกไปจากเดิมในรายละเอียด
  • 7. 7 โครงสร้างเชิงสถาบันกับนโยบายประชานิยม  โดยรวม การใช้นโยบายประชานิยมเป็น “ปฏิกิริยา” (reactionary policies) ของประเทศละตินต่อผลเสีย จากอุดมการณ์เสรีนิยมใหม่ และการกดขี่แทรกแซงของบรรษัทข้ามชาติและรัฐบาลอเมริกัน  ประชากรในละตินอเมริกามีหลากหลายเชื้อชาติ มีภาษาและวัฒนธรรมเฉพาะเป็นของตนเอง และมี แนวโน้มที่จะต่อต้านต่างชาติ เนื่องจากทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ถูกขูดรีดและแทรกแซงจาก ต่างชาติเสมอมา ทาให้การดาเนินนโยบายประชานิยมสอดคล้องกับความต้องการของประชาชนส่วน ใหญ่ เอื้อให้เกิดการดาเนินนโยบายในลักษณะนี้อยู่เสมอ  รูปแบบและความสาเร็จของนโยบายประชานิยม มักขึ้นอยู่กับ  อุดมการณ์ทางการเมืองที่ผู้นายึดถือ เช่น ประชาธิปไตย สังคมนิยม หรือเผด็จการทหาร  ลัทธิความเชื่อทางเศรษฐกิจว่าเชื่อในลัทธิเสรีนิยมใหม่ หรือต่อต้านเสรีนิยมใหม่  ระดับความแข็งแกร่งของโครงสร้างเชิงสถาบันในละตินอเมริกา ซึ่งในหลายประเทศยังอ่อนแออยู่  ระดับทรัพยากร เช่น ประเทศที่มีรายได้จากการขายพลังงานที่ราคากาลังพุ่งสูงเป็นประวัติการณ์ (เวเนซุเอลา โบลิเวีย และเอกวาดอร์) ย่อมสามารถใช้เงินดาเนินนโยบายประชานิยมอย่าง “ยั่งยืน” มากกว่าประเทศที่ไม่มี
  • 8. 8 ทรัพยากรธรรมชาติ หนี้สาธารณะ และประชานิยม สัดส่วนหนี้สาธารณะที่อยู่ในระดับสูงของอาร์เจนตินาและบราซิล ประกอบกับการที่ไม่มีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์เท่าไร ทาให้มี ความคล่องตัวในการดาเนินนโยบายประชานิยมต่ากว่าประเทศอื่น วันนี้ใช้เงินอุดหนุนราคาสินค้า 17,000 ล้านเหรียญสหรัฐทุกปี (เกือบหนึ่งใน ห้าของงบประมาณภาครัฐ)
  • 9. 9 รูปแบบของประชานิยมในละตินอเมริกา  ประชานิยมแบบดั้งเดิม มีฐานเสียงส่วนใหญ่อยู่ที่กลุ่มสหภาพแรงงาน มีนโยบาย จัดสรร กระจายและแจกจ่ายสินค้าและบริการต่าง ๆ ให้กับประชาชนส่วนใหญ่ของ ประเทศซึ่งเป็นคนจนและชนชั้นกลางให้เป็นธรรมมากขึ้น แต่ก็ไม่ได้ตั้งใจต่อต้านทุน นิยมเสียทีเดียว นโยบายแบบนี้มีลักษณะต้องการกระจายอานาจในการบริโภคมากกว่า ต้องการปฏิวัติระบอบเศรษฐกิจ  ประชานิยมเสรีนิยมใหม่ เลือกดาเนินนโยบายประชานิยมควบคู่ไปกับนโยบาย เศรษฐกิจแบบเสรีนิยมใหม่ปล่อยให้กลไกตลาดเป็นตัวกาหนดกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และลดบทบาทของรัฐลง แล้วใช้นโยบายเอาใจฐานเสียงที่ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มคนระดับ ล่างในเศรษฐกิจนอกระบบซึ่งจะใช้เฉพาะกลุ่มเท่านั้น ลักษณะสาคัญอีกประการหนึ่ง คือ การแยกตัวเองออกจากกลุ่มนักการเมืองรุ่นเก่า หรือ กลุ่มอานาจเก่า  ประชานิยมชาตินิยม มีนโยบายซื้อคืนกิจการของเอกชน โดยเฉพาะกิจการผูกขาดใน สาธารณูปโภคพื้นฐานที่ตกอยู่ในมือบรรษัทข้ามชาติ ให้กลับมาเป็นของรัฐ และ ดาเนินการปฏิรูปโครงสร้างสถาบัน
  • 10. 10 ผลดี-ผลเสียของนโยบายประชานิยมรูปแบบต่าง ๆ  ประชานิยมแบบดั้งเดิมส่งผลให้รายได้ที่แท้จริงและการบริโภคอยู่ในระดับดีขึ้น อย่างมี นัยสาคัญในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ประชาชนได้สินค้าและบริการมาอุปโภคบริโภคโดยไม่ต้องแบก รับต้นทุน ทาให้เศรษฐกิจในระยะแรกเติบโต แต่จะก่อให้เกิดปัญหาตามมาในระยะยาว โดยเฉพาะการบั่นทอนวินัยทางการคลังของรัฐ และวินัยทางการเงินของประชาชน  ประชานิยมเสรีนิยมใหม่ ทาให้เกิดผลกระทบคล้ายคลึงกับประชานิยมแบบแรก ต่างกันที่  มีผลดีจากการที่นักลงทุนจากในและต่างประเทศจะมีความเชื่อมั่นที่จะเข้ามาลงทุน ภายในประเทศ มากกว่าประเทศที่ใช้ประชานิยมแบบดั้งเดิมและประชานิยมชาตินิยม  เมื่อใช้นโยบายควบคู่กับเสรีนิยมใหม่ที่เน้นกลไกตลาด จะทาให้เกิดประสิทธิภาพเพิ่มมาก ขึ้น หากประเทศมีโครงสร้างเชิงสถาบันที่ดี  ประชานิยมชาตินิยม ส่งผลให้รายได้ที่แท้จริงเพิ่มขึ้น ระบบบริการสุขภาพและระบบการศึกษา มีคุณภาพดีกว่าเดิม แต่ก็ส่งผลให้รัฐบาลมีภาระในการใช้จ่ายมาก ซึ่งอาจส่งผลกระทบในระยะ ยาวไม่ต่างกันกับนโยบายประชานิยมแบบอื่น ๆ นอกจากนี้ ก็มีข้อกังขาว่ารัฐบาลจะสามารถ ดาเนินธุรกิจผูกขาดได้ดีกว่าเอกชนหรือไม่
  • 12. 12 ข้อถกเถียงเกี่ยวกับนโยบายประชานิยม  การดาเนินนโยบายประชานิยมช่วยแก้ปัญหาให้กับคนยากจนได้หรือไม่  การดาเนินนโยบายกระตุ้นอุปสงค์ระยะสั้นแบบเคนส์ (Keynes) ส่งผลดีหรือ ผลเสียมากกว่ากัน  การดาเนินนโยบายประชานิยมอยู่ภายใต้อุดมการณ์สังคมนิยมหรือไม่  แนวนโยบายประชานิยมต่อต้านอุดมการณ์เสรีนิยมใหม่จริงหรือไม่  การดาเนินนโยบายประชานิยม ทาให้กระบวนการพัฒนาประชาธิปไตยและ ประชาสังคมต้องติดขัดจริงหรือไม่  การดาเนินนโยบายประชานิยมมีเป้าหมายเพื่อช่วยเหลือคนจนจริงหรือไม่
  • 13. 13 การปรับตัวภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์  การปรับตัวตอบสนองและสนับสนุนโลกาภิวัตน์  แสดงให้เห็นว่าหลักการของทุนนิยมนั้นไม่ได้ขัดต่อการดาเนินนโยบายประชานิยมแต่ อย่างใด แม้ว่าอาจมีรายละเอียดปลีกย่อยที่เฉพาะเจาะจงกว่าประชานิยมโดยทั่วไปบ้าง  เช่น รัฐบาลประชานิยมเสรีนิยมใหม่ของประธานาธิบดี อัลเบอร์โต ฟูจิโมริ แห่งเปรู เลือก ที่จะไม่ดาเนินนโยบายปฏิรูปที่ดิน นโยบายกระจายรายได้ แต่เน้นส่งเสริมการบริโภคของ ประชาชน กระตุ้นอุปสงค์ระยะสั้นเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจมหภาค  การปรับตัวตอบสนองและต่อต้านโลกาภิวัตน์ในรูปแบบต่าง ๆ  “เขตเศรษฐกิจของประชาชน” (Bolivarian Alternative for the Americas, ALBA) ลงนาม ร่วมกันระหว่างโบลิเวีย คิวบา และเวเนซุเอลา  นโยบายควบคุมเงินทุนไหลเข้า เช่น อาร์เจนตินาในยุคประธานาธิบดี เนสเตอร์ คิชเนอร์  โครงการ “เปโตรคาริป” (Petro Caribe) ขายน้ามันราคาถูก, “เปโตรชัว” (Petro Sur) น้ามันแลกลูกวัว, และ “เทเลซัว” (Tele Sur) ผลิตรายการทางเลือก
  • 15. 15 “มรดก” ของ อูโก ชาเวซ – จะดีกว่านี้อีกถ้าไม่ใช้ประชานิยม?
  • 16. 16 Bolsa Família : นโยบาย “ประชานิยม” ที่รับผิดชอบ?  Bolsa Família (Family Allowance) คือโครงการสวัสดิการสังคมของรัฐบาลบราซิล มอบเงิน อุดหนุนโดยตรงให้กับครอบครัวยากจน (มีรายได้ต่ากว่าเดือนละ 140 เรียล) เดือนละ 22 เรียล (ประมาณ 12 เหรียญสหรัฐ) ต่อบุตรที่ไปโรงเรียนและฉีดวัคซีนแล้ว สูงสุดไม่เกินสามคน  ครอบครัวที่ “ยากจนมาก” (มีรายได้ไม่ถึง 70 เรียลต่อเดือน) จะได้เงินอุดหนุนเพิ่มอีกเดือนละ 68 เรียลอย่างไม่มีเงื่อนไข  ปัจจุบันมีชาวบราซิลได้รับเงินจากโครงการนี้ 12 ล้านครัวเรือน มากกว่าหนึ่งในสี่ของประเทศ ถูกกล่าวถึงว่าเป็นโครงการลักษณะนี้ที่ใหญ่ที่สุดในโลก  เป็นนโยบายหลักในชุดนโยบายสังคมของประธานาธิบดี Luiz Inácio Lula da Silva (“ลูลา”) และส่งผลสาคัญต่อชัยชนะสมัยที่สองในการเลือกตั้งปี 2006 – อัตราความยากจนเรื้อรังลดลง ถึง 27% ในสมัยแรกของประธานาธิบดีลูลา  ในปี 2006 ใช้เงินราว 0.5% ของจีดีพีบราซิล และ 2.5% ของงบประมาณภาครัฐ  งานวิจัย UNDP พบว่าประโยชน์ 80% ไปถึงมือครัวเรือนยากจนจริงๆ และมีส่วน 20% ในการ ช่วยลดความเหลื่อมล้าทางเศรษฐกิจในบราซิลตั้งแต่ปี 2001