SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
การประกันคุณภาพการศึกษา 
ความหมายของการประกันคุณภาพการศึกษา 
ประกันคุณภาพ คือ การวางแผนและการปฏิบัติของหน่วยผลิตที่มุ่งจะ 
ผลิตสิ่งที่มีคุณภาพตรงกับความต้องการของผู้ใช้ผลผลิต 
การประกันคุณภาพการศึกษา หมายถึง กิจกรรมหรือแนวปฏิบัติใด ๆ 
ที่หากได้ดำเนินการตามระบบและแผนที่ได้วางไว้แล้ว จะทำให้เกิดความ 
มั่นใจว่าจะได้ผลผลิตของการศึกษาที่มีคุณภาพตามคุณลักษณะที่พึง 
ประสงค์ ดังนั้น การประกันคุณภาพทางการศึกษาจึงเป็นกระบวนการ 
วางแผน และกระบวนการจัดการของ ผู้ที่รับผิดชอบจัดการศึกษาที่ จะ 
รับประกันให้สังคมเชื่อมั่น ว่าจะพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ให้ 
ครบถ้วนตามมาตรฐานคุณภาพที่ระบุไว้ในหลักสูตร
การประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา จะมีประสิทธิผลต่อเมื่อได้มีการ 
ประเมินผลการดำเนินงานตามภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษาอย่างต่อเนื่อง 
รวมทั้งมีการทบทวนและติดตามกระบวนการดำเนินการโดยใกล้ชิด ในการ 
พัฒนาระบบการประกันคุณภาพนั้น การดำเนินการจะยึดหลักการของการให้ 
เสรีภาพ ทางวิชาการ (Academic Freedom) และความมีอิสระในการกำหนด 
แนวทางในการบริหารและดำเนินการของสถาบัน (Institutional Autonomy) 
เพื่อความมีคุณภาพภายในสถาบันอย่างเต็มที่ แต่ทั้งนี้ สถาบันอุดมศึกษาจะต้อง 
พร้อมที่จะรับการตรวจสอบจากภายนอก อย่างไรก็ตาม เชื่อว่าระบบการประกัน 
คุณภาพที่ได้กำหนดขึ้น จะเป็นไปตามหลักการที่ว่า หากสถาบันอุดมศึกษา 
สามารถ ควบคุมองค์ประกอบต่าง ๆ ที่ใช้ในการผลิตบัณฑิตให้เป็นไปอย่างมี 
คุณภาพพร้อมทั้งมีระบบของการตรวจสอบและประเมินจากภายนอกแล้ว 
คุณภาพของบัณฑิตก็จะดีด้วย
2. สาเหตุที่ต้องมีการประกันคุณภาพการศึกษา 
โลกในยุคปัจจุบันเป็นยุคโลกาภิวัตน์ที่มีความเจริญก้าวหน้า 
ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว จึงจำเป็น 
ที่แต่ละประเทศต้องเรียนรู้ที่จะปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยู่ 
ตลอดเวลาและเตรียมพร้อมที่จะเผชิญกับความท้าทายจากกระแสโลก โดยปัจจัย 
สำคัญที่จะเผชิญการเปลี่ยนแปลงและความท้าทายดังกล่าว คือคุณภาพของคน 
ประกันคุณภาพการศึกษาในระดับอุดมศึกษาขึ้น ปัจจัยดังกล่าว คือ 
1. ประเทศไทยยังไม่เคยมีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาที่มีรูปแบบที่ 
ชัดเจน และบ่งชี้ได้ว่าจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาได้เป็นไปอย่างมีคุณภาพ 
2. คุณภาพของสถาบันอุดมศึกษาและบัณฑิต มีแนวโน้มที่จะมีความแตกต่างกัน 
มากขึ้น ซึ่งจะก่อให้เกิดผลเสียแก่ประเทศไทยโดยส่วนรวมในระยะยาว
3. มีการแข่งขันกันในเชิงคุณภาพของการจัดการศึกษาและคุณภาพของ 
บัณฑิตในวงการอุดมศึกษาทั้งภายในประเทศและนอกประเทศมากขึ้น 
4. สถาบันอุดมศึกษามีความจำเป็นที่จะต้องมีการพัฒนาองค์ความรู้ให้ 
เป็นสากล เพื่อให้ได้รับการยอมรับจากนานาชาติมากขึ้น 
5. สถาบันอุดมศึกษามีความจำเป็นที่จะต้องสร้างความมั่นใจให้แก่ 
สังคมว่าสามารถผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ 
6. สถาบันอุดมศึกษาจะต้องให้ข้อมูลสาธารณะ (Public Information) ที่ 
เป็นประโยชน์ต่อนักศึกษา ผู้จ้างงาน รัฐบาล และประชาชนทั่วไป 
7. สังคมต้องการระบบอุดมศึกษาที่มีความโปร่งใส (Transparency) 
และความรับผิดชอบ ซึ่งตรวจสอบได้ (Accountability)
ในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพนั้น จะยึดหลักของการให้เสรีภาพทาง 
วิชาการ (Academic Freedom) และความมีอิสระในการดำเนินการของสถาบัน 
(Institutional Autonomy) เพื่อความมีคุณภาพภายในสถาบันอย่างเต็มที่ แต่ทั้งนี้ 
สถาบันอุดมศึกษาจะต้องพร้อมที่จะรับการตรวจสอบจากภายนอก ซึ่งเป็นไป 
ตามหลักการของความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ (Accountability) ความสมดุลย์ 
ของหลักการดังกล่าว คือ แนวทางในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ 
อุดมศึกษาที่พึงประสงค์
3. องค์ประกอบของการประกันคุณภาพการศึกษา 
องค์ประกอบของการประกันคุณภาพการศึกษา หมายถึง ส่วนต่าง ๆ 
ของระบบประกันคุณภาพที่สาขาวิชาเลือกใช้ในการประกันคุณภาพการศึกษา 
ซึ่งองค์ประกอบนี้จะครอบคลุมและสอดคล้องกับระบบบริหารงานภายในของ 
มหาวิทยาลัย 
การประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยแยกได้เป็น ๒ ส่วน คือ 
3.1 การประกันคุณภาพภายใน หมายถึง การประเมินผลและการติดตาม 
ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถาบันศึกษาจากภายใน โดย 
บุคลากรของสถาบันการศึกษานั้นเองหรือโดยหน่วยงานต้นสังกัดที่มีหน้าที่ 
กำกับดูแลสถานศึกษานั้น เพื่อให้มีความมั่นใจว่าสถาบันอุดมศึกษาดำเนินการ 
ตามภารกิจหลักอย่างมี คุณภาพ และกระบวนการประกันคุณภาพภายในยัง 
ประกอบด้วย
1) การควบคุมคุณภาพ (Quality Control) 
2) การตรวจสอบคุณภาพ (Quality Audit) 
3) การประเมินคุณภาพ (Quality Assessment) 
3.2 การประกันคุณภาพโดยภายนอก หมายถึง การติดตามตรวจสอบ 
คุณภาพและการประเมินผลของสถาบันการศึกษาจากภายนอก โดยสำนักงาน 
รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาหรือบุคคล หรือหน่วยงาน 
ภายนอกที่สำนักงานดังกล่าวรับรอง เพื่อเป็นการประกันคุณภาพและให้มีการ 
พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานของสถาบันการศึกษา และกระบวนการประกัน 
คุณภาพภายนอก ยังประกอบด้วย 
1) การตรวจสอบคุณภาพ (Quality Audit) 
2) การประเมินคุณภาพ (Quality Assessment) 
3) การรับรองมาตรฐาน (Quality Accreditation)
องค์ประกอบที่สำคัญของคุณภาพของผู้ที่จบการศึกษาจะมี 4 ประการคือ
4. ขั้นตอนการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษา 
4.1 ขั้นตอนการดำเนินงานตามกระบวนการประกันคุณภาพภายใน 
การดำเนินการประกันคุณภาพภายในตามกระบวนการที่กล่าว 
มาแล้ว มีแนวทางและขั้นตอน ดังแผนภาพต่อไปนี้
1.1 เตรียมความพร้อมของ 
บุคลากร 
- สร้างความตระหนัก 
- พัฒนาความรู้ ทักษะ 
1.2 แต่งตั้งกรรมการรับผิดชอบ 
2.1วางแผนการปฏิบัติงาน (P) 
- กำหนดเป้าหมายหรือมาตรฐาน 
การศึกษา 
- จัดลำดับความสำคัญเป้าหมาย 
- กำหนดแนวทางการดำเนินงาน 
- กำหนดระยะเวลา 
- กำหนดงบประมาณ 
- กำหนดผู้รับผิดชอบ 
จัดทำรายงานประเมินตนเองหรือ 
รายงาน 
ประจำปี 
- รวบรวมผลการ 
ดำเนินงานและผลการ 
ประเมิน 
- วิเคราะห์ตามมาตรฐาน 
- เขียนรายงาน 
2.2 ดำเนินการตามแผน (D) 
- ส่งเสริม สนับสนุน 
- จัดสิ่งอำนวยความสะดวก สนับสนุนทรัพยากร 
- กำกับ ติดตาม 
- ให้การนิเทศ 
2.3 ตรวจสอบประเมินผล (C) 
- วางกรอบการประเมิน 
- จัดหาหรือจัดทำเครื่องมือ 
- เก็บข้อมูล 
- แปลความหมาย 
- ตรวจสอบ/ปรับปรุงคุณภาพการประเมิน 
2.4 นำผลการประเมินมาปรับปรุงงาน (A) 
- ปรับปรุงการปฏิบัติงานของบุคลากร 
- วางแผนในระยะต่อไป 
- จัดทำข้อมูลสารสนเทศ 
ภาพที่ 4.1 แสดงขั้นตอนการดำเนินการประกันคุณภาพภายใน 
(สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ 2543 :13)
ขั้นตอนการดำเนินการประกันคุณภาพภายในมีรายละเอียด ดังนี้ 
1.ขั้นการเตรียมการ ซึ่งการเตรียมการที่มีความสำคัญ คือ 
ขั้นตอนการดำเนินการประกันคุณภาพภายในมีรายละเอียด ดังนี้ 
1.1 การเตรียมความพร้อมของบุคลากร โดยต้องสร้างความตระหนักถึงคุณค่า 
ของการประกันคุณภาพภายในและการทำงานเป็นทีม ซึ่งจะจัดทำการชี้แจงทำ 
ความเข้าใจโดยใช้บุคลากรภายในสถานศึกษาหรือวิทยากรมืออาชีพจากภายนอก 
โดยบุคลากรทุกคนในสถานศึกษาได้มีโอกาสเข้าร่วมประชุมรับทราบพร้อมกัน 
และต้องพัฒนาความรู้ ทักษะเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในให้บุคลากรทุก 
คนเกิดความมั่นใจในการดำเนินงานประกันคุณภาพด้วยการจัดประชุมเชิง 
ปฏิบัติการ โดยเน้นเนื้อหาเกี่ยวกับการจัดทำแผนพัฒนาสถานศึกษาและ 
แผนปฏิบัติการ
ในแต่ละปี ต่อมาเน้นเนื้อหาการกำหนดกรอบและแผนการประเมิน การสร้าง 
เครื่องมือประเมินและการรวบรวมข้อมูล ในช่วงท้ายเน้นเรื่องเกี่ยวกับการ 
วิเคราะห์ข้อมูล การนำเสนอผลการประเมินและการเขียนรายงานผลการประเมิน 
ตนเอง (Self Study Report) 
1.2 การแต่งตั้งคณะกรรมการผู้รับผิดชอบในการประสานงาน กำกับดูแล 
ช่วยเหลือสนับสนุนให้ทุกฝ่ายทำงานร่วมกันและเชื่อมโยงเป็นทีม โดยการตั้ง 
คณะกรรมการควรพิจารณาตามแผนภูมิโครงสร้างการบริหารซึ่งฝ่ายที่ 
รับผิดชอบงานใดควรเป็นกรรมการรับผิดชอบการพัฒนาและประเมินคุณภาพ 
งานนั้น
2. ขั้นการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ประกอบด้วยขั้นตอนหลัก 4 
ขั้นตอน 
2.1 การวางแผน จะต้องมีการกำหนดเป้าหมาย แนวทางการดำเนินงาน 
ผู้รับผิดชอบงาน ระยะเวลาและทรัพยากรที่ต้องใช้ สำหรับแผนต่างๆ ที่ควร 
จัดทำคือ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี 
แผนการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายของ 
สถานศึกษา แผนการประเมินคุณภาพและแผนงบประมาณ เป็นต้น 
2.2 การปฏิบัติตามแผน ซึ่งในขณะดำเนินการต้องมีการเรียนรู้เพิ่มเติม 
ตลอดเวลาและผู้บริหารควรให้การส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรทุก 
คนทำงานอย่างมีความสุข จัดสิ่งอำนวยความสะดวก สนับสนุนทรัพยากรเพื่อ 
การปฏิบัติ กำกับ ติดตามการทำงานทั้งระดับบุคลากร รายกลุ่ม รายหมวด และ 
ให้การนิเทศ
2.3 การตรวจสอบประเมินผล ซึ่งเป็นกลไกสำคัญที่จะกระตุ้นให้เกิดการพัฒนา 
เพราะจะทำให้ได้ข้อมูลย้อนกลับที่แสดงว่าการดำเนินงานที่ผ่านมาบรรลุ 
เป้าหมายเพียงใด โดยการประเมินต้องจัดวางกรอบการประเมิน จัดหาหรือ 
จัดทำเครื่องมือ จัดเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล แปลความข้อมูล และการ 
ตรวจสอบ ปรับปรุงคุณภาพการประเมิน 
2.4 การนำผลการประเมินมาปรับปรุงงาน เมื่อแต่ละฝ่ายประเมินผลเสร็จแล้วจะ 
ส่งผลให้คณะกรรมการรับผิดชอบนำไปวิเคราะห์ สังเคราะห์และแปลผลแล้ว 
นำเสนอผลต่อผู้เกี่ยวข้องเพื่อนำไปปรับปรุงการปฏิบัติงานของผู้บริหารและ 
บุคลากร นำไปวางแผนในระยะต่อไป และจัดทำเป็นข้อมูลสารสนเทศหรือการ 
เขียนรายงานประเมินตนเอง
3. ขั้นการจัดทำรายงานประเมินตนเองหรือรายงานประจำปี เมื่อสถานศึกษา 
ดำเนินการประเมินผลภายในเสร็จแล้วจะจัดทำรายงาน โดยเริ่มจากรวบรวมผล 
การดำเนินงานและผลการประเมินมาวิเคราะห์จำแนกตามมาตรฐานการศึกษา 
และเขียนรายงาน 
ระบบการประกันคุณภาพภายนอก หมายถึง ระบบการประเมินผลและการ 
ติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก 
โดยสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา หรือบุคคลหรือ 
หน่วยงานภายนอกที่สำนักงานดังกล่าวรับรอง เพื่อเป็นการประกันคุณภาพและ 
ให้มีการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา (พระราชบัญญัติ 
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 : มาตรา 4)
ระบบการประกันคุณภาพภายนอก มีหลักการและกระบวนการ ดังต่อไปนี้ 
1. หลักการสำคัญของการประกันคุณภาพภายนอก มี 5 ประการ ดังนี้ 
(สำนักงานรับรองมาตรฐานและการประเมินคุณภาพการศึกษา 2544 : 3) 
1.1 เป็นการประเมินเพื่อมุ่งให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ไม่ได้มุ่งเน้นเรื่อง 
การตัดสิน การจับผิดหรือการให้คุณ ให้โทษ 
1.2 ยึดหลักความเที่ยงตรง เป็นธรรม โปร่งใส มีหลักฐานข้อมูลตามสภาพความ 
เป็นจริง และมีความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ 
1.3 มุ่งสร้างความสมดุลระหว่างเสรีภาพทางการศึกษากับจุดมุ่งหมายและหลัก 
การศึกษาของชาติ โดยให้มีเอกภาพเชิงนโยบายแต่ยังคงมีความหลากหลาย 
ในทางปฏิบัติที่สถานศึกษาสามารถกำหนดเป้าหมายเฉพาะและพัฒนาคุณภาพ 
การศึกษาให้เต็มตามศักยภาพของสถานศึกษาและผู้เรียน
1.4 มุ่งเน้นในเรื่องการส่งเสริมและประสานงานในลักษณะกัลยาณมิตรมากกว่า 
การกำกับ และควบคุม 
1.5 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการประเมินคุณภาพและการพัฒนาการจัด 
การศึกษาจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง 
2. กระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกเป็นกระบวนการที่คณะผู้ประเมิน 
ภายนอกจะรวบรวมและศึกษาข้อมูลจากรายงานผลการประเมินตนเองของ 
สถานศึกษาซึ่งเสนอต่อสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาการศึกษา 
(องค์การมหาชน) แล้วเข้าไปตรวจสอบและประเมินคุณภาพของสถานศึกษา 
รวมทั้งให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากการประเมินเพื่อให้สถานศึกษาใช้เป็น 
แนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง และ 
จัดทำรายงานผลการประเมินเผยแพร่ต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและ สาธารณชน
ขั้นตอนที่ 1 ก่อนการตรวจเยี่ยมสถานศึกษา 
ก่อนการตรวจเยี่ยม 
คณะผู้ 
ประเมิน 
รวบรวมข้อมูล 
- SSR 
- แบบสำรวจ 
-ข้อมูลอื่นๆ 
ศึกษา 
วิเคราะห์ 
ข้อมูล 
กำหนด ขอบเขต 
การประเมิน 
นัดวันที่จะ 
ตรวจเยี่ยม 
ภาพที่ 4.2 แสดงขั้นตอนที่ 1 ก่อนการตรวจเยี่ยมสถานศึกษา 
(สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา 2544 : 8)
ขั้นตอนที่ 2 ระหว่างการตรวจเยี่ยมสถานศึกษา 
คณะผู้ 
ประเมิน 
ไป ร.ร. 
ชี้แจงบุคลากร 
ของ ร.ร. 
ดำเนินการ 
- สังเกต 
- สัมภาษณ์ 
- ดูเอกสารเพิ่มเติม 
วิเคราะห์สรุป นำเสนอผลการตรวจ 
เยี่ยมโดยวาจา 
ระหว่างตรวจเยี่ยม 
ภาพที่ 4.3 แสดงขั้นตอนที่ 2 ระหว่างการตรวจเยี่ยมสถานศึกษา 
(สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา 2544 :
ขั้นตอนที่ 3 หลังการตรวจเยี่ยมสถานศึกษา 
หลังตรวจเยี่ยม 
เขียนรายงาน 
ตรวจเยี่ยม 
ส่งสถานศึกษา 
ตรวจสอบและ 
โต้แย้ง 
พิจารณาข้อ 
โต้แย้งของ 
สถานศึกษา 
ผู้ทรงคุณวุฒิส่ง สมศ. 
พิจารณา แก้ไขปรับปรุง 
รายงาน (ถ้ามี) 
ส่ง สมศ. พิจารณา 
รับรองและ 
เผยแพร่ 
ภาพที่4.4 แสดงขั้นตอนที่ 3 หลังการตรวจเยี่ยมสถานศึกษา 
(สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา 2544 : 13)
5. รูปแบบการประกันคุณภาพการศึกษาของ Lewis 
จากรูป รูปแบบการประกันคุณภาพ 11 ขั้นตอน สามารถอธิบายแต่ละขั้นตอนได้ดังนี้
1. มหาวิทยาลัยหรือสถาบันอาชีวะ จะต้องพัฒนามาตรฐานวิชาชีพออกมา 
กำหนดขอบเขตของงาน กำหนดมาตรฐานด้านต่างๆโดยรับฟังความ 
คิดเห็นจากสถานประกอบการที่เป็นผู้ใช้นักศึกษา 
2. พิจารณาวัตถุประสงค์และมาตรฐานออกมา ในรูปการเรียนรู้ของผู้เรียน 
3. การเรียนรู้จะถูกติดตาม ตรวจสอบประเมินผล ด้วยการประเมินตนเองทั้งใน 
ระดับรายบุคคลและระดับสถาบัน 
4. มีการประเมินตนเอง และประเมินโดยคณะบุคคลจากภายนอก 
5. ผลการประเมินจะนำไปสู่การฝึกอบรมและพัฒนา การทบทวนเนื้อหา 
รายวิชา การทบทวนการแบ่งสรรทรัพยากร การทบทวนระบบบริหาร การ 
ทบทวนระบบบริหาร
6. กระบวนการตามขั้นตอนที่ 3,4,5 ก่อให้เกิดระบบประกันคุณภาพขึ้น 
7. ผู้ตรวจสอบคุณภาพจากภายนอก พิจารณาคุณภาพการจัดการศึกษาของ 
สถาบัน 
8. ประเมินคุณภาพจากสภาพแวดล้อมทางการเรียน โดยผู้ตรวจสอบจาก 
ภายนอกสถาบัน 
9. รายงานผลการประเมิน เพื่อการยอมรับหรือปรับปรุง 
10. ผลจากกระบวนการประกันคุณภาพ จะมีการปรับเปลี่ยนวัตถุประสงค์ 
กำหนดมาตรฐานใหม่ โดยรับฟังข้อเสนอแนะจากผู้ใช้ผลผลิต 
11. ผลจากการฝึกอบรมและพัฒนาอาจารย์ของสถาบัน จะส่งผลให้เกิด 
ความสามารถในวิชาชีพการสอนเพิ่มขึ้น

More Related Content

What's hot

รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
Bigbic Thanyarat
 
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
Kruthai Kidsdee
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
poms0077
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
krupornpana55
 
บริการติดตามผล
บริการติดตามผล บริการติดตามผล
บริการติดตามผล
Wiparat Khangate
 
สมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไกสมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไก
593non
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
mickyindbsk
 

What's hot (20)

รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
 
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์ รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
ตัวละครในกัณฑ์ชูชก
ตัวละครในกัณฑ์ชูชกตัวละครในกัณฑ์ชูชก
ตัวละครในกัณฑ์ชูชก
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
 
ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อน
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
แบบประเม น
แบบประเม นแบบประเม น
แบบประเม น
 
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
แนวข้อสอบ  100  ข้อแนวข้อสอบ  100  ข้อ
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
 
บริการติดตามผล
บริการติดตามผล บริการติดตามผล
บริการติดตามผล
 
วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่
 
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯPpt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
 
สมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไกสมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไก
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 

Viewers also liked

การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
Suwanan Nonsrikham
 
การประกันคุณภาพ
การประกันคุณภาพการประกันคุณภาพ
การประกันคุณภาพ
Pisamai Phanthulawan
 
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
Aonaon Krubpom
 
แนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
แนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาแนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
แนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
คนสังคม สังคมคน
 
ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา
Panisara Phonman
 
52แบบตรวจสอบแผนใส่ท้ายเล่มแผน
52แบบตรวจสอบแผนใส่ท้ายเล่มแผน52แบบตรวจสอบแผนใส่ท้ายเล่มแผน
52แบบตรวจสอบแผนใส่ท้ายเล่มแผน
Pochchara Tiamwong
 
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
Pochchara Tiamwong
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
Pochchara Tiamwong
 
การวิจัยชั้นเรียนอาชีวศึกษา
การวิจัยชั้นเรียนอาชีวศึกษาการวิจัยชั้นเรียนอาชีวศึกษา
การวิจัยชั้นเรียนอาชีวศึกษา
Prachyanun Nilsook
 
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กแนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
Kittisak Amthow
 

Viewers also liked (20)

การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
 
การประกันคุณภาพ
การประกันคุณภาพการประกันคุณภาพ
การประกันคุณภาพ
 
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
 
File1
File1File1
File1
 
Kpi(2)
Kpi(2)Kpi(2)
Kpi(2)
 
F9
F9F9
F9
 
เครื่องมือการประกันคุณภาพภายใน
เครื่องมือการประกันคุณภาพภายในเครื่องมือการประกันคุณภาพภายใน
เครื่องมือการประกันคุณภาพภายใน
 
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาสรุปผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
 
ระบบประกันภายใน
ระบบประกันภายในระบบประกันภายใน
ระบบประกันภายใน
 
แนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
แนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาแนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
แนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
 
เครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
เครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
เครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
 
ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา
 
แผนโครงการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ๕ด้าน ปีการศึกษา 2556
แผนโครงการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ๕ด้าน ปีการศึกษา 2556แผนโครงการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ๕ด้าน ปีการศึกษา 2556
แผนโครงการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ๕ด้าน ปีการศึกษา 2556
 
52แบบตรวจสอบแผนใส่ท้ายเล่มแผน
52แบบตรวจสอบแผนใส่ท้ายเล่มแผน52แบบตรวจสอบแผนใส่ท้ายเล่มแผน
52แบบตรวจสอบแผนใส่ท้ายเล่มแผน
 
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
 
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสองสรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
 
การวิจัยชั้นเรียนอาชีวศึกษา
การวิจัยชั้นเรียนอาชีวศึกษาการวิจัยชั้นเรียนอาชีวศึกษา
การวิจัยชั้นเรียนอาชีวศึกษา
 
แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานแนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กแนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
 

Similar to การประกันคุณภาพการศึกษา2

แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษาแนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
K S
 
Microsoft word โครงการปี 56 มยุรี
Microsoft word   โครงการปี 56 มยุรีMicrosoft word   โครงการปี 56 มยุรี
Microsoft word โครงการปี 56 มยุรี
Mayuree Kung
 
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555
K S
 
คู่มือการใช้งานชุดโปรแกรมจัดการเรียนการสอนสำหรับโรงเรียนที่ใช้สื่อการศึกษาทาง...
คู่มือการใช้งานชุดโปรแกรมจัดการเรียนการสอนสำหรับโรงเรียนที่ใช้สื่อการศึกษาทาง...คู่มือการใช้งานชุดโปรแกรมจัดการเรียนการสอนสำหรับโรงเรียนที่ใช้สื่อการศึกษาทาง...
คู่มือการใช้งานชุดโปรแกรมจัดการเรียนการสอนสำหรับโรงเรียนที่ใช้สื่อการศึกษาทาง...
sathaporn9
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
omsnooo
 

Similar to การประกันคุณภาพการศึกษา2 (20)

แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษาแนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
 
สัปดาห์ที่9 ประกันภายใน
สัปดาห์ที่9 ประกันภายในสัปดาห์ที่9 ประกันภายใน
สัปดาห์ที่9 ประกันภายใน
 
Microsoft word โครงการปี 56 มยุรี
Microsoft word   โครงการปี 56 มยุรีMicrosoft word   โครงการปี 56 มยุรี
Microsoft word โครงการปี 56 มยุรี
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 9
รายงานผลจุดเน้นที่ 9รายงานผลจุดเน้นที่ 9
รายงานผลจุดเน้นที่ 9
 
Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...
Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...
Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...
 
คู่มือวิชาการ
คู่มือวิชาการคู่มือวิชาการ
คู่มือวิชาการ
 
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
 
แบบนิเทศDlitครูผู้สอน
แบบนิเทศDlitครูผู้สอนแบบนิเทศDlitครูผู้สอน
แบบนิเทศDlitครูผู้สอน
 
2 ตอน2 sar57
2 ตอน2 sar572 ตอน2 sar57
2 ตอน2 sar57
 
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555
 
ครู 3
ครู 3ครู 3
ครู 3
 
คู่มือการใช้งานชุดโปรแกรมจัดการเรียนการสอนสำหรับโรงเรียนที่ใช้สื่อการศึกษาทาง...
คู่มือการใช้งานชุดโปรแกรมจัดการเรียนการสอนสำหรับโรงเรียนที่ใช้สื่อการศึกษาทาง...คู่มือการใช้งานชุดโปรแกรมจัดการเรียนการสอนสำหรับโรงเรียนที่ใช้สื่อการศึกษาทาง...
คู่มือการใช้งานชุดโปรแกรมจัดการเรียนการสอนสำหรับโรงเรียนที่ใช้สื่อการศึกษาทาง...
 
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษาการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
 
17
1717
17
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
 
จุดเน้นที่ 7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน ...
จุดเน้นที่  7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน   ...จุดเน้นที่  7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน   ...
จุดเน้นที่ 7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน ...
 
Iqa manual2557
Iqa manual2557Iqa manual2557
Iqa manual2557
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 

การประกันคุณภาพการศึกษา2

  • 1.
  • 2. การประกันคุณภาพการศึกษา ความหมายของการประกันคุณภาพการศึกษา ประกันคุณภาพ คือ การวางแผนและการปฏิบัติของหน่วยผลิตที่มุ่งจะ ผลิตสิ่งที่มีคุณภาพตรงกับความต้องการของผู้ใช้ผลผลิต การประกันคุณภาพการศึกษา หมายถึง กิจกรรมหรือแนวปฏิบัติใด ๆ ที่หากได้ดำเนินการตามระบบและแผนที่ได้วางไว้แล้ว จะทำให้เกิดความ มั่นใจว่าจะได้ผลผลิตของการศึกษาที่มีคุณภาพตามคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ ดังนั้น การประกันคุณภาพทางการศึกษาจึงเป็นกระบวนการ วางแผน และกระบวนการจัดการของ ผู้ที่รับผิดชอบจัดการศึกษาที่ จะ รับประกันให้สังคมเชื่อมั่น ว่าจะพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ให้ ครบถ้วนตามมาตรฐานคุณภาพที่ระบุไว้ในหลักสูตร
  • 3. การประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา จะมีประสิทธิผลต่อเมื่อได้มีการ ประเมินผลการดำเนินงานตามภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีการทบทวนและติดตามกระบวนการดำเนินการโดยใกล้ชิด ในการ พัฒนาระบบการประกันคุณภาพนั้น การดำเนินการจะยึดหลักการของการให้ เสรีภาพ ทางวิชาการ (Academic Freedom) และความมีอิสระในการกำหนด แนวทางในการบริหารและดำเนินการของสถาบัน (Institutional Autonomy) เพื่อความมีคุณภาพภายในสถาบันอย่างเต็มที่ แต่ทั้งนี้ สถาบันอุดมศึกษาจะต้อง พร้อมที่จะรับการตรวจสอบจากภายนอก อย่างไรก็ตาม เชื่อว่าระบบการประกัน คุณภาพที่ได้กำหนดขึ้น จะเป็นไปตามหลักการที่ว่า หากสถาบันอุดมศึกษา สามารถ ควบคุมองค์ประกอบต่าง ๆ ที่ใช้ในการผลิตบัณฑิตให้เป็นไปอย่างมี คุณภาพพร้อมทั้งมีระบบของการตรวจสอบและประเมินจากภายนอกแล้ว คุณภาพของบัณฑิตก็จะดีด้วย
  • 4. 2. สาเหตุที่ต้องมีการประกันคุณภาพการศึกษา โลกในยุคปัจจุบันเป็นยุคโลกาภิวัตน์ที่มีความเจริญก้าวหน้า ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว จึงจำเป็น ที่แต่ละประเทศต้องเรียนรู้ที่จะปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยู่ ตลอดเวลาและเตรียมพร้อมที่จะเผชิญกับความท้าทายจากกระแสโลก โดยปัจจัย สำคัญที่จะเผชิญการเปลี่ยนแปลงและความท้าทายดังกล่าว คือคุณภาพของคน ประกันคุณภาพการศึกษาในระดับอุดมศึกษาขึ้น ปัจจัยดังกล่าว คือ 1. ประเทศไทยยังไม่เคยมีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาที่มีรูปแบบที่ ชัดเจน และบ่งชี้ได้ว่าจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาได้เป็นไปอย่างมีคุณภาพ 2. คุณภาพของสถาบันอุดมศึกษาและบัณฑิต มีแนวโน้มที่จะมีความแตกต่างกัน มากขึ้น ซึ่งจะก่อให้เกิดผลเสียแก่ประเทศไทยโดยส่วนรวมในระยะยาว
  • 5. 3. มีการแข่งขันกันในเชิงคุณภาพของการจัดการศึกษาและคุณภาพของ บัณฑิตในวงการอุดมศึกษาทั้งภายในประเทศและนอกประเทศมากขึ้น 4. สถาบันอุดมศึกษามีความจำเป็นที่จะต้องมีการพัฒนาองค์ความรู้ให้ เป็นสากล เพื่อให้ได้รับการยอมรับจากนานาชาติมากขึ้น 5. สถาบันอุดมศึกษามีความจำเป็นที่จะต้องสร้างความมั่นใจให้แก่ สังคมว่าสามารถผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ 6. สถาบันอุดมศึกษาจะต้องให้ข้อมูลสาธารณะ (Public Information) ที่ เป็นประโยชน์ต่อนักศึกษา ผู้จ้างงาน รัฐบาล และประชาชนทั่วไป 7. สังคมต้องการระบบอุดมศึกษาที่มีความโปร่งใส (Transparency) และความรับผิดชอบ ซึ่งตรวจสอบได้ (Accountability)
  • 6. ในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพนั้น จะยึดหลักของการให้เสรีภาพทาง วิชาการ (Academic Freedom) และความมีอิสระในการดำเนินการของสถาบัน (Institutional Autonomy) เพื่อความมีคุณภาพภายในสถาบันอย่างเต็มที่ แต่ทั้งนี้ สถาบันอุดมศึกษาจะต้องพร้อมที่จะรับการตรวจสอบจากภายนอก ซึ่งเป็นไป ตามหลักการของความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ (Accountability) ความสมดุลย์ ของหลักการดังกล่าว คือ แนวทางในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ อุดมศึกษาที่พึงประสงค์
  • 7. 3. องค์ประกอบของการประกันคุณภาพการศึกษา องค์ประกอบของการประกันคุณภาพการศึกษา หมายถึง ส่วนต่าง ๆ ของระบบประกันคุณภาพที่สาขาวิชาเลือกใช้ในการประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งองค์ประกอบนี้จะครอบคลุมและสอดคล้องกับระบบบริหารงานภายในของ มหาวิทยาลัย การประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยแยกได้เป็น ๒ ส่วน คือ 3.1 การประกันคุณภาพภายใน หมายถึง การประเมินผลและการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถาบันศึกษาจากภายใน โดย บุคลากรของสถาบันการศึกษานั้นเองหรือโดยหน่วยงานต้นสังกัดที่มีหน้าที่ กำกับดูแลสถานศึกษานั้น เพื่อให้มีความมั่นใจว่าสถาบันอุดมศึกษาดำเนินการ ตามภารกิจหลักอย่างมี คุณภาพ และกระบวนการประกันคุณภาพภายในยัง ประกอบด้วย
  • 8. 1) การควบคุมคุณภาพ (Quality Control) 2) การตรวจสอบคุณภาพ (Quality Audit) 3) การประเมินคุณภาพ (Quality Assessment) 3.2 การประกันคุณภาพโดยภายนอก หมายถึง การติดตามตรวจสอบ คุณภาพและการประเมินผลของสถาบันการศึกษาจากภายนอก โดยสำนักงาน รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาหรือบุคคล หรือหน่วยงาน ภายนอกที่สำนักงานดังกล่าวรับรอง เพื่อเป็นการประกันคุณภาพและให้มีการ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานของสถาบันการศึกษา และกระบวนการประกัน คุณภาพภายนอก ยังประกอบด้วย 1) การตรวจสอบคุณภาพ (Quality Audit) 2) การประเมินคุณภาพ (Quality Assessment) 3) การรับรองมาตรฐาน (Quality Accreditation)
  • 10. 4. ขั้นตอนการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษา 4.1 ขั้นตอนการดำเนินงานตามกระบวนการประกันคุณภาพภายใน การดำเนินการประกันคุณภาพภายในตามกระบวนการที่กล่าว มาแล้ว มีแนวทางและขั้นตอน ดังแผนภาพต่อไปนี้
  • 11. 1.1 เตรียมความพร้อมของ บุคลากร - สร้างความตระหนัก - พัฒนาความรู้ ทักษะ 1.2 แต่งตั้งกรรมการรับผิดชอบ 2.1วางแผนการปฏิบัติงาน (P) - กำหนดเป้าหมายหรือมาตรฐาน การศึกษา - จัดลำดับความสำคัญเป้าหมาย - กำหนดแนวทางการดำเนินงาน - กำหนดระยะเวลา - กำหนดงบประมาณ - กำหนดผู้รับผิดชอบ จัดทำรายงานประเมินตนเองหรือ รายงาน ประจำปี - รวบรวมผลการ ดำเนินงานและผลการ ประเมิน - วิเคราะห์ตามมาตรฐาน - เขียนรายงาน 2.2 ดำเนินการตามแผน (D) - ส่งเสริม สนับสนุน - จัดสิ่งอำนวยความสะดวก สนับสนุนทรัพยากร - กำกับ ติดตาม - ให้การนิเทศ 2.3 ตรวจสอบประเมินผล (C) - วางกรอบการประเมิน - จัดหาหรือจัดทำเครื่องมือ - เก็บข้อมูล - แปลความหมาย - ตรวจสอบ/ปรับปรุงคุณภาพการประเมิน 2.4 นำผลการประเมินมาปรับปรุงงาน (A) - ปรับปรุงการปฏิบัติงานของบุคลากร - วางแผนในระยะต่อไป - จัดทำข้อมูลสารสนเทศ ภาพที่ 4.1 แสดงขั้นตอนการดำเนินการประกันคุณภาพภายใน (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ 2543 :13)
  • 12. ขั้นตอนการดำเนินการประกันคุณภาพภายในมีรายละเอียด ดังนี้ 1.ขั้นการเตรียมการ ซึ่งการเตรียมการที่มีความสำคัญ คือ ขั้นตอนการดำเนินการประกันคุณภาพภายในมีรายละเอียด ดังนี้ 1.1 การเตรียมความพร้อมของบุคลากร โดยต้องสร้างความตระหนักถึงคุณค่า ของการประกันคุณภาพภายในและการทำงานเป็นทีม ซึ่งจะจัดทำการชี้แจงทำ ความเข้าใจโดยใช้บุคลากรภายในสถานศึกษาหรือวิทยากรมืออาชีพจากภายนอก โดยบุคลากรทุกคนในสถานศึกษาได้มีโอกาสเข้าร่วมประชุมรับทราบพร้อมกัน และต้องพัฒนาความรู้ ทักษะเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในให้บุคลากรทุก คนเกิดความมั่นใจในการดำเนินงานประกันคุณภาพด้วยการจัดประชุมเชิง ปฏิบัติการ โดยเน้นเนื้อหาเกี่ยวกับการจัดทำแผนพัฒนาสถานศึกษาและ แผนปฏิบัติการ
  • 13. ในแต่ละปี ต่อมาเน้นเนื้อหาการกำหนดกรอบและแผนการประเมิน การสร้าง เครื่องมือประเมินและการรวบรวมข้อมูล ในช่วงท้ายเน้นเรื่องเกี่ยวกับการ วิเคราะห์ข้อมูล การนำเสนอผลการประเมินและการเขียนรายงานผลการประเมิน ตนเอง (Self Study Report) 1.2 การแต่งตั้งคณะกรรมการผู้รับผิดชอบในการประสานงาน กำกับดูแล ช่วยเหลือสนับสนุนให้ทุกฝ่ายทำงานร่วมกันและเชื่อมโยงเป็นทีม โดยการตั้ง คณะกรรมการควรพิจารณาตามแผนภูมิโครงสร้างการบริหารซึ่งฝ่ายที่ รับผิดชอบงานใดควรเป็นกรรมการรับผิดชอบการพัฒนาและประเมินคุณภาพ งานนั้น
  • 14. 2. ขั้นการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ประกอบด้วยขั้นตอนหลัก 4 ขั้นตอน 2.1 การวางแผน จะต้องมีการกำหนดเป้าหมาย แนวทางการดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบงาน ระยะเวลาและทรัพยากรที่ต้องใช้ สำหรับแผนต่างๆ ที่ควร จัดทำคือ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี แผนการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายของ สถานศึกษา แผนการประเมินคุณภาพและแผนงบประมาณ เป็นต้น 2.2 การปฏิบัติตามแผน ซึ่งในขณะดำเนินการต้องมีการเรียนรู้เพิ่มเติม ตลอดเวลาและผู้บริหารควรให้การส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรทุก คนทำงานอย่างมีความสุข จัดสิ่งอำนวยความสะดวก สนับสนุนทรัพยากรเพื่อ การปฏิบัติ กำกับ ติดตามการทำงานทั้งระดับบุคลากร รายกลุ่ม รายหมวด และ ให้การนิเทศ
  • 15. 2.3 การตรวจสอบประเมินผล ซึ่งเป็นกลไกสำคัญที่จะกระตุ้นให้เกิดการพัฒนา เพราะจะทำให้ได้ข้อมูลย้อนกลับที่แสดงว่าการดำเนินงานที่ผ่านมาบรรลุ เป้าหมายเพียงใด โดยการประเมินต้องจัดวางกรอบการประเมิน จัดหาหรือ จัดทำเครื่องมือ จัดเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล แปลความข้อมูล และการ ตรวจสอบ ปรับปรุงคุณภาพการประเมิน 2.4 การนำผลการประเมินมาปรับปรุงงาน เมื่อแต่ละฝ่ายประเมินผลเสร็จแล้วจะ ส่งผลให้คณะกรรมการรับผิดชอบนำไปวิเคราะห์ สังเคราะห์และแปลผลแล้ว นำเสนอผลต่อผู้เกี่ยวข้องเพื่อนำไปปรับปรุงการปฏิบัติงานของผู้บริหารและ บุคลากร นำไปวางแผนในระยะต่อไป และจัดทำเป็นข้อมูลสารสนเทศหรือการ เขียนรายงานประเมินตนเอง
  • 16. 3. ขั้นการจัดทำรายงานประเมินตนเองหรือรายงานประจำปี เมื่อสถานศึกษา ดำเนินการประเมินผลภายในเสร็จแล้วจะจัดทำรายงาน โดยเริ่มจากรวบรวมผล การดำเนินงานและผลการประเมินมาวิเคราะห์จำแนกตามมาตรฐานการศึกษา และเขียนรายงาน ระบบการประกันคุณภาพภายนอก หมายถึง ระบบการประเมินผลและการ ติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก โดยสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา หรือบุคคลหรือ หน่วยงานภายนอกที่สำนักงานดังกล่าวรับรอง เพื่อเป็นการประกันคุณภาพและ ให้มีการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา (พระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 : มาตรา 4)
  • 17. ระบบการประกันคุณภาพภายนอก มีหลักการและกระบวนการ ดังต่อไปนี้ 1. หลักการสำคัญของการประกันคุณภาพภายนอก มี 5 ประการ ดังนี้ (สำนักงานรับรองมาตรฐานและการประเมินคุณภาพการศึกษา 2544 : 3) 1.1 เป็นการประเมินเพื่อมุ่งให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ไม่ได้มุ่งเน้นเรื่อง การตัดสิน การจับผิดหรือการให้คุณ ให้โทษ 1.2 ยึดหลักความเที่ยงตรง เป็นธรรม โปร่งใส มีหลักฐานข้อมูลตามสภาพความ เป็นจริง และมีความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ 1.3 มุ่งสร้างความสมดุลระหว่างเสรีภาพทางการศึกษากับจุดมุ่งหมายและหลัก การศึกษาของชาติ โดยให้มีเอกภาพเชิงนโยบายแต่ยังคงมีความหลากหลาย ในทางปฏิบัติที่สถานศึกษาสามารถกำหนดเป้าหมายเฉพาะและพัฒนาคุณภาพ การศึกษาให้เต็มตามศักยภาพของสถานศึกษาและผู้เรียน
  • 18. 1.4 มุ่งเน้นในเรื่องการส่งเสริมและประสานงานในลักษณะกัลยาณมิตรมากกว่า การกำกับ และควบคุม 1.5 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการประเมินคุณภาพและการพัฒนาการจัด การศึกษาจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง 2. กระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกเป็นกระบวนการที่คณะผู้ประเมิน ภายนอกจะรวบรวมและศึกษาข้อมูลจากรายงานผลการประเมินตนเองของ สถานศึกษาซึ่งเสนอต่อสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาการศึกษา (องค์การมหาชน) แล้วเข้าไปตรวจสอบและประเมินคุณภาพของสถานศึกษา รวมทั้งให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากการประเมินเพื่อให้สถานศึกษาใช้เป็น แนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง และ จัดทำรายงานผลการประเมินเผยแพร่ต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและ สาธารณชน
  • 19. ขั้นตอนที่ 1 ก่อนการตรวจเยี่ยมสถานศึกษา ก่อนการตรวจเยี่ยม คณะผู้ ประเมิน รวบรวมข้อมูล - SSR - แบบสำรวจ -ข้อมูลอื่นๆ ศึกษา วิเคราะห์ ข้อมูล กำหนด ขอบเขต การประเมิน นัดวันที่จะ ตรวจเยี่ยม ภาพที่ 4.2 แสดงขั้นตอนที่ 1 ก่อนการตรวจเยี่ยมสถานศึกษา (สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา 2544 : 8)
  • 20. ขั้นตอนที่ 2 ระหว่างการตรวจเยี่ยมสถานศึกษา คณะผู้ ประเมิน ไป ร.ร. ชี้แจงบุคลากร ของ ร.ร. ดำเนินการ - สังเกต - สัมภาษณ์ - ดูเอกสารเพิ่มเติม วิเคราะห์สรุป นำเสนอผลการตรวจ เยี่ยมโดยวาจา ระหว่างตรวจเยี่ยม ภาพที่ 4.3 แสดงขั้นตอนที่ 2 ระหว่างการตรวจเยี่ยมสถานศึกษา (สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา 2544 :
  • 21. ขั้นตอนที่ 3 หลังการตรวจเยี่ยมสถานศึกษา หลังตรวจเยี่ยม เขียนรายงาน ตรวจเยี่ยม ส่งสถานศึกษา ตรวจสอบและ โต้แย้ง พิจารณาข้อ โต้แย้งของ สถานศึกษา ผู้ทรงคุณวุฒิส่ง สมศ. พิจารณา แก้ไขปรับปรุง รายงาน (ถ้ามี) ส่ง สมศ. พิจารณา รับรองและ เผยแพร่ ภาพที่4.4 แสดงขั้นตอนที่ 3 หลังการตรวจเยี่ยมสถานศึกษา (สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา 2544 : 13)
  • 22. 5. รูปแบบการประกันคุณภาพการศึกษาของ Lewis จากรูป รูปแบบการประกันคุณภาพ 11 ขั้นตอน สามารถอธิบายแต่ละขั้นตอนได้ดังนี้
  • 23. 1. มหาวิทยาลัยหรือสถาบันอาชีวะ จะต้องพัฒนามาตรฐานวิชาชีพออกมา กำหนดขอบเขตของงาน กำหนดมาตรฐานด้านต่างๆโดยรับฟังความ คิดเห็นจากสถานประกอบการที่เป็นผู้ใช้นักศึกษา 2. พิจารณาวัตถุประสงค์และมาตรฐานออกมา ในรูปการเรียนรู้ของผู้เรียน 3. การเรียนรู้จะถูกติดตาม ตรวจสอบประเมินผล ด้วยการประเมินตนเองทั้งใน ระดับรายบุคคลและระดับสถาบัน 4. มีการประเมินตนเอง และประเมินโดยคณะบุคคลจากภายนอก 5. ผลการประเมินจะนำไปสู่การฝึกอบรมและพัฒนา การทบทวนเนื้อหา รายวิชา การทบทวนการแบ่งสรรทรัพยากร การทบทวนระบบบริหาร การ ทบทวนระบบบริหาร
  • 24. 6. กระบวนการตามขั้นตอนที่ 3,4,5 ก่อให้เกิดระบบประกันคุณภาพขึ้น 7. ผู้ตรวจสอบคุณภาพจากภายนอก พิจารณาคุณภาพการจัดการศึกษาของ สถาบัน 8. ประเมินคุณภาพจากสภาพแวดล้อมทางการเรียน โดยผู้ตรวจสอบจาก ภายนอกสถาบัน 9. รายงานผลการประเมิน เพื่อการยอมรับหรือปรับปรุง 10. ผลจากกระบวนการประกันคุณภาพ จะมีการปรับเปลี่ยนวัตถุประสงค์ กำหนดมาตรฐานใหม่ โดยรับฟังข้อเสนอแนะจากผู้ใช้ผลผลิต 11. ผลจากการฝึกอบรมและพัฒนาอาจารย์ของสถาบัน จะส่งผลให้เกิด ความสามารถในวิชาชีพการสอนเพิ่มขึ้น