SlideShare a Scribd company logo
1 of 136
Download to read offline
คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา
ฉบับปการศึกษา 2557
สํานักมาตรฐานและคุณภาพอุดมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
~ 2 ~
คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา ฉบับปการศึกษา 2557
สารบัญ
หนา
สวนที่ 1 การประกันคุณภาพการศึกษา 3-12
1) เหตุผลและความจําเปนของการประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา
2) กฎหมายที่เกี่ยวของกับการประกันคุณภาพการศึกษา
3) การประกันคุณภาพการศึกษา
4) ความเชื่อมโยงระหวางมาตรฐานการศึกษากับการประกันคุณภาพการศึกษา
5) ความเชื่อมโยงระหวางการประกันคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพ
สวนที่ 2 การประกันคุณภาพภายใน 13-18
1) พัฒนาการของระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
2) การประกันคุณภาพการศึกษาราอบใหม (ปการศึกษา 2557-2561)
3) กระบวนการและวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน (ปการศึกษา 2557-2561)
สวนที่ 3 นิยามศัพท 19-25
สวนที่ 4 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร 26-69
สวนที่ 5 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับคณะ 70-94
สวนที่ 6 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับสถาบัน 95-113
สวนที่ 7 แนวทางการวิเคราะหและสรุปผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 114-118
ภาคผนวก 119
~ 3 ~
คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา ฉบับปการศึกษา 2557
สวนที่ 1
การประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา
1. เหตุผลและความจําเปนของการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา
1.1 ความจําเปนของการประกันคุณภาพการศึกษา
ภารกิจหลักที่สถาบันอุดมศึกษาจะตองปฏิบัติมี 4 ประการ คือ การผลิตบัณฑิต การวิจัยการใหบริการ ทาง
วิชาการแกสังคม และการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม การดําเนินการตามภารกิจทั้ง 4 ประการดังกลาว มี
ความสําคัญอยางยิ่งตอการพัฒนาประเทศทั้งระยะสั้นและระยะยาว ปจจุบันมีปจจัยภายในและภายนอกหลาย
ประการที่ทําใหการประกันคุณภาพการศึกษาในระดับอุดมศึกษาเปนสิ่งจําเปนที่จะตองเรงดําเนินการ ปจจัยดัง
กลาวคือ
1) คุณภาพของสถาบันอุดมศึกษาและบัณฑิตภายในประเทศที่มีแนวโนมแตกตางกันมากขึ้น ซึ่งจะกอใหเกิด
ผลเสียแกสังคมโดยรวมของประเทศในระยะยาว
2) ความทาทายของโลกาภิวัตนตอการอุดมศึกษา ทั้งในประเด็นการบริการการศึกษาขามพรมแดน และการ
เคลื่อนยายนักศึกษาและบัณฑิต การประกอบอาชีพของบัณฑิตในอนาคต อันเปนผลจากการรวมตัวของประเทศใน
ภูมิภาคอาเซียน ซึ่งทั้งสองประเด็นตองการการรับประกันของคุณภาพการศึกษา
3) สถาบันอุดมศึกษามีความจําเปนที่จะตองสรางความมั่นใจแกสังคมวาสามารถพัฒนาองคความรู และ
ผลิตบัณฑิต ตอบสนองตอยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศใหมากขึ้น ไมวาจะเปนการสรางขีดความสามารถในการ
แขงขันระดับสากล การพัฒนาภาคการผลิตจริงทั้งอุตสาหกรรมและบริการ การพัฒนาอาชีพ คุณภาพชีวิต ความ
เปนอยูระดับทองถิ่นและชุมชน
4) สถาบันอุดมศึกษาจะตองใหขอมูลสาธารณะ (public information) ที่เปนประโยชนตอผูมีสวนไดสวนเสีย
เสีย ทั้งนักศึกษาผูจางงานผูปกครองรัฐบาลและประชาชนทั่วไป
5) สังคมตองการระบบอุดมศึกษาที่เปดโอกาสใหผูมีสวนไดสวนเสียมีสวนรวม (participation) มีความ
โปรงใส (transparency) และมีความรับผิดชอบซึ่งตรวจสอบได (accountability) ตามหลักธรรมาภิบาล
6) พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กําหนดให
สถานศึกษาทุกแหงจัดใหมีระบบการประกันคุณภาพภายในรวมถึงใหมีสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพ การศึกษาทําหนาที่ประเมินคุณภาพภายนอก โดยการประเมินผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
7) คณะกรรมการการอุดมศึกษาไดประกาศใชมาตรฐานการอุดมศึกษา เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2549 เพื่อเปน
กลไกกํากับมาตรฐานระดับกระทรวง ระดับคณะกรรมการการอุดมศึกษา และระดับหนวยงาน โดยทุกหนวยงาน
ระดับอุดมศึกษาจะไดใชเปนกรอบการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
8) กระทรวงศึกษาธิการไดมีประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
แหงชาติ เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2552 และคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดประกาศแนวทางการปฏิบัติตามกรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2552 เพื่อใหการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา
เปนไปตามมาตรฐานการอุดมศึกษาและเพื่อการประกันคุณภาพของบัณฑิตในแตละระดับคุณวุฒิและสาขาวิชา
9) กระทรวงศึกษาธิการไดมีประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา เมื่อวันที่ 24
เมษายน 2554 เพื่อเปนกลไกสงเสริมและกํากับใหสถาบันอุดมศึกษาจัดการศึกษาใหมีมาตรฐานตามประเภทหรือ
กลุมสถาบันอุดมศึกษา 4 กลุม
~ 4 ~
คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา ฉบับปการศึกษา 2557
1.2 วัตถุประสงคองการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา
สถาบันอุดมศึกษารวมกับตนสังกัดจําเปนตองพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา โดยมี
วัตถุประสงคดังนี้
1) เพื่อใหสถาบันไดมีการพัฒนามุงสูวิสัยทัศน และยกระดับขีดความสามารถในการแขงขัน โดยระบบ
ดังกลาวจะตองเปนไปตามเจตนารมณของ พรบ. และเปนไปตามกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว มาตรฐานระดับชาติ
และนานาชาติ
2) เพื่อตรวจสอบและประเมินผลการดําเนินงานตั้งแตระดับหลักสูตร คณะวิชาหรือหนวยงานเทียบเทา และ
สถาบันอุดมศึกษาในภาพรวม ตามระบบคุณภาพและกลไกที่สถาบันนั้น ๆ กําหนดขึ้น โดยวิเคราะหเปรียบเทียบผล
การดําเนินงานตามตัวบงชี้ในองคประกอบคุณภาพตางๆ วาเปนไปตามเกณฑและไดมาตรฐาน
3) เพื่อใหหลักสูตร คณะวิชาหรือหนวยงานเทียบเทาและสถาบันอุดมศึกษาทราบสถานภาพของตนเองอันจะ
นําไปสูการกําหนดแนวทางในการพัฒนาคุณภาพไปสูเปาหมาย (targets) และเปาประสงค (goals) ที่ตั้ง ไวตามจุดเนน
ของตนเอง
4) เพื่อใหไดขอมูลที่สะทอนจุดแข็ง จุดที่ควรปรับปรุง ตลอดจนขอเสนอแนะในการพัฒนาการ ดําเนินงาน
เพื่อนําไปปรับปรุงผลการดําเนินการในแตละระดับอยางตอเนื่อง เพื่อยกระดับขีดความสามารถของสถาบัน
5) เพื่อใหขอมูลสาธารณะที่เปนประโยชนตอผูมีสวนไดสวนเสีย ทําใหมั่นใจวาสถาบันอุดมศึกษาสามารถ
สรางผลผลิตทางการศึกษาที่มีคุณภาพและไดมาตรฐานตามที่กําหนด
6) เพื่อใหหนวยงานตนสังกัดของสถาบันอุดมศึกษาและหนวยงานที่เกี่ยวของ มีขอมูลพื้นฐานที่จําเปน
สําหรับการสงเสริมสนับสนุนการจัดการอุดมศึกษาในแนวทางที่เหมาะสม
2. กฎหมายที่เกี่ยวของกับการประกันคุณภาพการศึกษา
2.1 พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ที่เกี่ยวของ
กับการประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา
พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ไดกําหนดจุดมุงหมาย
และหลักการของการจัดการศึกษาที่มุงเนนคุณภาพและมาตรฐาน โดยกําหนดรายละเอียดไวในหมวด 6 มาตรฐาน
และการประกันคุณภาพการศึกษาซึ่งประกอบดวย “ระบบการประกันคุณภาพภายใน” และ “ระบบการประกัน
คุณภาพภายนอก” เพื่อใชเปนกลไกในการผดุงรักษาคุณภาพและมาตรฐานของสถาบันอุดมศึกษา
การประกันคุณภาพภายใน เปนการสรางระบบและกลไกในการพัฒนา ติดตามตรวจสอบและประเมินการ
ดําเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาใหเปนไปตามนโยบาย เปาหมายและระดับคุณภาพตามมาตรฐานที่กําหนดโดย
สถานศึกษาและหรือหนวยงานตนสังกัด โดยหนวยงานตนสังกัดและสถานศึกษากําหนดใหมีระบบการประกันคุณภาพ
ภายในสถานศึกษาและใหถือวาการประกันคุณภาพภายในเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ตอง
ดําเนินการอยางตอเนื่องมีการจัดทํารายงานประจําปที่เปนรายงานประเมินคุณภาพภายในเสนอตอสภาสถาบัน
หนวยงานตนสังกัด และหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อพิจารณาและเปดเผยตอสาธารณชนเพื่อนําไปสูการพัฒนาคุณภาพ
และมาตรฐานการศึกษาและเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก
การประกันคุณภาพภายนอก เปนการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาเพื่อใหมีการติดตามและ ตรวจสอบ
คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยคํานึงถึงความมุงหมาย หลักการ และแนวการจัดการศึกษาใน
แตละระดับ ซึ่งประเมินโดย “สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) หรือ
~ 5 ~
คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา ฉบับปการศึกษา 2557
เรียกชื่อยอวา “สมศ.” พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ได
กําหนดใหสถานศึกษาทุกแหงตองไดรับการประเมินคุณภาพภายนอกอยางนอย 1 ครั้งในทุกรอบ 5 ป นับตั้งแตการ
ประเมินครั้งสุดทาย และเสนอผลการประเมินตอหนวยงานที่เกี่ยวของและสาธารณชน
2.2 กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551-2565) และแผนพัฒนาการศึกษา
ระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) ไดกําหนดแนวทางการพัฒนาและ
แกปญหาอุดมศึกษาที่ไรทิศทาง ซ้ําซอน ขาดคุณภาพ และขาดประสิทธิภาพ โดยใชกลไกการประเมินคุณภาพและ
มาตรฐานการศึกษาเปนกลไกหลักในการดําเนินการ กลาวคือ ใหมีการสรางกลไกการประเมินคุณภาพ
สถาบันอุดมศึกษาตามพันธกิจของสถาบันในแตละกลุม ซึ่งมีพื้นที่บริการและจุดเนนระดับการศึกษาที่ตางกัน รวมทั้ง
มีพันธกิจและบทบาทในการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจของประเทศตางกันตามความหลากหลาย ทั้งการพัฒนาฐาน
ราก สังคม เศรษฐกิจรวมถึงการกระจายอํานาจในระดับทองถิ่น การขับเคลื่อนภาคการผลิตในชนบท ทองถิ่นและ
ระดับประเทศ จนถึงการแขงขันในโลกาภิวัตน ซึ่งระบบอุดมศึกษาแตละกลุมเหลานี้ จะนําไปสูการเปลี่ยนแปลง
อุดมศึกษา และสงผลกระทบที่เปนประโยชนตอประเทศอยางมีนัยสําคัญ อาทิ สามารถสรางความเปนเลิศไดตาม
พันธกิจของตัวเอง สามารถตอบสนองตอยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศดีขึ้น สงผลเชิงบวกตอการผลิต พัฒนาและ
การทํางานของอาจารย สามารถปรับจํานวนของบัณฑิตในสาขาที่เปนความตองการของสังคม ลดการวางงาน โดยที่
สถาบันอุดมศึกษาในกลุมเหลานี้มีกลไกรวมกันในการประกันคุณภาพ เพื่อใหนักศึกษาสามารถตอยอด ถายโอน
แลกเปลี่ยนกันไดระหวางกลุม และในระยะยาวการประเมินคุณภาพควรนําไปสูระบบรับรองวิทยฐานะ (accreditation)
ที่นักศึกษาและสาธารณะใหความเชื่อถือ เปนฐานและเงื่อนไขในการจัดสรรงบประมาณของรัฐ และการสนับสนุนจาก
ภาคเอกชน รวมทั้งการโอนยายหนวยกิต
จากกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปดังกลาว กระทรวงศึกษาธิการไดมีประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
เรื่อง มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา ในป 2551 กําหนดประเภทหรือกลุมสถาบันอุดมศึกษาเปน 4 กลุม คือ
กลุม ก วิทยาลัยชุมชน หมายความถึง สถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตระดับต่ํากวาปริญญาตรี จัดฝกอบรม
สนองตอบความตองการของทองถิ่น เพื่อเตรียมกําลังคนที่มีความรูเขาสูภาคการผลิตจริงในชุมชน สถาบันสนับสนุน
รองรับการเปลี่ยนอาชีพพื้นฐาน เชน แรงงานที่ออกจากภาคเกษตร เปนแหลงเรียนรูที่สงเสริมใหประชาชนไดมีโอกาส
เรียนรูตลอดชีวิตอันจะนําไปสูความเขมแข็งของชุมชนและการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุม ข สถาบันที่เนนระดับปริญญาตรี หมายความถึง สถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรี
เพื่อใหไดบัณฑิตที่มีความรูความสามารถเปนหลักในการขับเคลื่อนการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงในระดับภูมิภาค
สถาบันมีบทบาทในการสรางความเขมแข็งใหกับหนวยงาน ธุรกิจ และบุคคลในภูมิภาค เพื่อรองรับการดํารงชีพ
สถาบันอาจมีการจัดการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา โดยเฉพาะระดับปริญญาโทดวยก็ได
กลุม ค สถาบันเฉพาะทาง หมายความถึง สถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตเฉพาะทางหรือเฉพาะกลุม
สาขาวิชา ทั้งสาขาวิชาทางวิทยาศาสตรกายภาพ วิทยาศาสตรชีวภาพ สังคมศาสตรหรือมนุษยศาสตร รวมทั้งสาขา
วิชาชีพเฉพาะทาง สถาบันอาจเนนการทําวิทยานิพนธหรือการวิจัย หรือเนนการผลิตบัณฑิตที่มีความรู ความสามารถ
ทักษะและสมรรถนะในการประกอบอาชีพระดับสูง หรือเนนทั้งสองดาน รวมทั้งสถาบันอาจมีบทบาทในการพัฒนา
ภาคการผลิตจริงทั้งอุตสาหกรรมและบริการ สถาบันในกลุมนี้อาจจําแนกไดเปน 2 ลักษณะคือ ลักษณะที่ 1 เปน
สถาบันที่เนนระดับบัณฑิตศึกษา และลักษณะที่ 2 เปนสถาบันที่เนนระดับปริญญาตรี
~ 6 ~
คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา ฉบับปการศึกษา 2557
กลุม ง สถาบันที่เนนการวิจัยขั้นสูงและผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษาโดยเฉพาะระดับปริญญาเอก
หมายความถึง สถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษาโดยเฉพาะระดับปริญญาเอก และเนนการทํา
วิทยานิพนธและการวิจัยรวมถึงการวิจัยหลังปริญญาเอก สถาบันเนนการผลิตบัณฑิตที่เปนผูนําทางความคิดของ
ประเทศ สถาบันมีศักยภาพในการขับเคลื่อนอุดมศึกษาไทยใหอยูในแนวหนาระดับสากล มุงสรางองคความรู ทฤษฎี
และขอคนพบใหมทางวิชาการ
ดังนั้น การประกันคุณภาพการศึกษาจึงตองสรางกลไกการประเมินคุณภาพใหสอดรับกับการแบงกลุม
สถาบันอุดมศึกษา 4 กลุมดังกลาว
แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555–2559) กําหนดใหอุดมศึกษาไทยในชวงป 2555-2559
ตองมีการพัฒนาอยางกาวกระโดดเพื่อเปนแหลงความรูที่ตอบสนองการแกไขปญหาวิกฤติและชี้นํา การพัฒนาอยาง
ยั่งยืนของชาติและทองถิ่นโดยเรงสรางภูมิคุมกันในประเทศใหเขมแข็งขึ้นภายใตหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงและ
ตองสงเสริมการพัฒนาประเทศใหสามารถแขงขันไดในประชาคมอาเซียนและประชาคมโลกโดยใหความสําคัญกับการ
พัฒนาคนและสังคมไทยใหมีคุณภาพผลิตกําลังคนที่มีศักยภาพตรงตามความตองการของตลาดแรงงาน สามารถ
ทํางานเพื่อดํารงชีพตนเอง และเพื่อชวยเหลือสังคมมีคุณธรรมมีความรับผิดชอบและมีสุขภาวะ ทั้งรางกายและจิตใจ
รวมทั้งพัฒนาอาจารยใหเปนมืออาชีพและผูเชี่ยวชาญมืออาชีพใหเปนอาจารยพัฒนาวิชาชีพ อาจารยใหเปนที่ยอมรับ
ของสังคม มีการจัดการเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยโดยใชความรูเทคโนโลยีและนวัตกรรมความคิด
สรางสรรคบนพื้นฐานการผลิตและการบริโภคที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมซึ่งจะนําไปสูการพัฒนาเพื่อ ประโยชนสุขที่
ยั่งยืนของประเทศไทยทั้งนี้โดยอาศัยการบริหารจัดการอุดมศึกษาเชิงรุกและพระราชบัญญัติอุดมศึกษา เปนเครื่องมือ
สําคัญในการขับเคลื่อนวิสัยทัศนป 2559 “อุดมศึกษาเปนแหลงองคความรูและพัฒนากําลังคนระดับสูงที่มีคุณภาพ
เพื่อการพัฒนาชาติอยางยั่งยืนสรางสังคมการเรียนรูตลอดชีวิตตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11
(พ.ศ. 2555-2559) บนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีบทบาทสูงในสังคมประชาคมอาเซียนและมุงสูคุณภาพ
อุดมศึกษาระดับนานาชาติ”
2.3 มาตรฐานการอุดมศึกษา ที่ปรากฏตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ 7 สิงหาคม 2549
ประกอบดวยมาตรฐาน 3 ดาน ไดแก มาตรฐานดานคุณภาพบัณฑิต มาตรฐานดานการบริหารจัดการการอุดมศึกษา
และมาตรฐานดานการสรางและพัฒนาสังคมฐานความรูและสังคมแหงการเรียนรู มาตรฐานยอยทั้ง 3 ดานนี้ อยูใน
มาตรฐานการศึกษาของชาติที่ประกอบดวยมาตรฐานยอย 3 มาตรฐานเชนกัน คือ มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของคน
ไทยที่พึงประสงค ทั้งในฐานะพลเมืองและพลโลก มาตรฐานที่ 2 แนวการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ 3 แนวการสราง
สังคมแหงการเรียนรู/สังคมแหงความรู แตละมาตรฐานยอยของมาตรฐานการอุดมศึกษาจะมีความสอดคลองและ
สัมพันธกับมาตรฐานยอยของมาตรฐานการศึกษาของชาติ เพื่อใหการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาบรรลุ
ตามจุดมุงหมายและหลักการของการจัดการศึกษาของชาติ
นอกเหนือจากมาตรฐานการอุดมศึกษาที่เปนมาตรฐานแมบทแลว คณะกรรมการการอุดมศึกษาไดจัดทํา
มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2551 เพื่อนําไปสูการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา
ตามกลุมสถาบันที่มีปรัชญา วัตถุประสงค และพันธกิจในการจัดตั้งที่แตกตางกันไดอยางมีประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผล ประกอบดวยมาตรฐานหลัก 2 ดาน คือ มาตรฐานดานศักยภาพและความพรอมในการจัดการศึกษา และ
มาตรฐานดานการดําเนินการตามภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา และกําหนดกลุมสถาบันอุดมศึกษาเปน 4 กลุม ไดแก
กลุม ก วิทยาลัยชุมชน กลุม ข สถาบันที่เนนระดับปริญญาตรี กลุม ค สถาบันเฉพาะทาง และกลุม ง สถาบันที่เนน
~ 7 ~
คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา ฉบับปการศึกษา 2557
การวิจัยขั้นสูงและผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษาโดยเฉพาะระดับปริญญาเอก นอกจากนั้น ยังไดจัดทํากรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2552 เพื่อใหเปนไปตามมาตรฐานการอุดมศึกษาและเพื่อเปนการ
ประกันคุณภาพบัณฑิตในแตละระดับคุณวุฒิและสาขาวิชา โดยกําหนดใหคุณภาพของบัณฑิตทุกระดับคุณวุฒิและ
สาขาวิชาตองเปนไปตามมาตรฐานผลการเรียนรูอยางนอย 5 ดาน คือ ดานคุณธรรม จริยธรรม ดานความรู ดาน
ทักษะทางปญญา ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ และดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข
การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.4 กฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา
หลังจากที่พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 มีผลบังคับใช สํานักงานคณะกรรมการการ
อุดมศึกษา (ทบวงมหาวิทยาลัยเดิม) ในฐานะหนวยงานตนสังกัดที่ทําหนาที่กํากับดูแลสถาบันอุดมศึกษาไดเสนอระบบ
การประกันคุณภาพการศึกษาใหคณะรัฐมนตรีพิจารณาเพื่อใหสอดคลองกับเจตนารมณแหงพระราชบัญญัติฉบับ
ดังกลาว ซึ่งคณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2543 ไดมีมติเห็นชอบกับระบบประกันคุณภาพ
การศึกษาของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ทบวงมหาวิทยาลัยเดิม) ซึ่งตอมาไดจัดทําเปนประกาศทบวง
มหาวิทยาลัย เรื่อง ระบบ หลักเกณฑและวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา พ.ศ.
2545 เพื่อใชเปนแนวปฏิบัติ สาระสําคัญของประกาศฉบับนี้ระบุใหทบวงมหาวิทยาลัยสนับสนุนและสงเสริม
สถาบันอุดมศึกษาจัดทําระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในตามภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษาใหมี
ประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมทั้งใหมีการประเมินผลและติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของ
สถาบันอุดมศึกษาจากภายใน หรือโดยหนวยงานตนสังกัดที่มีหนาที่กํากับดูแลสถาบันการศึกษาเพื่อเตรียมความ
พรอมสําหรับการประเมินคุณภาพจากภายนอก รวมถึงสนับสนุนใหมีการแตงตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพภายใน
ระดับอุดมศึกษาขึ้นในแตละคณะวิชาหรือสถาบันอุดมศึกษา เพื่อกําหนดนโยบาย หลักเกณฑ แนวทาง วิธีการ
ตรวจสอบและประเมินระบบกลไกและประเมินผลการดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของแตละคณะ
วิชาหรือสถาบันอุดมศึกษา
หลังจากดําเนินการตามประกาศฉบับป พ.ศ.2545 ไประยะหนึ่ง สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจึง
ไดจัดทํากฎกระทรวงวาดวยระบบหลักเกณฑและวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
ระดับอุดมศึกษาพ.ศ. 2546 เพื่อใหเปนไปตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติพ.ศ.2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)
พ.ศ.2545 ในมาตรา 5 และมาตรา 47 วรรคสองโดยสาระสําคัญเกี่ยวกับระบบและกลไกการประกันคุณภาพ
การศึกษา ภายในของกฎกระทรวงฉบับนี้ยังคงไวตามประกาศทบวงมหาวิทยาลัยฯ พ.ศ.2545 ซึ่งสํานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษาไดถือปฏิบัติมาอยางตอเนื่อง ตอมาในป 2553 กระทรวงศึกษาธิการไดออก
กฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 แทนฉบับเดิม โดยรวม
การประกันคุณภาพภายในและภายนอกของการศึกษาทุกระดับไวในฉบับเดียวกัน โดยมีการปรับใหคณะกรรมการ
ประกันคุณภาพภายใน ระดับอุดมศึกษาทําหนาที่หลัก 2 ประการคือ 1) วางระเบียบหรือออกประกาศกําหนด
หลักเกณฑและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา เพื่อสงเสริม สนับสนุนและพัฒนาการ
ประกันคุณภาพภายใน ระดับอุดมศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการอุดมศึกษาและ 2) เสนอแนะ
แนวทางปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาแกสถานศึกษา โดยนําผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอก
ไปปรับปรุงคุณภาพการศึกษา อยางตอเนื่อง นอกจากน ี้ยังมีการปรับเปลี่ยนใหระบบการประกันคุณภาพภายใน
ประกอบดวย การประเมินคุณภาพ การติดตามตรวจสอบคุณภาพ และการพัฒนาคุณภาพ และกําหนดใหหนวยงาน
~ 8 ~
คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา ฉบับปการศึกษา 2557
ตนสังกัดจัดใหมีการติดตามตรวจสอบ คุณภาพการศึกษาอยางนอยหนึ่งครั้งในทุกสามปและแจงผลใหสถานศึกษา
ระดับอุดมศึกษาทราบ รวมทั้งเปดเผยผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตอสาธารณชน
3. การประกันคุณภาพการศึกษา
กอนมีประกาศพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 ทบวงมหาวิทยาลัยไดตระหนักดีถึง
ความสําคัญของการประกันคุณภาพการศึกษาและไดจัดทําประกาศทบวงมหาวิทยาลัยเรื่องนโยบายและแนวปฏิบัติใน
การประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษามาตั้งแตป พ.ศ.2539 เพื่อเปนแนวทางในการประกันคุณภาพ
การศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาตามหลักการสําคัญ 3 ประการ คือ การใหเสรีภาพทางวิชาการ (academic freedom)
ความมีอิสระในการดําเนินการของสถาบัน (institutional autonomy) และความพรอมของสถาบันที่จะรับการตรวจสอบ
คุณภาพจากภายนอกตามหลักการของความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได (accountability)
ตอมาพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชิต พ.ศ.2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.
2553 ไดระบุใหหนวยงานตนสังกัดและสถานศึกษาจัดใหมีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประกอบกับ
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 และกฎกระทรวงแบงสวนราชการ กําหนดให
สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษามีหนาที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการอุดมศึกษาที่
สอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และแผนการศึกษาแหงชาติ สนับสนุนทรัพยากร ติดตาม
ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยคํานึงถึงความเปนอิสระและความเปนเลิศทาง
วิชาการของสถานศึกษาระดับปริญญาตามกฎหมายวาดวยการจัดตั้งสถานศึกษาแตละแหงและกฎหมายที่เกี่ยวของ
สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงมีหนาที่รวมกับสถานศึกษาในการจัดใหมีระบบการประกันคุณภาพ
การศึกษาภายใน โดยมีรายละเอียดดังนี้
3.1 แนวทางการพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
3.1.1 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
ดวยกฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553
ขอ 33 ใหสถาบันอุดมศึกษาพัฒนาระบบประกันคุณภาพ โดยยึดหลักเสรีภาพทางวิชาการและความมีอิสระในการ
ดําเนินการของสถานศึกษา เพื่อใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาอยางตอเนื่องและเตรียมความพรอมเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก สถาบันจึงมี
อิสระในการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในที่เหมาะสมสอดคลองกับระดับการพัฒนาของสถาบัน โดยอาจเปน
ระบบประกันคุณภาพที่ใชกันแพรหลายในระดับชาติหรือนานาชาติ หรือเปนระบบเฉพาะที่สถาบันพัฒนาขึ้นเอง แตไม
วาจะเปนระบบคุณภาพแบบใด จะตองมีกระบวนการทํางานที่เริ่มตนจากการวางแผน การดําเนินงานตามแผน การ
ตรวจสอบประเมิน และการปรับปรุงพัฒนา ทั้งนี้ เพื่อใหการดําเนินภารกิจของสถาบันบรรลุเปาประสงคและมี
พัฒนาการอยางตอเนื่อง ขณะเดียวกันก็เปนหลักประกันแกสาธารณชนใหมั่นใจวาสถาบันอุดมศึกษาสามารถสราง
ผลผลิตทางการศึกษาที่มีคุณภาพหลักการที่สําคัญในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพและตัวบงชี้การประกัน
คุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา
หลักการสําคัญในการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษามีดังตอไปนี้
1) สงเสริมพันธกิจหลักและพันธกิจสนับสนุนของการอุดมศึกษาภายใตความสอดคลองกับ
หลักเกณฑที่กําหนดในกฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553
2) เปนระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่ครอบคลุมปจจัยนําเขา และกระบวนการ ซึ่ง
สามารถสงเสริมและนําไปสูผลลัพธของการดําเนินการอยางมีประสิทธิภาพ
~ 9 ~
คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา ฉบับปการศึกษา 2557
3) ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา รอบใหม ประกอบดวย การ
ประกันคุณภาพระดับหลักสูตร ระดับคณะ และระดับสถาบัน โดยจะเริ่มใชในปการศึกษา 2557
- ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร มีการดําเนินการตั้งแต การควบคุม
คุณภาพ การติดตามตรวจสอบคุณภาพ และการพัฒนาคุณภาพ การพัฒนาตัวบงชี้และเกณฑการประเมินฯ จะมุงไป
ที่ระบบการประกันคุณภาพการศึกษามากกวาการประเมินคุณภาพ เพื่อใหสามารถสงเสริม สนับสนุน กํากับติดตาม
การดําเนินงานใหเปนไปตามที่กําหนด สะทอนการจัดการศึกษาอยางมีคุณภาพ
- ระบบการประกันคุณภาพภายในระดับคณะและระดับสถาบัน เปนการดําเนินการ
ประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่คณะและสถาบันพัฒนาระบบประกันคุณภาพ โดยยึดหลักเสรีภาพทางวิชาการและ
ความมีอิสระในการดําเนินการของสถานศึกษา ซึ่งจะประเมินตามระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่คณะและ
สถาบันตองการใหคณะและสถาบันพัฒนาตามศักยภาพและประเภทของกลุมสถาบัน ซึ่งเปนการประเมินความ
เขมแข็งทางวิชาการ
4) ใหอิสระกับสถาบันอุดมศึกษาในการออกแบบระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
5) เชื่อมโยงกับระบบคุณภาพอื่นที่กําหนดและเปนนโยบายของ กก. โดยเฉพาะเรื่องกรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ และการเชื่อมโยกับการประกันคุณภาพภายนอกของ สมศ. เพื่อไมใหเปน
การทํางานซ้ําซอนเกินความจําเปนหรือสรางภาระการทํางานของหนวยงาน
3.1.2 มาตรฐาน ตัวบงชี้ และเกณฑประเมินคุณภาพ
มาตรฐานที่เปนกรอบสําคัญในการดําเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา คือ มาตรฐานการ
อุดมศึกษา ในขณะเดียวกันสถาบันอุดมศึกษาตางๆ ตองดําเนินการใหเปนไปตามมาตรฐานและหลักเกณฑอื่นๆ ที่
เกี่ยวของอีกมาก เชน เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ
มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา มาตรฐานเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกของ สมศ. หรือกรอบการปฏิบัติราชการตาม
มิติดานตางๆ ของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ในกรณีมหาวิทยาลัยของรัฐ เปนตน
กําหนดตัวบงชี้ เปน 2 ประเภท คือ ตัวบงชี้เชิงปริมาณ และตัวบงชี้เชิงคุณภาพ ดังนี้
1) ตัวบงชี้เชิงคุณภาพจะระบุเกณฑมาตรฐานเปนขอๆ กําหนดเกณฑการประเมินตัวบงชี้
เปน 5 ระดับ มีคะแนนตั้งแต 1 ถึง 5 การประเมินเชิงคุณภาพนี้จะมีทั้งการนับจํานวนขอและระบุวาผลการดําเนินงาน
ไดกี่ขอ ไดคะแนนเทาใด กรณีที่ไมดําเนินการใดๆ หรือดําเนินการไมครบที่จะได 1 คะแนน ใหถือวาได 0 คะแนน และ
การประเมินโดยกําหนดการใหคะแนนตามที่ไดคณะหรือสถาบันดําเนินการ และกรรมการประเมิน (peer review) จะ
พิจารณาผลการดําเนินการนั้นๆ รวมกันกอนที่จะบันทึกคะแนน โดยมีระดับคะแนนอยูระหวาง 0-5
2) ตัวบงชี้เชิงปริมาณอยูในรูปของรอยละหรือคาเฉลี่ย กําหนดเกณฑการประเมินเปน
คะแนนระหวาง 1 ถึง 5 โดยเปนคาตอเนื่อง (มีจุดทศนิยม) สําหรับการแปลงผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ (ซึ่งอยูใน
รูปรอยละหรือคาเฉลี่ย) เปนคะแนนทําโดยการเทียบบัญญัติไตรยางศ โดยที่แตละตัวบงชี้จะกําหนดคารอยละหรือ
คาเฉลี่ยที่คิดเปนคะแนนเต็ม 5 ไว
คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา ไดกําหนดใหมีระบบประกัน
คุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร คณะ และสถาบัน เพื่อใหสถาบันอุดมศึกษาตางๆ นําไปใชเปนแนวทาง (Guideline)
ในการจัดทําระบบการประกันคุณภาพภายในของแตละสถาบันตามความสมัครใจภายใตการกํากับดูแลของสภา
สถาบันอุดมศึกษา โดยระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในจะครอบคลุมพันธกิจหลัก 4 ประการของการ
อุดมศึกษาและพันธกิจดานการบริหารจัดการ ไดแก (1) พันธกิจดานการผลิตบัณฑิต (2) พันธกิจดานการวิจัย (3)
พันธกิจดานการบริการวิชาการ (4) พันธกิจดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม และการบริหารจัดการ สําหรับ
~ 10 ~
คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา ฉบับปการศึกษา 2557
การประกันคุณภาพระดับหลักสูตร จะเนนพันธกิจในดานการผลิตบัณฑิตเปนสําคัญ สวนพันธกิจดานอื่นๆ จะเปน
การบูรณาการเขาไวดวยกัน หากเปนตัวบงชี้ในระดับคณะและสถาบันจะครอบคลุมพันธกิจหลักของการอุดมศึกษา
รวมทั้งการบริหารจัดการไดทั้งหมด ซึ่งสามารถชี้วัดคุณลักษณะที่พึงประสงคตามมาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐาน
และหลักเกณฑอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับพันธกิจเหลานั้นไดทั้งหมด ในสวนที่ 4 ถึงสวนที่ 6 ของคูมือฉบับนี้จึงไดพัฒนา
ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน เพื่อใหสถาบันอุดมศึกษานําไปเปนกรอบในการดําเนินการประกันคุณภาพ
การศึกษาภายในตั้งแตระดับหลักสูตร ระดับคณะและระดับสถาบัน การพัฒนาตัวบงชี้และเกณฑการประเมินจะมุงไป
ที่ระบบการประกันคุณภาพการศึกษามากกวาการประเมินคุณภาพ เพื่อใหสามารถสงเสริม สนับสนุน กํากับติดตาม
การดําเนินงานใหเปนไปตามที่กําหนด สะทอนการจัดการศึกษาอยางมีคุณภาพ และตัวบงชี้ที่พัฒนาขึ้นควรเชื่อมโยง
หรือเปนเรื่องเดียวกันกับการประเมินคุณภาพภายนอก โดยการประกันคุณภาพการศึกษาภายในเนนที่ปจจัยนําเขา
และกระบวนการ ซึ่งภายในตัวบงชี้ที่เปนกระบวนการใหสามารถสะทอนผลลัพธของการดําเนินการตามกระบวนการ
ดังกลาวดวย
3.1.3 กลไกการประกันคุณภาพ
ในดานของกลไกการประกันคุณภาพ ผูที่มีความสําคัญสงผลใหการดําเนินงานประสบ
ความสําเร็จและนําไปสูการพัฒนาคุณภาพอยางตอเนื่อง คือ คณะกรรมการระดับนโยบายและผูบริหารสูงสุดของ
สถาบันที่จะตองใหความสําคัญและกําหนดนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาที่ชัดเจนและเขาใจรวมกันทุกระดับ
โดยมอบหมายใหหนวยงานหรือคณะกรรมการรับผิดชอบในการติดตาม ตรวจสอบ ประเมิน และกระตุนใหเกิดการ
พัฒนาคุณภาพอยางตอเนื่อง หนาที่สําคัญประการหนึ่งของคณะกรรมการหรือหนวยงานนี้ คือ การจัดระบบประกัน
คุณภาพ พรอมทั้งกําหนดตัวบงชี้และเกณฑการประเมินคุณภาพที่เหมาะสมสําหรับคณะและสถาบัน ระบบประกัน
คุณภาพที่ใชตองสามารถเชื่อมโยงใหเกิดคุณภาพของการปฏิบัติงาน ตั้งแตระดับบุคคล ระดับหลักสูตร ระดับคณะ
วิชา ไปจนถึงระดับสถาบัน โดยอาจจําเปนตองจัดทําคูมือคุณภาพในแตละระดับเพื่อกํากับการดําเนินงาน แตที่สําคัญ
คณะกรรมการหรือหนวยงานนี้ตองประสานงานและผลักดันใหเกิดระบบฐานขอมูลและสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ
ซึ่งสามารถใชงานรวมกันไดทุกระดับ
3.1.4 ระบบฐานขอมูลและระบบสารสนเทศ
การวัดและวิเคราะหผลการดําเนินงานเปนสิ่งจําเปนในกระบวนการประกันคุณภาพ การวัด
และวิเคราะหผลการดําเนินงานจะไมสามารถทําไดอยางถูกตองและมีประสิทธิภาพ หากปราศจากฐานขอมูลและ
ระบบสารสนเทศที่เปนจริง ถูกตองตรงกันทุกระดับตั้งแตระดับบุคคล ระดับหลักสูตร คณะวิชา และสถาบัน ตลอดจน
เปนขอมูลที่สามารถเรียกใชไดอยางรวดเร็ว ดังนั้น ระดับสารสนเทศที่ดี มีประสิทธิภาพ จึงเปนปจจัยสําคัญยิ่งที่จะ
สงผลตอความสําเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษา และสงผลตอคุณภาพในทุกขั้นตอนการดําเนินงานตั้งแตการ
วางแผน การปฏิบัติงาน การตรวจสอบประเมิน ตลอดจนถึงการปรับปรุงและพัฒนา
4. ความเชื่อมโยงระหวางมาตรฐานการศึกษากับการประกันคุณภาพการศึกษา
พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ในหมวด 5 ที่วาดวยการ
บริหารและการจัดการศึกษา มาตรา 34 ไดกําหนดให คณะกรรมการการอุดมศึกษามีหนาที่พิจารณาเสนอมาตรฐาน
การอุดมศึกษาที่สอดคลองกับความตองการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และสอดคลองกับมาตรฐาน
การศึกษาของชาติ โดยคํานึงถึงความเปนอิสระและความเปนเลิศทางวิชาการของสถาบันอุดมศึกษา คณะกรรมการ
อุดมศึกษาจึงไดจัดทํามาตรฐานการอุดมศึกษาเพื่อใชเปนกลไกระดับกระทรวง ระดับคณะกรรมการการอุดมศึกษา
และระดับหนวยงาน เพื่อนําไปสูการกําหนดนโยบายการพัฒนาการอุดมศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาตอไป มาตรฐาน
~ 11 ~
คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา ฉบับปการศึกษา 2557
การอุดมศึกษาที่จัดทําขึ้นฉบับนี้ไดใชมาตรฐานการศึกษาของชาติที่เปรียบเสมือนรมใหญเปนกรอบในการพัฒนา โดย
มีสาระสําคัญที่ครอบคลุมเปาหมายและหลักการของการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาของไทยและเปนมาตรฐานที่
คํานึงถึงความหลากหลายของกลุมหรือประเภทของสถาบันอุดมศึกษา เพื่อใหทุกสถาบันสามารถนําไปใชกําหนด
พันธกิจและมาตรฐานของการปฏิบัติงานได
คณะกรรมการการอุดมศึกษายังไดกําหนดเกณฑมาตรฐานอื่นๆ อาทิ เกณฑมาตรฐานหลักสูตร
ระดับอุดมศึกษา หลักเกณฑการขอเปดและดําเนินการหลักสูตรระดับปริญญาในระบบการศึกษาทางไกล หลักเกณฑ
การกําหนดชื่อปริญญา หลักเกณฑและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการพิจารณาประเมินคุณภาพการจัดการศึกษานอกสถาน
ที่ตั้งของสถาบันอุดมศึกษา เพื่อสงเสริมใหสถาบันอุดมศึกษาไดพัฒนาดานวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งการพัฒนา
คุณภาพและยกระดับมาตรฐานในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาใหมีความทัดเทียมกันและพัฒนาสูสากล ซึ่งทําให
สถาบันอุดมศึกษาสามารถจัดการศึกษาไดอยางยืดหยุน คลองตัว และตอเนื่องในทุกระดับการศึกษา ตลอดจน
สะทอนใหเห็นถึงมาตรฐานคุณภาพการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
เพื่อใหการจัดการศึกษาทุกระดับและทุกประเภทมีคุณภาพและไดมาตรฐานตามที่กําหนดทั้งมาตรฐาน
การศึกษาระดับชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา และสัมพันธกับมาตรฐานและหลักเกณฑ
ที่เกี่ยวของกับการจัดการศึกษาอื่นๆ รวมถึงกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ จึงจําเปนตองมีระบบ
ประกันคุณภาพที่พัฒนาขึ้นตามที่กําหนดไวในกฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ.2553 ทั้งนี้ ความเชื่อมโยงระหวางมาตรฐานการศึกษา หลักเกณฑที่เกี่ยวของ และการประกัน
คุณภาพการศึกษา สามารถแสดงในแผนภาพที่ 1.1
แผนภาพที่ 1.1 ความเชื่อมโยงระหวางมาตรฐานการศึกษาและการประกันคุณภาพ
5. ความเชื่อมโยงระหวางการประกันคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพ
มาตรฐานการศึกษาของชาติ
มาตรฐานที่ 1
คุณลักษณะของคนไทยที่พึง
ประสงคทั้งในฐานะพลเมืองและ
พลโลก
มาตรฐานที่ 2
แนวทางการจัดการศึกษา
มาตรฐานที่ 3
แนวการสรางสังคมแหงการ
เรียนรู/สังคมแหงความรู
มาตรฐาน
การอุดมศึกษา
มาตรฐาน
ดานคุณภาพบัณฑิต
มาตรฐานดานการบริหาร
จัดการอุดมศึกษา
มาตรฐานดานการสรางและ
พัฒนาสังคมฐานความรูและ
สังคมแหงการเรียนรู
หลักเกณฑกํากับมาตรฐาน
รวมถึงมาตรฐาน
สถาบันอุดมศึกษาและกรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษาแหงชาติ
การประกันคุณภาพภายใน ภายใตตัวบงชี้ตามพันธกิจของการอุดมศึกษาและ
การบริหารจัดการ
ผลผลิตทางการศึกษาที่ไดคุณภาพ
~ 12 ~
คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา ฉบับปการศึกษา 2557
การประกันคุณภาพการศึกษาภายในเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาปกติที่ตองดําเนินการ
อยางตอเนื่อง โดยมีการควบคุมดูแลปจจัยที่เกี่ยวของกับคุณภาพ มีการตรวจสอบ ติดตามและประเมินผลการ
ดําเนินงาน เพื่อนําไปสูการพัฒนาปรับปรุงคุณภาพอยางสม่ําเสมอ ดวยเหตุนี้ระบบประกันคุณภาพภายในจึงตองดูแล
ทั้งปจจัยนําเขา (input) กระบวนการ (process) และผลผลิตหรือผลลัพธ (output/outcome) ซึ่งตางจากการประเมิน
คุณภาพภายนอกที่เนนการประเมินผลการจัดการศึกษา ดังนั้น ความเชื่อมโยงระหวางการประกันคุณภาพภายในกับ
การประเมินคุณภาพภายนอกจึงเปนสิ่งจําเปน โดยไดเชื่อมโยงใหเห็นจากแผนภาพที่ 1.2
แผนภาพที่ 1.2 ความสัมพันธระหวางการประกันคุณภาพการศึกษาภายในกับการประเมินคุณภาพ
ภายนอก
จากแผนภาพที่ 1.2 จะเห็นวา เมื่อสถาบันอุดมศึกษามีการดําเนินการประกันคุณภาพภายในแลว จําเปนตอง
จัดทํารายงานประจําปที่เปนรายงานประเมินคุณภาพภายใน โดยใชรูปแบบการจัดทํารายงานประจําปที่เปนรายงาน
การประเมินคุณภาพภายในตามที่กําหนดในระบบฐานขอมูลดานการประกันคุณภาพ (CHE QA Online) ซึ่งเปนการ
บันทึกผลการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาผานทางระบบออนไลน ตั้งแตการจัดเก็บขอมูลพื้นฐาน
เอกสารอางอิง การประเมินตนเอง การประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ เพื่อนําเสนอสภาสถาบัน
หนวยงานตนสังกัด หนวยงานที่เกี่ยวของ และเปดเผยตอสาธารณชน ซึ่งขอมูลดังกลาวจะเปนขอมูลเชื่อมโยงระหวาง
การประกันคุณภาพภายในของสภาบัน การติดตามตรวจสอบของตนสังกัด ดังนั้น สถาบันอุดมศึกษาจําเปนตองจัดทํา
รายงานการประเมินตนเองที่มีความลุมลึก สะทอนภาพที่แทจริงของสถาบันในการจัดการศึกษาตั้งแตระดับหลักสูตร
การดําเนินการของคณะและสถาบัน เพื่อการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพออกไปรับใชสังคม
การประกันคุณภาพภายใน การประเมินคุณภาพภายนอก
การปฏิบัติงาน
ของสถาบัน
การประเมิน
ตนเองของ
สถาบัน
รายงานประจําป
การตรวจ
เยี่ยม
รายงานผล
การ
ประเมิน
การ
ติดตามผล
ขอมูลปอนกลับ ติดตามตรวจสอบ
โดยตนสังกัดทุก 3 ป
ขอมูลปอนกลับ
~ 13 ~
คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา ฉบับปการศึกษา 2557
สวนที่ 2
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
1. พัฒนาการของระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
เปนที่ทราบกันดีวาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาจําเปนตองมีการปรับปรุงอยางตอเนื่องตามระดับการ
พัฒนาของสถาบันการศึกษา ตามความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยี สภาพสังคม เศรษฐกิจ ความรูและทักษะใน
อนาคตที่ตลาดงานตองการ และพฤติกรรมการเรียนรูของผูเรียน ดังนั้น ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
และระบบการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอกจึงมีการปรับปรุงมาโดยตลอด ปจจุบันระบบการประกันคุณภาพ
ภายในเขาสูรอบที่สาม (2557-2561) และระบบการประเมินคุณภาพภายนอกเขาสูรอบที่สี่ (2558-2562)
ระบบการประกันคุณภาพภายในที่พัฒนาโดยสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เริ่มใชมาตั้งแตป
การศึกษา 2550 เปนระบบแรกที่ใหสถาบันอุดมศึกษาทุกแหงไดนําไปใชในการประเมินผลการดําเนินงานในทุกป
การศึกษา และใหสถาบันอุดมศึกษาเพิ่มเติมประเด็นการประเมินที่สะทอนเอกลักษณของแตละสถาบัน ในรอบแรกนี้
ตัวบงชี้ประเมินผลการดําเนินงานมีทั้งตัวบงชี้ที่เปนปจจัยนําเขา กระบวนการและผลผลิตหรือผลลัพธ โดยครอบคลุม
องคประกอบคุณภาพตามกฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
สถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2546 ตอบสนองเจตนารมณแหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542
แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษา และมาตรฐานตางๆ ที่
เกี่ยวของ รวมทั้งสอดคลองไปในทิศทางเดียวกันกับตัวบงชี้การประเมินคุณภาพภายนอกของสํานักงานรับรอง
มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) หรือ สมศ. ภายใตหลักการสําคัญคือไมเปนภาระซ้ําซอน
ในการปฏิบัติงานของสถาบันอุดมศึกษา ตัวบงชี้ที่พัฒนาขึ้นสามารถประเมินไดครบทุกมิติของระบบการประกัน
คุณภาพ คือ ปจจัยนําเขา กระบวนการ และผลผลิตหรือผลลัพธ อีกทั้ง ยังมีความสมดุลระหวางมุมมองการบริหาร
จัดการทั้ง 4 ดาน คือ ดานนักศึกษาและผูมีสวนไดสวนเสีย ดานกระบวนการภายใน ดานการเงิน และดานบุคลากร
การเรียนรูและนวัตกรรม ในสวนของเกณฑการประเมิน มีทั้งเกณฑทั่วไปที่ใชกับทุกสถาบันและที่แยกใชเฉพาะกับ
สถาบันที่มีจุดเนนตางกัน ไดแก สถานที่เนนการผลิตบัณฑิตและการวิจัย สถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตและพัฒนา
สังคม สถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตและพัฒนาศิลปวัฒนธรรม และสถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตเพียงอยางเดียว
เนื่องจากในระยะแรกนี้สถาบันอุดมศึกษาหลายแหงยังไมมีกระบวนการทํางานที่เนนวงจรคุณภาพอยางชัดเจน ตัวบงชี้
สวนใหญจึงเปนตัวบงชี้ที่เนนกระบวนการ
การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในรอบที่สอง พ.ศ.2553 ยังคงยึดหลักการเดียวกับรอบแรก โดยนํา
แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554) กฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑและวิธีการ
ประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ
เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา มาตรฐานเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกของ สมศ. กรอบการปฏิบัติ
ราชการตามมิติดานตางๆ ของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ในกรณีมหาวิทยาลัยของรัฐมา
เปนกรอบในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน อยางไรก็ตาม การพัฒนาตัวบงชี้และเกณฑการประกัน
คุณภาพภายในรอบที่สองจะมุงเนนการประเมินเฉพาะปจจัยนําเขาและกระบวนการ สําหรับการวัดผลผลิตหรือ
ผลลัพธนั้น สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดนําตัวบงชี้ที่ใชในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามของ
สมศ.มาใช โดยถือเปนสวนหนึ่งของตัวบงชี้และเกณฑการประกันคุณภาพภายในที่สถาบันอุดมศึกษาตองดําเนินการให
ครบถวนทุกมิติของระบบประกันคุณภาพ คือ ปจจัยนําเขา กระบวนการ ผลผลิตหรือผลลัพธ ทั้งนี้ เกณฑที่พัฒนาขึ้น
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15

More Related Content

What's hot

ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)pairat13
 
ประกาศมาตราน 58
ประกาศมาตราน 58ประกาศมาตราน 58
ประกาศมาตราน 58kroodarunee samerpak
 
ประกาศมาตรฐานประกันคุณภาพโรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล
ประกาศมาตรฐานประกันคุณภาพโรงเรียนผักไหมวิทยานุกูลประกาศมาตรฐานประกันคุณภาพโรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล
ประกาศมาตรฐานประกันคุณภาพโรงเรียนผักไหมวิทยานุกูลkroodarunee samerpak
 
Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์nang_phy29
 
ประกันคุณภาพทางการศึกษา
ประกันคุณภาพทางการศึกษาประกันคุณภาพทางการศึกษา
ประกันคุณภาพทางการศึกษาkroodarunee samerpak
 
คำสั่งงานประกันคุณภาพ57
คำสั่งงานประกันคุณภาพ57คำสั่งงานประกันคุณภาพ57
คำสั่งงานประกันคุณภาพ57kroodarunee samerpak
 
บทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกันบทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกันNirut Uthatip
 
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานrbsupervision
 
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานtanongsak
 
แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานแนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานworapanthewaha
 
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานKatekyo Sama
 
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระบุตัวชี้วัด
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระบุตัวชี้วัดการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระบุตัวชี้วัด
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระบุตัวชี้วัดPrisana Suksusart
 
แนวทางประเมินภายในพื้นฐาน
แนวทางประเมินภายในพื้นฐานแนวทางประเมินภายในพื้นฐาน
แนวทางประเมินภายในพื้นฐานdmathdanai
 

What's hot (19)

ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
 
คู่มือประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สำนักศิลปะและัวัฒนธรรม ปีการศึกษา 2556
คู่มือประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สำนักศิลปะและัวัฒนธรรม ปีการศึกษา 2556คู่มือประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สำนักศิลปะและัวัฒนธรรม ปีการศึกษา 2556
คู่มือประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สำนักศิลปะและัวัฒนธรรม ปีการศึกษา 2556
 
ประกาศมาตราน 58
ประกาศมาตราน 58ประกาศมาตราน 58
ประกาศมาตราน 58
 
คู่มือ15มาตรฐาน
คู่มือ15มาตรฐานคู่มือ15มาตรฐาน
คู่มือ15มาตรฐาน
 
เครื่องมือการประกันคุณภาพภายใน
เครื่องมือการประกันคุณภาพภายในเครื่องมือการประกันคุณภาพภายใน
เครื่องมือการประกันคุณภาพภายใน
 
ประกาศมาตรฐานประกันคุณภาพโรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล
ประกาศมาตรฐานประกันคุณภาพโรงเรียนผักไหมวิทยานุกูลประกาศมาตรฐานประกันคุณภาพโรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล
ประกาศมาตรฐานประกันคุณภาพโรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล
 
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swotแผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
 
Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์
 
ประกันคุณภาพทางการศึกษา
ประกันคุณภาพทางการศึกษาประกันคุณภาพทางการศึกษา
ประกันคุณภาพทางการศึกษา
 
คำสั่งงานประกันคุณภาพ57
คำสั่งงานประกันคุณภาพ57คำสั่งงานประกันคุณภาพ57
คำสั่งงานประกันคุณภาพ57
 
บทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกันบทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกัน
 
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
 
File1
File1File1
File1
 
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
 
แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานแนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
 
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระบุตัวชี้วัด
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระบุตัวชี้วัดการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระบุตัวชี้วัด
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระบุตัวชี้วัด
 
Focus 7-55
Focus 7-55Focus 7-55
Focus 7-55
 
แนวทางประเมินภายในพื้นฐาน
แนวทางประเมินภายในพื้นฐานแนวทางประเมินภายในพื้นฐาน
แนวทางประเมินภายในพื้นฐาน
 

Similar to Iqa vol. 7.03.15

เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3arsad20
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practicevorravan
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่  7จุดเน้นที่  7
จุดเน้นที่ 7klongnamkeaw
 
ค่าเป้าหมาย2565.pdf
ค่าเป้าหมาย2565.pdfค่าเป้าหมาย2565.pdf
ค่าเป้าหมาย2565.pdfchartthai
 
สัปดาห์ที่9 ประกันภายใน
สัปดาห์ที่9 ประกันภายในสัปดาห์ที่9 ประกันภายใน
สัปดาห์ที่9 ประกันภายในNattaka_Su
 
เกณฑ์มาตรฐานเพา1
เกณฑ์มาตรฐานเพา1เกณฑ์มาตรฐานเพา1
เกณฑ์มาตรฐานเพา1guestb58ff9
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7Suwakhon Phus
 
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิตประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิตtassanee chaicharoen
 
ค่าเป้าหมาย2566.pdf
ค่าเป้าหมาย2566.pdfค่าเป้าหมาย2566.pdf
ค่าเป้าหมาย2566.pdfchartthai
 
Thai qualifications framework for higher education
Thai qualifications framework for higher educationThai qualifications framework for higher education
Thai qualifications framework for higher educationAnucha Somabut
 
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯPpt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯIct Krutao
 
แผนโครงการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ๕ด้าน ปีการศึกษา 2556
แผนโครงการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ๕ด้าน ปีการศึกษา 2556แผนโครงการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ๕ด้าน ปีการศึกษา 2556
แผนโครงการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ๕ด้าน ปีการศึกษา 2556ToTo Yorct
 

Similar to Iqa vol. 7.03.15 (20)

เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่  7จุดเน้นที่  7
จุดเน้นที่ 7
 
วิชาการ
วิชาการวิชาการ
วิชาการ
 
คู่มือวิชาการ
คู่มือวิชาการคู่มือวิชาการ
คู่มือวิชาการ
 
ค่าเป้าหมาย2565.pdf
ค่าเป้าหมาย2565.pdfค่าเป้าหมาย2565.pdf
ค่าเป้าหมาย2565.pdf
 
สัปดาห์ที่9 ประกันภายใน
สัปดาห์ที่9 ประกันภายในสัปดาห์ที่9 ประกันภายใน
สัปดาห์ที่9 ประกันภายใน
 
เกณฑ์มาตรฐานเพา1
เกณฑ์มาตรฐานเพา1เกณฑ์มาตรฐานเพา1
เกณฑ์มาตรฐานเพา1
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7
 
2 ตอน2 sar57
2 ตอน2 sar572 ตอน2 sar57
2 ตอน2 sar57
 
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิตประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่  7จุดเน้นที่  7
จุดเน้นที่ 7
 
ค่าเป้าหมาย2566.pdf
ค่าเป้าหมาย2566.pdfค่าเป้าหมาย2566.pdf
ค่าเป้าหมาย2566.pdf
 
Qa 3
Qa 3Qa 3
Qa 3
 
Thai qualifications framework for higher education
Thai qualifications framework for higher educationThai qualifications framework for higher education
Thai qualifications framework for higher education
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่  7 จุดเน้นที่  7
จุดเน้นที่ 7
 
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯPpt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
 
แผนโครงการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ๕ด้าน ปีการศึกษา 2556
แผนโครงการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ๕ด้าน ปีการศึกษา 2556แผนโครงการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ๕ด้าน ปีการศึกษา 2556
แผนโครงการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ๕ด้าน ปีการศึกษา 2556
 

Iqa vol. 7.03.15

  • 2. ~ 2 ~ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา ฉบับปการศึกษา 2557 สารบัญ หนา สวนที่ 1 การประกันคุณภาพการศึกษา 3-12 1) เหตุผลและความจําเปนของการประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา 2) กฎหมายที่เกี่ยวของกับการประกันคุณภาพการศึกษา 3) การประกันคุณภาพการศึกษา 4) ความเชื่อมโยงระหวางมาตรฐานการศึกษากับการประกันคุณภาพการศึกษา 5) ความเชื่อมโยงระหวางการประกันคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพ สวนที่ 2 การประกันคุณภาพภายใน 13-18 1) พัฒนาการของระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 2) การประกันคุณภาพการศึกษาราอบใหม (ปการศึกษา 2557-2561) 3) กระบวนการและวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน (ปการศึกษา 2557-2561) สวนที่ 3 นิยามศัพท 19-25 สวนที่ 4 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร 26-69 สวนที่ 5 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับคณะ 70-94 สวนที่ 6 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับสถาบัน 95-113 สวนที่ 7 แนวทางการวิเคราะหและสรุปผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 114-118 ภาคผนวก 119
  • 3. ~ 3 ~ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา ฉบับปการศึกษา 2557 สวนที่ 1 การประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา 1. เหตุผลและความจําเปนของการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา 1.1 ความจําเปนของการประกันคุณภาพการศึกษา ภารกิจหลักที่สถาบันอุดมศึกษาจะตองปฏิบัติมี 4 ประการ คือ การผลิตบัณฑิต การวิจัยการใหบริการ ทาง วิชาการแกสังคม และการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม การดําเนินการตามภารกิจทั้ง 4 ประการดังกลาว มี ความสําคัญอยางยิ่งตอการพัฒนาประเทศทั้งระยะสั้นและระยะยาว ปจจุบันมีปจจัยภายในและภายนอกหลาย ประการที่ทําใหการประกันคุณภาพการศึกษาในระดับอุดมศึกษาเปนสิ่งจําเปนที่จะตองเรงดําเนินการ ปจจัยดัง กลาวคือ 1) คุณภาพของสถาบันอุดมศึกษาและบัณฑิตภายในประเทศที่มีแนวโนมแตกตางกันมากขึ้น ซึ่งจะกอใหเกิด ผลเสียแกสังคมโดยรวมของประเทศในระยะยาว 2) ความทาทายของโลกาภิวัตนตอการอุดมศึกษา ทั้งในประเด็นการบริการการศึกษาขามพรมแดน และการ เคลื่อนยายนักศึกษาและบัณฑิต การประกอบอาชีพของบัณฑิตในอนาคต อันเปนผลจากการรวมตัวของประเทศใน ภูมิภาคอาเซียน ซึ่งทั้งสองประเด็นตองการการรับประกันของคุณภาพการศึกษา 3) สถาบันอุดมศึกษามีความจําเปนที่จะตองสรางความมั่นใจแกสังคมวาสามารถพัฒนาองคความรู และ ผลิตบัณฑิต ตอบสนองตอยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศใหมากขึ้น ไมวาจะเปนการสรางขีดความสามารถในการ แขงขันระดับสากล การพัฒนาภาคการผลิตจริงทั้งอุตสาหกรรมและบริการ การพัฒนาอาชีพ คุณภาพชีวิต ความ เปนอยูระดับทองถิ่นและชุมชน 4) สถาบันอุดมศึกษาจะตองใหขอมูลสาธารณะ (public information) ที่เปนประโยชนตอผูมีสวนไดสวนเสีย เสีย ทั้งนักศึกษาผูจางงานผูปกครองรัฐบาลและประชาชนทั่วไป 5) สังคมตองการระบบอุดมศึกษาที่เปดโอกาสใหผูมีสวนไดสวนเสียมีสวนรวม (participation) มีความ โปรงใส (transparency) และมีความรับผิดชอบซึ่งตรวจสอบได (accountability) ตามหลักธรรมาภิบาล 6) พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กําหนดให สถานศึกษาทุกแหงจัดใหมีระบบการประกันคุณภาพภายในรวมถึงใหมีสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพ การศึกษาทําหนาที่ประเมินคุณภาพภายนอก โดยการประเมินผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 7) คณะกรรมการการอุดมศึกษาไดประกาศใชมาตรฐานการอุดมศึกษา เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2549 เพื่อเปน กลไกกํากับมาตรฐานระดับกระทรวง ระดับคณะกรรมการการอุดมศึกษา และระดับหนวยงาน โดยทุกหนวยงาน ระดับอุดมศึกษาจะไดใชเปนกรอบการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา 8) กระทรวงศึกษาธิการไดมีประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แหงชาติ เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2552 และคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดประกาศแนวทางการปฏิบัติตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2552 เพื่อใหการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา เปนไปตามมาตรฐานการอุดมศึกษาและเพื่อการประกันคุณภาพของบัณฑิตในแตละระดับคุณวุฒิและสาขาวิชา 9) กระทรวงศึกษาธิการไดมีประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2554 เพื่อเปนกลไกสงเสริมและกํากับใหสถาบันอุดมศึกษาจัดการศึกษาใหมีมาตรฐานตามประเภทหรือ กลุมสถาบันอุดมศึกษา 4 กลุม
  • 4. ~ 4 ~ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา ฉบับปการศึกษา 2557 1.2 วัตถุประสงคองการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา สถาบันอุดมศึกษารวมกับตนสังกัดจําเปนตองพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา โดยมี วัตถุประสงคดังนี้ 1) เพื่อใหสถาบันไดมีการพัฒนามุงสูวิสัยทัศน และยกระดับขีดความสามารถในการแขงขัน โดยระบบ ดังกลาวจะตองเปนไปตามเจตนารมณของ พรบ. และเปนไปตามกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว มาตรฐานระดับชาติ และนานาชาติ 2) เพื่อตรวจสอบและประเมินผลการดําเนินงานตั้งแตระดับหลักสูตร คณะวิชาหรือหนวยงานเทียบเทา และ สถาบันอุดมศึกษาในภาพรวม ตามระบบคุณภาพและกลไกที่สถาบันนั้น ๆ กําหนดขึ้น โดยวิเคราะหเปรียบเทียบผล การดําเนินงานตามตัวบงชี้ในองคประกอบคุณภาพตางๆ วาเปนไปตามเกณฑและไดมาตรฐาน 3) เพื่อใหหลักสูตร คณะวิชาหรือหนวยงานเทียบเทาและสถาบันอุดมศึกษาทราบสถานภาพของตนเองอันจะ นําไปสูการกําหนดแนวทางในการพัฒนาคุณภาพไปสูเปาหมาย (targets) และเปาประสงค (goals) ที่ตั้ง ไวตามจุดเนน ของตนเอง 4) เพื่อใหไดขอมูลที่สะทอนจุดแข็ง จุดที่ควรปรับปรุง ตลอดจนขอเสนอแนะในการพัฒนาการ ดําเนินงาน เพื่อนําไปปรับปรุงผลการดําเนินการในแตละระดับอยางตอเนื่อง เพื่อยกระดับขีดความสามารถของสถาบัน 5) เพื่อใหขอมูลสาธารณะที่เปนประโยชนตอผูมีสวนไดสวนเสีย ทําใหมั่นใจวาสถาบันอุดมศึกษาสามารถ สรางผลผลิตทางการศึกษาที่มีคุณภาพและไดมาตรฐานตามที่กําหนด 6) เพื่อใหหนวยงานตนสังกัดของสถาบันอุดมศึกษาและหนวยงานที่เกี่ยวของ มีขอมูลพื้นฐานที่จําเปน สําหรับการสงเสริมสนับสนุนการจัดการอุดมศึกษาในแนวทางที่เหมาะสม 2. กฎหมายที่เกี่ยวของกับการประกันคุณภาพการศึกษา 2.1 พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ที่เกี่ยวของ กับการประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ไดกําหนดจุดมุงหมาย และหลักการของการจัดการศึกษาที่มุงเนนคุณภาพและมาตรฐาน โดยกําหนดรายละเอียดไวในหมวด 6 มาตรฐาน และการประกันคุณภาพการศึกษาซึ่งประกอบดวย “ระบบการประกันคุณภาพภายใน” และ “ระบบการประกัน คุณภาพภายนอก” เพื่อใชเปนกลไกในการผดุงรักษาคุณภาพและมาตรฐานของสถาบันอุดมศึกษา การประกันคุณภาพภายใน เปนการสรางระบบและกลไกในการพัฒนา ติดตามตรวจสอบและประเมินการ ดําเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาใหเปนไปตามนโยบาย เปาหมายและระดับคุณภาพตามมาตรฐานที่กําหนดโดย สถานศึกษาและหรือหนวยงานตนสังกัด โดยหนวยงานตนสังกัดและสถานศึกษากําหนดใหมีระบบการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษาและใหถือวาการประกันคุณภาพภายในเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ตอง ดําเนินการอยางตอเนื่องมีการจัดทํารายงานประจําปที่เปนรายงานประเมินคุณภาพภายในเสนอตอสภาสถาบัน หนวยงานตนสังกัด และหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อพิจารณาและเปดเผยตอสาธารณชนเพื่อนําไปสูการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาและเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก การประกันคุณภาพภายนอก เปนการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาเพื่อใหมีการติดตามและ ตรวจสอบ คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยคํานึงถึงความมุงหมาย หลักการ และแนวการจัดการศึกษาใน แตละระดับ ซึ่งประเมินโดย “สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) หรือ
  • 5. ~ 5 ~ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา ฉบับปการศึกษา 2557 เรียกชื่อยอวา “สมศ.” พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ได กําหนดใหสถานศึกษาทุกแหงตองไดรับการประเมินคุณภาพภายนอกอยางนอย 1 ครั้งในทุกรอบ 5 ป นับตั้งแตการ ประเมินครั้งสุดทาย และเสนอผลการประเมินตอหนวยงานที่เกี่ยวของและสาธารณชน 2.2 กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551-2565) และแผนพัฒนาการศึกษา ระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) ไดกําหนดแนวทางการพัฒนาและ แกปญหาอุดมศึกษาที่ไรทิศทาง ซ้ําซอน ขาดคุณภาพ และขาดประสิทธิภาพ โดยใชกลไกการประเมินคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษาเปนกลไกหลักในการดําเนินการ กลาวคือ ใหมีการสรางกลไกการประเมินคุณภาพ สถาบันอุดมศึกษาตามพันธกิจของสถาบันในแตละกลุม ซึ่งมีพื้นที่บริการและจุดเนนระดับการศึกษาที่ตางกัน รวมทั้ง มีพันธกิจและบทบาทในการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจของประเทศตางกันตามความหลากหลาย ทั้งการพัฒนาฐาน ราก สังคม เศรษฐกิจรวมถึงการกระจายอํานาจในระดับทองถิ่น การขับเคลื่อนภาคการผลิตในชนบท ทองถิ่นและ ระดับประเทศ จนถึงการแขงขันในโลกาภิวัตน ซึ่งระบบอุดมศึกษาแตละกลุมเหลานี้ จะนําไปสูการเปลี่ยนแปลง อุดมศึกษา และสงผลกระทบที่เปนประโยชนตอประเทศอยางมีนัยสําคัญ อาทิ สามารถสรางความเปนเลิศไดตาม พันธกิจของตัวเอง สามารถตอบสนองตอยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศดีขึ้น สงผลเชิงบวกตอการผลิต พัฒนาและ การทํางานของอาจารย สามารถปรับจํานวนของบัณฑิตในสาขาที่เปนความตองการของสังคม ลดการวางงาน โดยที่ สถาบันอุดมศึกษาในกลุมเหลานี้มีกลไกรวมกันในการประกันคุณภาพ เพื่อใหนักศึกษาสามารถตอยอด ถายโอน แลกเปลี่ยนกันไดระหวางกลุม และในระยะยาวการประเมินคุณภาพควรนําไปสูระบบรับรองวิทยฐานะ (accreditation) ที่นักศึกษาและสาธารณะใหความเชื่อถือ เปนฐานและเงื่อนไขในการจัดสรรงบประมาณของรัฐ และการสนับสนุนจาก ภาคเอกชน รวมทั้งการโอนยายหนวยกิต จากกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปดังกลาว กระทรวงศึกษาธิการไดมีประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา ในป 2551 กําหนดประเภทหรือกลุมสถาบันอุดมศึกษาเปน 4 กลุม คือ กลุม ก วิทยาลัยชุมชน หมายความถึง สถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตระดับต่ํากวาปริญญาตรี จัดฝกอบรม สนองตอบความตองการของทองถิ่น เพื่อเตรียมกําลังคนที่มีความรูเขาสูภาคการผลิตจริงในชุมชน สถาบันสนับสนุน รองรับการเปลี่ยนอาชีพพื้นฐาน เชน แรงงานที่ออกจากภาคเกษตร เปนแหลงเรียนรูที่สงเสริมใหประชาชนไดมีโอกาส เรียนรูตลอดชีวิตอันจะนําไปสูความเขมแข็งของชุมชนและการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุม ข สถาบันที่เนนระดับปริญญาตรี หมายความถึง สถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรี เพื่อใหไดบัณฑิตที่มีความรูความสามารถเปนหลักในการขับเคลื่อนการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงในระดับภูมิภาค สถาบันมีบทบาทในการสรางความเขมแข็งใหกับหนวยงาน ธุรกิจ และบุคคลในภูมิภาค เพื่อรองรับการดํารงชีพ สถาบันอาจมีการจัดการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา โดยเฉพาะระดับปริญญาโทดวยก็ได กลุม ค สถาบันเฉพาะทาง หมายความถึง สถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตเฉพาะทางหรือเฉพาะกลุม สาขาวิชา ทั้งสาขาวิชาทางวิทยาศาสตรกายภาพ วิทยาศาสตรชีวภาพ สังคมศาสตรหรือมนุษยศาสตร รวมทั้งสาขา วิชาชีพเฉพาะทาง สถาบันอาจเนนการทําวิทยานิพนธหรือการวิจัย หรือเนนการผลิตบัณฑิตที่มีความรู ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะในการประกอบอาชีพระดับสูง หรือเนนทั้งสองดาน รวมทั้งสถาบันอาจมีบทบาทในการพัฒนา ภาคการผลิตจริงทั้งอุตสาหกรรมและบริการ สถาบันในกลุมนี้อาจจําแนกไดเปน 2 ลักษณะคือ ลักษณะที่ 1 เปน สถาบันที่เนนระดับบัณฑิตศึกษา และลักษณะที่ 2 เปนสถาบันที่เนนระดับปริญญาตรี
  • 6. ~ 6 ~ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา ฉบับปการศึกษา 2557 กลุม ง สถาบันที่เนนการวิจัยขั้นสูงและผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษาโดยเฉพาะระดับปริญญาเอก หมายความถึง สถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษาโดยเฉพาะระดับปริญญาเอก และเนนการทํา วิทยานิพนธและการวิจัยรวมถึงการวิจัยหลังปริญญาเอก สถาบันเนนการผลิตบัณฑิตที่เปนผูนําทางความคิดของ ประเทศ สถาบันมีศักยภาพในการขับเคลื่อนอุดมศึกษาไทยใหอยูในแนวหนาระดับสากล มุงสรางองคความรู ทฤษฎี และขอคนพบใหมทางวิชาการ ดังนั้น การประกันคุณภาพการศึกษาจึงตองสรางกลไกการประเมินคุณภาพใหสอดรับกับการแบงกลุม สถาบันอุดมศึกษา 4 กลุมดังกลาว แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555–2559) กําหนดใหอุดมศึกษาไทยในชวงป 2555-2559 ตองมีการพัฒนาอยางกาวกระโดดเพื่อเปนแหลงความรูที่ตอบสนองการแกไขปญหาวิกฤติและชี้นํา การพัฒนาอยาง ยั่งยืนของชาติและทองถิ่นโดยเรงสรางภูมิคุมกันในประเทศใหเขมแข็งขึ้นภายใตหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงและ ตองสงเสริมการพัฒนาประเทศใหสามารถแขงขันไดในประชาคมอาเซียนและประชาคมโลกโดยใหความสําคัญกับการ พัฒนาคนและสังคมไทยใหมีคุณภาพผลิตกําลังคนที่มีศักยภาพตรงตามความตองการของตลาดแรงงาน สามารถ ทํางานเพื่อดํารงชีพตนเอง และเพื่อชวยเหลือสังคมมีคุณธรรมมีความรับผิดชอบและมีสุขภาวะ ทั้งรางกายและจิตใจ รวมทั้งพัฒนาอาจารยใหเปนมืออาชีพและผูเชี่ยวชาญมืออาชีพใหเปนอาจารยพัฒนาวิชาชีพ อาจารยใหเปนที่ยอมรับ ของสังคม มีการจัดการเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยโดยใชความรูเทคโนโลยีและนวัตกรรมความคิด สรางสรรคบนพื้นฐานการผลิตและการบริโภคที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมซึ่งจะนําไปสูการพัฒนาเพื่อ ประโยชนสุขที่ ยั่งยืนของประเทศไทยทั้งนี้โดยอาศัยการบริหารจัดการอุดมศึกษาเชิงรุกและพระราชบัญญัติอุดมศึกษา เปนเครื่องมือ สําคัญในการขับเคลื่อนวิสัยทัศนป 2559 “อุดมศึกษาเปนแหลงองคความรูและพัฒนากําลังคนระดับสูงที่มีคุณภาพ เพื่อการพัฒนาชาติอยางยั่งยืนสรางสังคมการเรียนรูตลอดชีวิตตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) บนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีบทบาทสูงในสังคมประชาคมอาเซียนและมุงสูคุณภาพ อุดมศึกษาระดับนานาชาติ” 2.3 มาตรฐานการอุดมศึกษา ที่ปรากฏตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ 7 สิงหาคม 2549 ประกอบดวยมาตรฐาน 3 ดาน ไดแก มาตรฐานดานคุณภาพบัณฑิต มาตรฐานดานการบริหารจัดการการอุดมศึกษา และมาตรฐานดานการสรางและพัฒนาสังคมฐานความรูและสังคมแหงการเรียนรู มาตรฐานยอยทั้ง 3 ดานนี้ อยูใน มาตรฐานการศึกษาของชาติที่ประกอบดวยมาตรฐานยอย 3 มาตรฐานเชนกัน คือ มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของคน ไทยที่พึงประสงค ทั้งในฐานะพลเมืองและพลโลก มาตรฐานที่ 2 แนวการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ 3 แนวการสราง สังคมแหงการเรียนรู/สังคมแหงความรู แตละมาตรฐานยอยของมาตรฐานการอุดมศึกษาจะมีความสอดคลองและ สัมพันธกับมาตรฐานยอยของมาตรฐานการศึกษาของชาติ เพื่อใหการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาบรรลุ ตามจุดมุงหมายและหลักการของการจัดการศึกษาของชาติ นอกเหนือจากมาตรฐานการอุดมศึกษาที่เปนมาตรฐานแมบทแลว คณะกรรมการการอุดมศึกษาไดจัดทํา มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2551 เพื่อนําไปสูการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา ตามกลุมสถาบันที่มีปรัชญา วัตถุประสงค และพันธกิจในการจัดตั้งที่แตกตางกันไดอยางมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล ประกอบดวยมาตรฐานหลัก 2 ดาน คือ มาตรฐานดานศักยภาพและความพรอมในการจัดการศึกษา และ มาตรฐานดานการดําเนินการตามภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา และกําหนดกลุมสถาบันอุดมศึกษาเปน 4 กลุม ไดแก กลุม ก วิทยาลัยชุมชน กลุม ข สถาบันที่เนนระดับปริญญาตรี กลุม ค สถาบันเฉพาะทาง และกลุม ง สถาบันที่เนน
  • 7. ~ 7 ~ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา ฉบับปการศึกษา 2557 การวิจัยขั้นสูงและผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษาโดยเฉพาะระดับปริญญาเอก นอกจากนั้น ยังไดจัดทํากรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2552 เพื่อใหเปนไปตามมาตรฐานการอุดมศึกษาและเพื่อเปนการ ประกันคุณภาพบัณฑิตในแตละระดับคุณวุฒิและสาขาวิชา โดยกําหนดใหคุณภาพของบัณฑิตทุกระดับคุณวุฒิและ สาขาวิชาตองเปนไปตามมาตรฐานผลการเรียนรูอยางนอย 5 ดาน คือ ดานคุณธรรม จริยธรรม ดานความรู ดาน ทักษะทางปญญา ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ และดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.4 กฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา หลังจากที่พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 มีผลบังคับใช สํานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา (ทบวงมหาวิทยาลัยเดิม) ในฐานะหนวยงานตนสังกัดที่ทําหนาที่กํากับดูแลสถาบันอุดมศึกษาไดเสนอระบบ การประกันคุณภาพการศึกษาใหคณะรัฐมนตรีพิจารณาเพื่อใหสอดคลองกับเจตนารมณแหงพระราชบัญญัติฉบับ ดังกลาว ซึ่งคณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2543 ไดมีมติเห็นชอบกับระบบประกันคุณภาพ การศึกษาของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ทบวงมหาวิทยาลัยเดิม) ซึ่งตอมาไดจัดทําเปนประกาศทบวง มหาวิทยาลัย เรื่อง ระบบ หลักเกณฑและวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2545 เพื่อใชเปนแนวปฏิบัติ สาระสําคัญของประกาศฉบับนี้ระบุใหทบวงมหาวิทยาลัยสนับสนุนและสงเสริม สถาบันอุดมศึกษาจัดทําระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในตามภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษาใหมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมทั้งใหมีการประเมินผลและติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของ สถาบันอุดมศึกษาจากภายใน หรือโดยหนวยงานตนสังกัดที่มีหนาที่กํากับดูแลสถาบันการศึกษาเพื่อเตรียมความ พรอมสําหรับการประเมินคุณภาพจากภายนอก รวมถึงสนับสนุนใหมีการแตงตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพภายใน ระดับอุดมศึกษาขึ้นในแตละคณะวิชาหรือสถาบันอุดมศึกษา เพื่อกําหนดนโยบาย หลักเกณฑ แนวทาง วิธีการ ตรวจสอบและประเมินระบบกลไกและประเมินผลการดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของแตละคณะ วิชาหรือสถาบันอุดมศึกษา หลังจากดําเนินการตามประกาศฉบับป พ.ศ.2545 ไประยะหนึ่ง สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจึง ไดจัดทํากฎกระทรวงวาดวยระบบหลักเกณฑและวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษาพ.ศ. 2546 เพื่อใหเปนไปตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติพ.ศ.2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ในมาตรา 5 และมาตรา 47 วรรคสองโดยสาระสําคัญเกี่ยวกับระบบและกลไกการประกันคุณภาพ การศึกษา ภายในของกฎกระทรวงฉบับนี้ยังคงไวตามประกาศทบวงมหาวิทยาลัยฯ พ.ศ.2545 ซึ่งสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาไดถือปฏิบัติมาอยางตอเนื่อง ตอมาในป 2553 กระทรวงศึกษาธิการไดออก กฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 แทนฉบับเดิม โดยรวม การประกันคุณภาพภายในและภายนอกของการศึกษาทุกระดับไวในฉบับเดียวกัน โดยมีการปรับใหคณะกรรมการ ประกันคุณภาพภายใน ระดับอุดมศึกษาทําหนาที่หลัก 2 ประการคือ 1) วางระเบียบหรือออกประกาศกําหนด หลักเกณฑและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา เพื่อสงเสริม สนับสนุนและพัฒนาการ ประกันคุณภาพภายใน ระดับอุดมศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการอุดมศึกษาและ 2) เสนอแนะ แนวทางปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาแกสถานศึกษา โดยนําผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอก ไปปรับปรุงคุณภาพการศึกษา อยางตอเนื่อง นอกจากน ี้ยังมีการปรับเปลี่ยนใหระบบการประกันคุณภาพภายใน ประกอบดวย การประเมินคุณภาพ การติดตามตรวจสอบคุณภาพ และการพัฒนาคุณภาพ และกําหนดใหหนวยงาน
  • 8. ~ 8 ~ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา ฉบับปการศึกษา 2557 ตนสังกัดจัดใหมีการติดตามตรวจสอบ คุณภาพการศึกษาอยางนอยหนึ่งครั้งในทุกสามปและแจงผลใหสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษาทราบ รวมทั้งเปดเผยผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตอสาธารณชน 3. การประกันคุณภาพการศึกษา กอนมีประกาศพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 ทบวงมหาวิทยาลัยไดตระหนักดีถึง ความสําคัญของการประกันคุณภาพการศึกษาและไดจัดทําประกาศทบวงมหาวิทยาลัยเรื่องนโยบายและแนวปฏิบัติใน การประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษามาตั้งแตป พ.ศ.2539 เพื่อเปนแนวทางในการประกันคุณภาพ การศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาตามหลักการสําคัญ 3 ประการ คือ การใหเสรีภาพทางวิชาการ (academic freedom) ความมีอิสระในการดําเนินการของสถาบัน (institutional autonomy) และความพรอมของสถาบันที่จะรับการตรวจสอบ คุณภาพจากภายนอกตามหลักการของความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได (accountability) ตอมาพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชิต พ.ศ.2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 ไดระบุใหหนวยงานตนสังกัดและสถานศึกษาจัดใหมีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประกอบกับ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 และกฎกระทรวงแบงสวนราชการ กําหนดให สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษามีหนาที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการอุดมศึกษาที่ สอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และแผนการศึกษาแหงชาติ สนับสนุนทรัพยากร ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยคํานึงถึงความเปนอิสระและความเปนเลิศทาง วิชาการของสถานศึกษาระดับปริญญาตามกฎหมายวาดวยการจัดตั้งสถานศึกษาแตละแหงและกฎหมายที่เกี่ยวของ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงมีหนาที่รวมกับสถานศึกษาในการจัดใหมีระบบการประกันคุณภาพ การศึกษาภายใน โดยมีรายละเอียดดังนี้ 3.1 แนวทางการพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 3.1.1 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ดวยกฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 ขอ 33 ใหสถาบันอุดมศึกษาพัฒนาระบบประกันคุณภาพ โดยยึดหลักเสรีภาพทางวิชาการและความมีอิสระในการ ดําเนินการของสถานศึกษา เพื่อใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาอยางตอเนื่องและเตรียมความพรอมเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก สถาบันจึงมี อิสระในการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในที่เหมาะสมสอดคลองกับระดับการพัฒนาของสถาบัน โดยอาจเปน ระบบประกันคุณภาพที่ใชกันแพรหลายในระดับชาติหรือนานาชาติ หรือเปนระบบเฉพาะที่สถาบันพัฒนาขึ้นเอง แตไม วาจะเปนระบบคุณภาพแบบใด จะตองมีกระบวนการทํางานที่เริ่มตนจากการวางแผน การดําเนินงานตามแผน การ ตรวจสอบประเมิน และการปรับปรุงพัฒนา ทั้งนี้ เพื่อใหการดําเนินภารกิจของสถาบันบรรลุเปาประสงคและมี พัฒนาการอยางตอเนื่อง ขณะเดียวกันก็เปนหลักประกันแกสาธารณชนใหมั่นใจวาสถาบันอุดมศึกษาสามารถสราง ผลผลิตทางการศึกษาที่มีคุณภาพหลักการที่สําคัญในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพและตัวบงชี้การประกัน คุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา หลักการสําคัญในการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษามีดังตอไปนี้ 1) สงเสริมพันธกิจหลักและพันธกิจสนับสนุนของการอุดมศึกษาภายใตความสอดคลองกับ หลักเกณฑที่กําหนดในกฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 2) เปนระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่ครอบคลุมปจจัยนําเขา และกระบวนการ ซึ่ง สามารถสงเสริมและนําไปสูผลลัพธของการดําเนินการอยางมีประสิทธิภาพ
  • 9. ~ 9 ~ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา ฉบับปการศึกษา 2557 3) ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา รอบใหม ประกอบดวย การ ประกันคุณภาพระดับหลักสูตร ระดับคณะ และระดับสถาบัน โดยจะเริ่มใชในปการศึกษา 2557 - ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร มีการดําเนินการตั้งแต การควบคุม คุณภาพ การติดตามตรวจสอบคุณภาพ และการพัฒนาคุณภาพ การพัฒนาตัวบงชี้และเกณฑการประเมินฯ จะมุงไป ที่ระบบการประกันคุณภาพการศึกษามากกวาการประเมินคุณภาพ เพื่อใหสามารถสงเสริม สนับสนุน กํากับติดตาม การดําเนินงานใหเปนไปตามที่กําหนด สะทอนการจัดการศึกษาอยางมีคุณภาพ - ระบบการประกันคุณภาพภายในระดับคณะและระดับสถาบัน เปนการดําเนินการ ประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่คณะและสถาบันพัฒนาระบบประกันคุณภาพ โดยยึดหลักเสรีภาพทางวิชาการและ ความมีอิสระในการดําเนินการของสถานศึกษา ซึ่งจะประเมินตามระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่คณะและ สถาบันตองการใหคณะและสถาบันพัฒนาตามศักยภาพและประเภทของกลุมสถาบัน ซึ่งเปนการประเมินความ เขมแข็งทางวิชาการ 4) ใหอิสระกับสถาบันอุดมศึกษาในการออกแบบระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 5) เชื่อมโยงกับระบบคุณภาพอื่นที่กําหนดและเปนนโยบายของ กก. โดยเฉพาะเรื่องกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ และการเชื่อมโยกับการประกันคุณภาพภายนอกของ สมศ. เพื่อไมใหเปน การทํางานซ้ําซอนเกินความจําเปนหรือสรางภาระการทํางานของหนวยงาน 3.1.2 มาตรฐาน ตัวบงชี้ และเกณฑประเมินคุณภาพ มาตรฐานที่เปนกรอบสําคัญในการดําเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา คือ มาตรฐานการ อุดมศึกษา ในขณะเดียวกันสถาบันอุดมศึกษาตางๆ ตองดําเนินการใหเปนไปตามมาตรฐานและหลักเกณฑอื่นๆ ที่ เกี่ยวของอีกมาก เชน เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา มาตรฐานเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกของ สมศ. หรือกรอบการปฏิบัติราชการตาม มิติดานตางๆ ของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ในกรณีมหาวิทยาลัยของรัฐ เปนตน กําหนดตัวบงชี้ เปน 2 ประเภท คือ ตัวบงชี้เชิงปริมาณ และตัวบงชี้เชิงคุณภาพ ดังนี้ 1) ตัวบงชี้เชิงคุณภาพจะระบุเกณฑมาตรฐานเปนขอๆ กําหนดเกณฑการประเมินตัวบงชี้ เปน 5 ระดับ มีคะแนนตั้งแต 1 ถึง 5 การประเมินเชิงคุณภาพนี้จะมีทั้งการนับจํานวนขอและระบุวาผลการดําเนินงาน ไดกี่ขอ ไดคะแนนเทาใด กรณีที่ไมดําเนินการใดๆ หรือดําเนินการไมครบที่จะได 1 คะแนน ใหถือวาได 0 คะแนน และ การประเมินโดยกําหนดการใหคะแนนตามที่ไดคณะหรือสถาบันดําเนินการ และกรรมการประเมิน (peer review) จะ พิจารณาผลการดําเนินการนั้นๆ รวมกันกอนที่จะบันทึกคะแนน โดยมีระดับคะแนนอยูระหวาง 0-5 2) ตัวบงชี้เชิงปริมาณอยูในรูปของรอยละหรือคาเฉลี่ย กําหนดเกณฑการประเมินเปน คะแนนระหวาง 1 ถึง 5 โดยเปนคาตอเนื่อง (มีจุดทศนิยม) สําหรับการแปลงผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ (ซึ่งอยูใน รูปรอยละหรือคาเฉลี่ย) เปนคะแนนทําโดยการเทียบบัญญัติไตรยางศ โดยที่แตละตัวบงชี้จะกําหนดคารอยละหรือ คาเฉลี่ยที่คิดเปนคะแนนเต็ม 5 ไว คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา ไดกําหนดใหมีระบบประกัน คุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร คณะ และสถาบัน เพื่อใหสถาบันอุดมศึกษาตางๆ นําไปใชเปนแนวทาง (Guideline) ในการจัดทําระบบการประกันคุณภาพภายในของแตละสถาบันตามความสมัครใจภายใตการกํากับดูแลของสภา สถาบันอุดมศึกษา โดยระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในจะครอบคลุมพันธกิจหลัก 4 ประการของการ อุดมศึกษาและพันธกิจดานการบริหารจัดการ ไดแก (1) พันธกิจดานการผลิตบัณฑิต (2) พันธกิจดานการวิจัย (3) พันธกิจดานการบริการวิชาการ (4) พันธกิจดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม และการบริหารจัดการ สําหรับ
  • 10. ~ 10 ~ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา ฉบับปการศึกษา 2557 การประกันคุณภาพระดับหลักสูตร จะเนนพันธกิจในดานการผลิตบัณฑิตเปนสําคัญ สวนพันธกิจดานอื่นๆ จะเปน การบูรณาการเขาไวดวยกัน หากเปนตัวบงชี้ในระดับคณะและสถาบันจะครอบคลุมพันธกิจหลักของการอุดมศึกษา รวมทั้งการบริหารจัดการไดทั้งหมด ซึ่งสามารถชี้วัดคุณลักษณะที่พึงประสงคตามมาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐาน และหลักเกณฑอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับพันธกิจเหลานั้นไดทั้งหมด ในสวนที่ 4 ถึงสวนที่ 6 ของคูมือฉบับนี้จึงไดพัฒนา ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน เพื่อใหสถาบันอุดมศึกษานําไปเปนกรอบในการดําเนินการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในตั้งแตระดับหลักสูตร ระดับคณะและระดับสถาบัน การพัฒนาตัวบงชี้และเกณฑการประเมินจะมุงไป ที่ระบบการประกันคุณภาพการศึกษามากกวาการประเมินคุณภาพ เพื่อใหสามารถสงเสริม สนับสนุน กํากับติดตาม การดําเนินงานใหเปนไปตามที่กําหนด สะทอนการจัดการศึกษาอยางมีคุณภาพ และตัวบงชี้ที่พัฒนาขึ้นควรเชื่อมโยง หรือเปนเรื่องเดียวกันกับการประเมินคุณภาพภายนอก โดยการประกันคุณภาพการศึกษาภายในเนนที่ปจจัยนําเขา และกระบวนการ ซึ่งภายในตัวบงชี้ที่เปนกระบวนการใหสามารถสะทอนผลลัพธของการดําเนินการตามกระบวนการ ดังกลาวดวย 3.1.3 กลไกการประกันคุณภาพ ในดานของกลไกการประกันคุณภาพ ผูที่มีความสําคัญสงผลใหการดําเนินงานประสบ ความสําเร็จและนําไปสูการพัฒนาคุณภาพอยางตอเนื่อง คือ คณะกรรมการระดับนโยบายและผูบริหารสูงสุดของ สถาบันที่จะตองใหความสําคัญและกําหนดนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาที่ชัดเจนและเขาใจรวมกันทุกระดับ โดยมอบหมายใหหนวยงานหรือคณะกรรมการรับผิดชอบในการติดตาม ตรวจสอบ ประเมิน และกระตุนใหเกิดการ พัฒนาคุณภาพอยางตอเนื่อง หนาที่สําคัญประการหนึ่งของคณะกรรมการหรือหนวยงานนี้ คือ การจัดระบบประกัน คุณภาพ พรอมทั้งกําหนดตัวบงชี้และเกณฑการประเมินคุณภาพที่เหมาะสมสําหรับคณะและสถาบัน ระบบประกัน คุณภาพที่ใชตองสามารถเชื่อมโยงใหเกิดคุณภาพของการปฏิบัติงาน ตั้งแตระดับบุคคล ระดับหลักสูตร ระดับคณะ วิชา ไปจนถึงระดับสถาบัน โดยอาจจําเปนตองจัดทําคูมือคุณภาพในแตละระดับเพื่อกํากับการดําเนินงาน แตที่สําคัญ คณะกรรมการหรือหนวยงานนี้ตองประสานงานและผลักดันใหเกิดระบบฐานขอมูลและสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งสามารถใชงานรวมกันไดทุกระดับ 3.1.4 ระบบฐานขอมูลและระบบสารสนเทศ การวัดและวิเคราะหผลการดําเนินงานเปนสิ่งจําเปนในกระบวนการประกันคุณภาพ การวัด และวิเคราะหผลการดําเนินงานจะไมสามารถทําไดอยางถูกตองและมีประสิทธิภาพ หากปราศจากฐานขอมูลและ ระบบสารสนเทศที่เปนจริง ถูกตองตรงกันทุกระดับตั้งแตระดับบุคคล ระดับหลักสูตร คณะวิชา และสถาบัน ตลอดจน เปนขอมูลที่สามารถเรียกใชไดอยางรวดเร็ว ดังนั้น ระดับสารสนเทศที่ดี มีประสิทธิภาพ จึงเปนปจจัยสําคัญยิ่งที่จะ สงผลตอความสําเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษา และสงผลตอคุณภาพในทุกขั้นตอนการดําเนินงานตั้งแตการ วางแผน การปฏิบัติงาน การตรวจสอบประเมิน ตลอดจนถึงการปรับปรุงและพัฒนา 4. ความเชื่อมโยงระหวางมาตรฐานการศึกษากับการประกันคุณภาพการศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ในหมวด 5 ที่วาดวยการ บริหารและการจัดการศึกษา มาตรา 34 ไดกําหนดให คณะกรรมการการอุดมศึกษามีหนาที่พิจารณาเสนอมาตรฐาน การอุดมศึกษาที่สอดคลองกับความตองการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และสอดคลองกับมาตรฐาน การศึกษาของชาติ โดยคํานึงถึงความเปนอิสระและความเปนเลิศทางวิชาการของสถาบันอุดมศึกษา คณะกรรมการ อุดมศึกษาจึงไดจัดทํามาตรฐานการอุดมศึกษาเพื่อใชเปนกลไกระดับกระทรวง ระดับคณะกรรมการการอุดมศึกษา และระดับหนวยงาน เพื่อนําไปสูการกําหนดนโยบายการพัฒนาการอุดมศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาตอไป มาตรฐาน
  • 11. ~ 11 ~ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา ฉบับปการศึกษา 2557 การอุดมศึกษาที่จัดทําขึ้นฉบับนี้ไดใชมาตรฐานการศึกษาของชาติที่เปรียบเสมือนรมใหญเปนกรอบในการพัฒนา โดย มีสาระสําคัญที่ครอบคลุมเปาหมายและหลักการของการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาของไทยและเปนมาตรฐานที่ คํานึงถึงความหลากหลายของกลุมหรือประเภทของสถาบันอุดมศึกษา เพื่อใหทุกสถาบันสามารถนําไปใชกําหนด พันธกิจและมาตรฐานของการปฏิบัติงานได คณะกรรมการการอุดมศึกษายังไดกําหนดเกณฑมาตรฐานอื่นๆ อาทิ เกณฑมาตรฐานหลักสูตร ระดับอุดมศึกษา หลักเกณฑการขอเปดและดําเนินการหลักสูตรระดับปริญญาในระบบการศึกษาทางไกล หลักเกณฑ การกําหนดชื่อปริญญา หลักเกณฑและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการพิจารณาประเมินคุณภาพการจัดการศึกษานอกสถาน ที่ตั้งของสถาบันอุดมศึกษา เพื่อสงเสริมใหสถาบันอุดมศึกษาไดพัฒนาดานวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งการพัฒนา คุณภาพและยกระดับมาตรฐานในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาใหมีความทัดเทียมกันและพัฒนาสูสากล ซึ่งทําให สถาบันอุดมศึกษาสามารถจัดการศึกษาไดอยางยืดหยุน คลองตัว และตอเนื่องในทุกระดับการศึกษา ตลอดจน สะทอนใหเห็นถึงมาตรฐานคุณภาพการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษา เพื่อใหการจัดการศึกษาทุกระดับและทุกประเภทมีคุณภาพและไดมาตรฐานตามที่กําหนดทั้งมาตรฐาน การศึกษาระดับชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา และสัมพันธกับมาตรฐานและหลักเกณฑ ที่เกี่ยวของกับการจัดการศึกษาอื่นๆ รวมถึงกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ จึงจําเปนตองมีระบบ ประกันคุณภาพที่พัฒนาขึ้นตามที่กําหนดไวในกฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพ การศึกษา พ.ศ.2553 ทั้งนี้ ความเชื่อมโยงระหวางมาตรฐานการศึกษา หลักเกณฑที่เกี่ยวของ และการประกัน คุณภาพการศึกษา สามารถแสดงในแผนภาพที่ 1.1 แผนภาพที่ 1.1 ความเชื่อมโยงระหวางมาตรฐานการศึกษาและการประกันคุณภาพ 5. ความเชื่อมโยงระหวางการประกันคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพ มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของคนไทยที่พึง ประสงคทั้งในฐานะพลเมืองและ พลโลก มาตรฐานที่ 2 แนวทางการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ 3 แนวการสรางสังคมแหงการ เรียนรู/สังคมแหงความรู มาตรฐาน การอุดมศึกษา มาตรฐาน ดานคุณภาพบัณฑิต มาตรฐานดานการบริหาร จัดการอุดมศึกษา มาตรฐานดานการสรางและ พัฒนาสังคมฐานความรูและ สังคมแหงการเรียนรู หลักเกณฑกํากับมาตรฐาน รวมถึงมาตรฐาน สถาบันอุดมศึกษาและกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแหงชาติ การประกันคุณภาพภายใน ภายใตตัวบงชี้ตามพันธกิจของการอุดมศึกษาและ การบริหารจัดการ ผลผลิตทางการศึกษาที่ไดคุณภาพ
  • 12. ~ 12 ~ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา ฉบับปการศึกษา 2557 การประกันคุณภาพการศึกษาภายในเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาปกติที่ตองดําเนินการ อยางตอเนื่อง โดยมีการควบคุมดูแลปจจัยที่เกี่ยวของกับคุณภาพ มีการตรวจสอบ ติดตามและประเมินผลการ ดําเนินงาน เพื่อนําไปสูการพัฒนาปรับปรุงคุณภาพอยางสม่ําเสมอ ดวยเหตุนี้ระบบประกันคุณภาพภายในจึงตองดูแล ทั้งปจจัยนําเขา (input) กระบวนการ (process) และผลผลิตหรือผลลัพธ (output/outcome) ซึ่งตางจากการประเมิน คุณภาพภายนอกที่เนนการประเมินผลการจัดการศึกษา ดังนั้น ความเชื่อมโยงระหวางการประกันคุณภาพภายในกับ การประเมินคุณภาพภายนอกจึงเปนสิ่งจําเปน โดยไดเชื่อมโยงใหเห็นจากแผนภาพที่ 1.2 แผนภาพที่ 1.2 ความสัมพันธระหวางการประกันคุณภาพการศึกษาภายในกับการประเมินคุณภาพ ภายนอก จากแผนภาพที่ 1.2 จะเห็นวา เมื่อสถาบันอุดมศึกษามีการดําเนินการประกันคุณภาพภายในแลว จําเปนตอง จัดทํารายงานประจําปที่เปนรายงานประเมินคุณภาพภายใน โดยใชรูปแบบการจัดทํารายงานประจําปที่เปนรายงาน การประเมินคุณภาพภายในตามที่กําหนดในระบบฐานขอมูลดานการประกันคุณภาพ (CHE QA Online) ซึ่งเปนการ บันทึกผลการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาผานทางระบบออนไลน ตั้งแตการจัดเก็บขอมูลพื้นฐาน เอกสารอางอิง การประเมินตนเอง การประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ เพื่อนําเสนอสภาสถาบัน หนวยงานตนสังกัด หนวยงานที่เกี่ยวของ และเปดเผยตอสาธารณชน ซึ่งขอมูลดังกลาวจะเปนขอมูลเชื่อมโยงระหวาง การประกันคุณภาพภายในของสภาบัน การติดตามตรวจสอบของตนสังกัด ดังนั้น สถาบันอุดมศึกษาจําเปนตองจัดทํา รายงานการประเมินตนเองที่มีความลุมลึก สะทอนภาพที่แทจริงของสถาบันในการจัดการศึกษาตั้งแตระดับหลักสูตร การดําเนินการของคณะและสถาบัน เพื่อการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพออกไปรับใชสังคม การประกันคุณภาพภายใน การประเมินคุณภาพภายนอก การปฏิบัติงาน ของสถาบัน การประเมิน ตนเองของ สถาบัน รายงานประจําป การตรวจ เยี่ยม รายงานผล การ ประเมิน การ ติดตามผล ขอมูลปอนกลับ ติดตามตรวจสอบ โดยตนสังกัดทุก 3 ป ขอมูลปอนกลับ
  • 13. ~ 13 ~ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา ฉบับปการศึกษา 2557 สวนที่ 2 การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 1. พัฒนาการของระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน เปนที่ทราบกันดีวาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาจําเปนตองมีการปรับปรุงอยางตอเนื่องตามระดับการ พัฒนาของสถาบันการศึกษา ตามความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยี สภาพสังคม เศรษฐกิจ ความรูและทักษะใน อนาคตที่ตลาดงานตองการ และพฤติกรรมการเรียนรูของผูเรียน ดังนั้น ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน และระบบการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอกจึงมีการปรับปรุงมาโดยตลอด ปจจุบันระบบการประกันคุณภาพ ภายในเขาสูรอบที่สาม (2557-2561) และระบบการประเมินคุณภาพภายนอกเขาสูรอบที่สี่ (2558-2562) ระบบการประกันคุณภาพภายในที่พัฒนาโดยสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เริ่มใชมาตั้งแตป การศึกษา 2550 เปนระบบแรกที่ใหสถาบันอุดมศึกษาทุกแหงไดนําไปใชในการประเมินผลการดําเนินงานในทุกป การศึกษา และใหสถาบันอุดมศึกษาเพิ่มเติมประเด็นการประเมินที่สะทอนเอกลักษณของแตละสถาบัน ในรอบแรกนี้ ตัวบงชี้ประเมินผลการดําเนินงานมีทั้งตัวบงชี้ที่เปนปจจัยนําเขา กระบวนการและผลผลิตหรือผลลัพธ โดยครอบคลุม องคประกอบคุณภาพตามกฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2546 ตอบสนองเจตนารมณแหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษา และมาตรฐานตางๆ ที่ เกี่ยวของ รวมทั้งสอดคลองไปในทิศทางเดียวกันกับตัวบงชี้การประเมินคุณภาพภายนอกของสํานักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) หรือ สมศ. ภายใตหลักการสําคัญคือไมเปนภาระซ้ําซอน ในการปฏิบัติงานของสถาบันอุดมศึกษา ตัวบงชี้ที่พัฒนาขึ้นสามารถประเมินไดครบทุกมิติของระบบการประกัน คุณภาพ คือ ปจจัยนําเขา กระบวนการ และผลผลิตหรือผลลัพธ อีกทั้ง ยังมีความสมดุลระหวางมุมมองการบริหาร จัดการทั้ง 4 ดาน คือ ดานนักศึกษาและผูมีสวนไดสวนเสีย ดานกระบวนการภายใน ดานการเงิน และดานบุคลากร การเรียนรูและนวัตกรรม ในสวนของเกณฑการประเมิน มีทั้งเกณฑทั่วไปที่ใชกับทุกสถาบันและที่แยกใชเฉพาะกับ สถาบันที่มีจุดเนนตางกัน ไดแก สถานที่เนนการผลิตบัณฑิตและการวิจัย สถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตและพัฒนา สังคม สถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตและพัฒนาศิลปวัฒนธรรม และสถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตเพียงอยางเดียว เนื่องจากในระยะแรกนี้สถาบันอุดมศึกษาหลายแหงยังไมมีกระบวนการทํางานที่เนนวงจรคุณภาพอยางชัดเจน ตัวบงชี้ สวนใหญจึงเปนตัวบงชี้ที่เนนกระบวนการ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในรอบที่สอง พ.ศ.2553 ยังคงยึดหลักการเดียวกับรอบแรก โดยนํา แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554) กฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑและวิธีการ ประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา มาตรฐานเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกของ สมศ. กรอบการปฏิบัติ ราชการตามมิติดานตางๆ ของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ในกรณีมหาวิทยาลัยของรัฐมา เปนกรอบในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน อยางไรก็ตาม การพัฒนาตัวบงชี้และเกณฑการประกัน คุณภาพภายในรอบที่สองจะมุงเนนการประเมินเฉพาะปจจัยนําเขาและกระบวนการ สําหรับการวัดผลผลิตหรือ ผลลัพธนั้น สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดนําตัวบงชี้ที่ใชในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามของ สมศ.มาใช โดยถือเปนสวนหนึ่งของตัวบงชี้และเกณฑการประกันคุณภาพภายในที่สถาบันอุดมศึกษาตองดําเนินการให ครบถวนทุกมิติของระบบประกันคุณภาพ คือ ปจจัยนําเขา กระบวนการ ผลผลิตหรือผลลัพธ ทั้งนี้ เกณฑที่พัฒนาขึ้น