SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
สัปดาห์ที่ 9
การประกันคุณภาพภายใน
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา เป็ นระบบที่สถานศึกษา
ร่วมกับชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภายใต้การกากับ ดูแลและสนับสนุนส่งเสริมของ
หน่วยงานต้นสังกัด เพื่อสร้างความมั่นใจที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักวิชา ข้อมูลหลักฐาน ที่
ตรวจสอบได้ และการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องว่า ผู้เรียนทุกคนจะได้รับบริการด้าน
การศึกษาที่มีคุณภาพจากสถานศึกษา เพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถและคุณลักษณะที่พึง
ประสงค์ตามที่กาหนดในมาตรฐานหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ และ
มาตรฐานการศึกษาและตัวบ่งชี้ เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
รอบที่สอง (พ.ศ.๒๕๔๙-๒๕๕๓) ระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
(Internal Quality Assurance System)
สถานศึกษาจะต้องจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
สถานศึกษา เพื่อสร้างความมั่นใจให้แก่ผู้ที่เกี่ยวข้องว่า ผู้เรียนทุกคนจะได้รับ
การศึกษาที่มีคุณภาพจากสถานศึกษา เพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถและ
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตามมาตรฐานการศึกษาและตัวบ่งชี้ เพื่อการประเมิน
คุณภาพภายนอก
ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา เป็ นส่วนหนึ่งของการบริหาร
การศึกษา ซึ่งเป็ นกระบวนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง โดยให้สถานศึกษายึด
หลักการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยการส่งเสริม สนับสนุนและกากับ
ดูแลของหน่วยงานต้นสังกัด
การควบคุมคุณภาพการศึกษา (Quality Control)
1. การศึกษา และเตรียมการ มีแนวการดาเนินการ ดังนี้
1.1 ตั้งคณะทางาน และพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อ …
1) ศึกษาแนวคิด รูปแบบ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา
2) พัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา โดยกาหนดรูปแบบที่สถานศึกษาสามารถปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3) จัดทาสื่อ เอกสาร คู่มือ และเครื่องมือต่าง ๆ เพื่อคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
1.2 ให้การศึกษาแก่ครู และบุคลากรที่เกี่ยวข้องเพื่อ…
1) สร้างความรู้ ความเข้าใจ ให้เกิดความตระหนัก และเห็นความสาคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อทุกมนุษย์จะได้ให้ความ
ร่วมมือในการปฏิบัติงานต่าง ๆ เพื่อคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
2) ให้ช่วยกันสร้างแนวคิดการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาและกาหนดรูปแบบการดาเนินงานที่เหมาะสมกับสถานศึกษา
1.3 ตั้งคณะกรรมการ และคณะอนุกรรม ในการดาเนินการประเมินคุณภาพการศึกษา เพื่อ
1) กาหนดบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบงานต่าง ๆ ที่สถานศึกษาต้องจัดทาเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
2) การสร้างทีมงานต่าง ๆ ของสถานศึกษาให้เข้มแข็ง
3) การพัฒนาความสามารถในการปฏิบัติงานต่าง ๆ เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
2. การวางแผนการประกันคุณภาพการศึกษา โดยวางแผนการดาเนินการประกันคุณภาพ
การศึกษาของสถานศึกษา โดย…
1.1 กาหนดมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ที่เป็ นการกาหนดจากมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
และมาตรฐานการศึกษาของหน่วยงานต้นสังกัด
1.2 จัดทามาตรฐานการปฏิบัติงานต่าง ๆ ของสถานศึกษาเพื่อควบคุมให้ผู้รับผิดชอบงานคุณภาพต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้องกับมาตรฐาน และตัวชี้วัดที่กาหนดปฏิบัติงานอย่างมีคุณภาพสม่าเสมอตลอดเวลา
1.3 สร้างเครื่องมือประเมินคุณภาพการศึกษา ตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาที่กาหนดขึ้น
เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา มาจัดทาเป็ นข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา ที่จะใช้ใน
การหาจุดที่จะพัฒนาสถานศึกษาต่อไป
1.4 ประเมินสภาพปัจจุบัน หรือเก็บข้อมูลสภาพปัจจุบันของสถานศึกษา โดยใช้เครื่องมือประเมินคุณภาพ
การศึกษาที่สร้างขึ้น
1.5 จัดทาสารสนเทศ หรือข้อมูลพื้นฐานสภาพปัจจุบันของสถานศึกษา โดยนาผลการประเมินคุณภาพ
การศึกษาของสถานศึกษา มาจัดทาข้อมูลพื้นฐานแสดงผลการปฏิบัติงานของสถานศึกษา โดยจัดกลุ่มของข้อมูล
ตามมาตรฐานและตัวชี้วัด คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
1.6 จัดทาแผนกลยุทธ์ของสถานศึกษา หรือแผนพัฒนาสถานศึกษา
1.7 จัดทาแผนปฏิบัติราชการตามแผนกลยุทธ์ของสถานศึกษา โดยการนากลยุทธ์และกิจกรรมในแต่ละปี
การศึกษา ที่กาหนดไว้ในกลยุทธ์สถานศึกษา ไปวางแผนการปฏิบัติราชการประจาปี
3. การดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษา มีขั้นตอนการดาเนินการ ดังนี้
3.1 ทบทวนการประกันคุณภาพการศึกษา โดยทบทวนงานต่าง ๆ ที่สถานศึกษาได้ทาการวางแผนไว้
ให้ทุกคนเข้าใจ และนาไปปฏิบัติ
3.2 ปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของสถานศึกษา และตามแผนปฏิบัติราชการของ
สถานศึกษา
3.3 นิเทศ กากับ ติดตามผลการดาเนินงานตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
4.การตรวจสอบ ทบทวน และปรับปรุงคุณภาพ
4.1 แต่งตั้งคณะกรรมการมาตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของถานศึกษา
4.2 กาหนดระยะเวลา และแนวทางการตรวจสอบ หรือวางแผนการตรวจสอบ ซึ่งการตรวจสอบ และ
ทบทวนคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา (มาตรฐานและตัวชี้วัด)
ของสถานศึกษาด้วย
4.3 ดาเนินการตรวจสอบตามแผนที่วางไว้ สาหรับการประเมินสภาพของสาถนสึกษาตามมาตรฐาน
คุณภาพการศึกษาของสาถานศึกษาครั้งที่ 2 หลังจากได้ปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของ
สถานศึกษา ไปได้ระยะเวลาหนึ่ง โดยนาเครื่องมือประเมินคุณภาพการศึกษา
5. การพัฒนาและการปรับปรุงคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
5.1 ปรับปรุง แก้ไขการปฏิบัติงานที่พบว่าไม่เป็ นไปตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน และมาตรฐาน
คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
5.2 ติดตาม ตรวจสอบแก้ไขปรับปรุงการปฏิบัติงานที่ไม่เป็ นไปตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน
และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ตามระยะเวลาที่เหมาะสมที่ผู้ปฏิบัติได้กาหนดไว้
5.3 สรุปผลการตรวจสอบ และรายงานผลการตรวจสอบการประกันคุณภาพการศึกษาของ
สถานศึกษาโดยการจัดทารายงานผลการประเมินตนเอง (SAR)
5.4 สาหรับงานที่มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนดไว้ ให้พัฒนาการปฏิบัติงานให้มี
ประสิทธิภาพดี ยิ่ง ๆ ขึ้นต่อไป
การประเมินภายใน (Internal Evaluation) เป็นประบวนการประเมินผลการ
ดาเนินงานของหน่วยงานที่กระทาโดยบุคลากรในหน่วยงาน หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง อย่างต่อเนื่อง
เพื่อให้ได้ข้อมูลมาใช้ในการปรับปรุงพัฒนาการดาเนินงานให้บรรลุเป้ าหมายที่กาหนดไว้ ซึ่งการ
ประเมินภายในนี้ถือเป็ นกระบวนการตรวจสอบการทางานของตนเอง(Self-evaluation)
สถานศึกษา ควรกาหนดให้การประเมินภายใน เป็นกิจกรรมหนึ่งที่ต้องปฏิบัติอย่างต่อเนื่องของ
สถานศึกษา และถ้าโรงเรียนจัดทามาตรฐานการปฏิบัติงานแล้ว ดังนั้น ในการประเมินคุณภาพ
การจัดการศึกษาของโรงเรียนควรดาเนินการประเมิน 2 ลักษณะ ได้แก่
1. ประเมินผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2. ประเมินการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของทุกฝ่ ายในโรงเรียน เพื่อให้โรงเรียนมีการ
ดาเนินงานมีคุณภาพอย่างสม่าเสมอ
วัตถุประสงค์ของการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
1. เพื่อตรวจสอบคุณภาพ และผลการปฏิบัติงานของโรงเรียน ตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2. เพื่อนาผลการประเมินมาจัดทาข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน และนามาใช้
ในการตัดสินใจวางแผนพัฒนา และปรับปรุงคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน
3. เพื่อรายงานผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และสาธารณชน
4. เพื่อเตรียมความพร้อมในการรับการประเมินจากองค์กรภายนอก เพื่อนาไปสู่การรับรองคุณภาพการศึกษา
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตรวจประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
การตรวจประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา จะประสบความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ของการประเมิน
คุณภาพภายในสถานศึกษา หรือไม่ ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่อไปนี้
1. การให้การสนับสนุนของฝ่ายบริหารของสถานศึกษา ระหว่างที่ทาการตรวจประเมิน
2. ความพร้อมของบุคลากร และหลักฐานต่าง ๆ เพื่อรับการตรวจ ตลอดจนสิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้องกับการตรวจประเมิน
3. ความชัดเจนของอานาจหน้าที่ และความรับผิดชอบ รวมทั้งความเป็ นอิสระของคณะผู้ตรวจประเมิน
4. ความร่วมมือของผู้รับการตรวจประเมิน
5. ความถูกต้อง ชัดเจนของการรายงานผลการตรวจประเมิน ซึ่งต้องรายงานผลการตรวจประเมินให้ผู้บริหาร และ
ผู้รับการตรวจประเมินทราบ
6. การดูแลของฝ่ายบริหาร เพื่อให้มีการแก้ไข้ข้อบกพร่อง หรือสิ่งที่ยังไม่เป็ นไปตามมาตรฐานที่พบระหว่างการ
ตรวจประเมิน
7. มีวิธีการตรวจสอบการแก้ไขข้อบกพร่องที่เหมาะสม
การประเมินผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา
การดาเนินการประเมินผลการปฏิบัติตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา ภายในสถานศึกษา
มี แนวทางในการดาเนินการประเมิน 2 วิธี ได้แก่
1. การประเมินผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการศึกษา โดยการนาผลการปฏิบัติงานพัฒนา
โรงเรียนเป็ นปกติ มาสรุปเขียนรายงานการประเมินตนเอง
2. การประเมินผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการศึกษา โดยการสร้างเครื่องมือวัดสาหรับตัว
บ่งชี้ทุกตัว แล้วประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน แล้วสรุปเขียนรายงานการประเมิน
ตนเอง
วิธีที่ 1 การประเมินผลการปฏิบัติงานตาม
มาตรฐานการศึกษา โดยการนาผลการ
ปฏิบัติงาน
พัฒนาโรงเรียนเป็ นปกติ มาสรุปเขียนรายงาน
การประเมินตนเอง
วิธีที่ 2 การประเมินผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการศึกษา โดยการสร้างเครื่องมือวัด
การประเมินผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการศึกษา วิธีนี้โรงเรียนต้องสร้างเครื่องมือวัด
คุณภาพการจัดการศึกษา ของโรงเรียนทุกตัวบ่งชี้ แล้วนามาประเมินคุณภาพการจัด
การศึกษาของโรงเรียน ในระยะเวลาที่ต้องการทราบผลการจัดการศึกษาของโรงเรียน วิธีนี้
โรงเรียน ต้องสร้างเครื่องมือประเมินทุกตัวบ่งชี้ แล้วทาการประเมินคุณภาพทุกตัวบ่งชี้
เพื่อการสรุปรายงาน
การสร้างเครื่องมือเก็บรวมรวมข้อมูล
การสร้างเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล อาจจะดาเนินการได้ดังนี้ กาหนดกรอบการ
ตรวจประเมินคุณภาพภายในโรงเรียน เพื่อเก็บรวบรวมเป็ นข้อมูลพื้นฐานตามมาตรฐาน
และตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยวางแผนกาหนดสิ่งต่อไปนี้ ด้านที่จะ
ประเมิน (ผลผลิต/กระบวนการ/ปัจจัย) มาตรฐานที่จะประเมิน ตัวบ่งชี้ที่จะประเมิน
แหล่งข้อมูล/แหล่งที่สามารถให้ข้อมูลได้ วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ในการ
เก็บรวบรวมข้อมูล วิธีวิเคราะห์ และสรุปข้อมูล เกณฑ์ระดับคุณภาพของผลการประเมิน
กระบวนการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องตามวงจร PDCA
๕ ๕ ๕
๕
๕
๕
๕
ความสมพันธ์ของกระบวนการประกันคุณภาพการศึกษา
ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประกอบด้วยการดาเนินงานโดยยึดหลักการมีส่วนร่วม 8 ประการ
1. การกําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
2. การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ
3. การจัดทําแผนพัฒนาสถานศึกษาที่มุ่งเน้นคุณภาพการศึกษา
4. การดําเนินงานตามแผนพัฒนาสถานศึกษา
5. การตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษา
6. การประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานที่กําหนด
7. การรายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี
8. การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
1.การกําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
มาตรฐานการศึกษามีความสาคัญและจาเป็ นมากสาหรับ การจัดการศึกษาที่ใช่หลักการกระจาย
อานาจไปยังสถานการศึกษาโดยที่ให้สถานศึกษาจัดทา หลักสูตรเอง และบริหารการใช้หลักสูตรให้เหมาะสม
สอดคล้องกับสภาพ ปัญหา และความ ต้องการของท้องถิ่น รัฐจึงกาหนดมาตรฐานการศึกษาของชาติเพื่อเป็ น
ข้อกาหนดเกี่ยวกับ คุณลักษณะ คุณภาพ ที่พึงประสงค์และมาตรฐานที่ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแห่ง
และ ใช้เป็ นหลักในการเทียบเคียงสาหรับการส่งเสริมและกากับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผล และ การ
ประเมินคุณภาพทางการศึกษา
2. การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ
สาหรับการจัดระบบสารสนเทศนั้น สถานศึกษาย่อมทราบดีว่ามีอยู่มากมายเช่น
ข้อมูล ผู้เรียน ครูและบุคลากร ข้อมูลอาคารและสถานที่ สิ่งอานวยความสะดวกข้อมูล
การพัฒนา บุคลากร ข้อมูลทรัพยากร ข้อมูลงบประมาณ ฯลฯ สถานศึกษาควรมีการ
จัดระบบสารสนเทศให้ เป็ นหมวดหมู่ให้ครอบคลุมและข้อมูลมีความสมบูรณ์ค้นได้ง่าย
และสะดวกรวดเร็ว มีการนาข้อมูล มาใช้ให้เกิดประโยชน์อยู่เสมอ การจัดหมวดหมู่
ข้อมูลสารสนเทศ อาจแบ่งเป็ นด้านก็ได้เช่น ด้านคุณภาพผู้เรียน คุณภาพการเรียน
การสอน คุณภาพการบริหารและการจัดการ และคุณภาพ การพัฒนาชุมชนแห่งการ
เรียนรู้หรือจะจัดโดยวิธีอื่นที่สถานศึกษาเห็นว่าเหมาะสมก็ได้
3.การจัดทาแผนพัฒนาสถานศึกษาที่มุ่งเน้นคุณภาพการศึกษา
เพื่อให้การจัดการศึกษาบรรลุตามมาตรฐานการศึกษา สถานศึกษาต้องมีการ
จัดทาแผนพัฒนาสถานศึกษาที่มุ่งเน้นคุณภาพการศึกษา ในการจัดทาแผนดังกล่าวนี้
สถานศึกษาต้อง คานึงถึงหลักการกระจายอานาจ การมีส่วนร่วม และการนาสู่การ
ปฏิบัติได้จริง
4. การดาเนินงานตามแผนพัฒนาสถานศึกษา
ในแผนพัฒนาสถานศึกษาที่มุ่งเน้นคุณภาพการศึกษา มีโครงการ / กิจกรรม ที่ต้อง
ดาเนินงานให้บรรลุตามวัตถุประสงค์และเกิดผลสาเร็จตามที่ระบุไว้ในตัวชี้วัดของโครงการ
การดาเนินงานตามแผนนั้น
5.การตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษา
คือการติดตามตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษาสถานศึกษาควรตั้งคณะทางานขึ้นเพื่อ
วางแผนติดตามและรวบรวมข้อมูลสารสนเทศการดาเนินงาน/โครงการตลอดปี การศึกษาโดย
ใช้มาตรฐานการศึกษาเป็ นกรอบการติดตามตรวจสอบ ทั้งนี้ข้อมูลเหล่านี้จะเป็ นประโยชน์ใน
การจัดทารายงานประจาปี ของสถานศึกษาสถานศึกษาควรมีการตรวจสอบและทบทวน
คุณภาพภายในสถานศึกษาทุกปี ดาเนินการอย่างจริงจัง ต่อเนื่องและเป็ นระบบ สนับสนุนให้
ครูผู้ปกครอง และผู้แทนชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมนอกจากนี้สถานศึกษาควรมีการตรวจสอบ
และทบทวนคุณภาพภายใน
6. การประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานที่กาหนด
สถานศึกษาจะมีข้อมูลสารสนเทศสาหรับประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐาน
การศึกษาที่กาหนดก็ตาม สถานศึกษาที่มีความพร้อม อาจตั้งคณะทางานขึ้นทาหน้าที่ประเมินคุณภาพภายใน
สถานศึกษาก็ได้ซึ่งจะเป็ น การสร้างระบบการประเมินตนเองอีกทางหนึ่ง นาผลจากการประเมินไประบุไว้ใน
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจาปี ต่อไป การประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา ต้อง
ครอบคลุมมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย ที่กาหนดไว้นอกเหนือจากนี้สถานศึกษาอาจทาการประเมินคุณภาพ
ผู้เรียนโดยรวม
7.การรายงานคุณภาพการศึกษาประจาปี
การจัดทารายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจาปี เป็ นหน้าที่ที่สถานศึกษาต้องปฏิบัติเพราะการทางาน
ใดๆก็ตาม ต้องมีการรายงานผลและนาผลไปใช้จึงจะเป็ นการทางานที่มีประสิทธิภาพ ในพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542มาตรา 48 ให้สถานศึกษาจัดทารายงานประจาปี เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิ ดเผยต่อสาธารณชน และเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอกในการจัดทา
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจาปี ของสถานศึกษาหรือที่เรียกสั้นๆ ว่ารายงานประจาปี สานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ) ได้ให้แนวทางไว้เป็ นตัวอย่างในเอกสารชื่อ “ แนวทางการเขียน
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจาปี ของสถานศึกษา” โดยเสนอให้แบ่งรายงานเป็ น 4 บท คือ
บทที่ 1 สภาพทั่วไปของสถานศึกษา
บทที่ 2 ระบุเป้ าหมายการพัฒนาของสถานศึกษา
บทที่ 3 ผลการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษาที่กาหนดไว้ในแผนพัฒนา
สถานศึกษา
บทที่ 4 ระบุจุดเด่น – จุดด้อย และความต้องการการช่วยเหลือ
8. การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
สถานศึกษาควรตรวจสอบและทบทวนการดาเนนงานตามโครงการ/กิจกรรม อยู่เสมอโครงการ/กิจกรรมที่ทาต้องคุ้มค่า
เกิดประโยชน์ส่งผลถึงผู้เรียน การพิจารณาโครงการ/กิจกรรมที่จะทาต่อไปหรือไม่นั้น ควรพิจารณาดงนี้
1. ถ้าเป็นโครงการที่ดีสมควรดาเนินต่อไปก็ดารงโครงการนั้นไว้
2.ถ้าเป็นโครงการที่ดีแต่ยังดาเนินการไม่สาเร็จหรือไม่บรรลุเป้ าหมายเพราะมีจุดบกพร่องถาปรับปรุงแก้ไขสามารถ
บรรลุผลสาเร็จได้ก็ดาเนินการตอไปและทาให้ดียิ่งขึ้น
3. ถ้าเป็นโครงการที่มีความก้าวหน้าในการดาเนินงานอยู่ตลอดเวลาก็พัฒนาดาเนินโครงการนั้นต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง
4.หากมีเหตุการณ์หรือสิ่งที่ส่อเค้าว่าจะเกิดปัญหาต้องหาทางป้ องกันไว้ก่อน ก็จาเป็นต้องจัดทาโครงการใหม่ๆขึ้นเพื่อ
ป้ องกันปัญหาอย่างไรก็ตาม ในการทาให้คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาพัฒนาอย่างต่อเนื่องนั้น
สัปดาห์ที่9 ประกันภายใน

More Related Content

What's hot

เครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
เครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
เครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาDuangnapa Inyayot
 
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshareทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshareKruManthana
 
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา Mana Suksa
 
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวมการประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวมTupPee Zhouyongfang
 
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40Weerachat Martluplao
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่Apirak Potpipit
 
รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักง...
รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักง...รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักง...
รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักง...ณรงค์ พร้อมบัวป่า
 
แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานแนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานworapanthewaha
 
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้Chainarong Maharak
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10Vi Mengdie
 
รายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษา
รายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษารายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษา
รายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษาKrudachayphum Schoolnd
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงkruteerapol
 

What's hot (19)

เครื่องมือการประกันคุณภาพภายใน
เครื่องมือการประกันคุณภาพภายในเครื่องมือการประกันคุณภาพภายใน
เครื่องมือการประกันคุณภาพภายใน
 
เครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
เครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
เครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
 
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshareทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
 
คู่มือ15มาตรฐาน
คู่มือ15มาตรฐานคู่มือ15มาตรฐาน
คู่มือ15มาตรฐาน
 
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
 
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวมการประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
 
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
 
รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักง...
รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักง...รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักง...
รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักง...
 
แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานแนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
Bp
BpBp
Bp
 
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
รายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษา
รายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษารายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษา
รายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษา
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
 

Similar to สัปดาห์ที่9 ประกันภายใน

รายงานผลจุดเน้นที่ 9
รายงานผลจุดเน้นที่ 9รายงานผลจุดเน้นที่ 9
รายงานผลจุดเน้นที่ 9kruchaily
 
การนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสาม
การนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสามการนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสาม
การนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสามrbsupervision
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่  7จุดเน้นที่  7
จุดเน้นที่ 7klongnamkeaw
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้onnichabee
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10kanwan0429
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10kanwan0429
 

Similar to สัปดาห์ที่9 ประกันภายใน (20)

รายงานผลจุดเน้นที่ 9
รายงานผลจุดเน้นที่ 9รายงานผลจุดเน้นที่ 9
รายงานผลจุดเน้นที่ 9
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
การนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสาม
การนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสามการนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสาม
การนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสาม
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่  7จุดเน้นที่  7
จุดเน้นที่ 7
 
คู่มือวิชาการ
คู่มือวิชาการคู่มือวิชาการ
คู่มือวิชาการ
 
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
 
Focus 7-55
Focus 7-55Focus 7-55
Focus 7-55
 
Tci2
Tci2Tci2
Tci2
 
Tci 1
Tci 1Tci 1
Tci 1
 
นาว1
นาว1นาว1
นาว1
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
ครู 3
ครู 3ครู 3
ครู 3
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่  7 จุดเน้นที่  7
จุดเน้นที่ 7
 

More from Nattaka_Su

สัปดาห์ที่ 11
สัปดาห์ที่ 11สัปดาห์ที่ 11
สัปดาห์ที่ 11Nattaka_Su
 
มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษามาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษาNattaka_Su
 
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษาเนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษาNattaka_Su
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการNattaka_Su
 
สัปดาห์ที่ 7 มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
สัปดาห์ที่ 7 มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษาสัปดาห์ที่ 7 มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
สัปดาห์ที่ 7 มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษาNattaka_Su
 
สัปดาห์ที่ 5 6
สัปดาห์ที่ 5   6สัปดาห์ที่ 5   6
สัปดาห์ที่ 5 6Nattaka_Su
 
สัปดาห์ที่ 4
สัปดาห์ที่ 4สัปดาห์ที่ 4
สัปดาห์ที่ 4Nattaka_Su
 
ความหมายและความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา
ความหมายและความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษาความหมายและความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา
ความหมายและความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษาNattaka_Su
 
มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษามาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษาNattaka_Su
 

More from Nattaka_Su (9)

สัปดาห์ที่ 11
สัปดาห์ที่ 11สัปดาห์ที่ 11
สัปดาห์ที่ 11
 
มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษามาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
 
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษาเนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
 
สัปดาห์ที่ 7 มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
สัปดาห์ที่ 7 มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษาสัปดาห์ที่ 7 มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
สัปดาห์ที่ 7 มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
 
สัปดาห์ที่ 5 6
สัปดาห์ที่ 5   6สัปดาห์ที่ 5   6
สัปดาห์ที่ 5 6
 
สัปดาห์ที่ 4
สัปดาห์ที่ 4สัปดาห์ที่ 4
สัปดาห์ที่ 4
 
ความหมายและความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา
ความหมายและความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษาความหมายและความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา
ความหมายและความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา
 
มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษามาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
 

สัปดาห์ที่9 ประกันภายใน