SlideShare a Scribd company logo
1 of 78
Download to read offline
Analytical and Systematic Thinking
1 A@LERT Learning and Consultant
ทำความรู้จักกันก่อน
บุญเลิศ คณาธนสาร
วิทยากร และที่ปรึกษา
A@LERT Learning and Consultant
Mobile: 062-9541441
E-mail: boonlert.alert@gmail.com
Website: www.nairienroo.com
FB: นายเรียนรู้
Line ID: @lert
A@LERT Learning and Consultant2
แลกเปลี่ยนเรียนรู้
1. ความสำคัญของทักษะการคิดวิเคราะห์ต่อการเรียนรู้
และการทำงานในโลกยุคปัจจุบัน
2. แก่นหัวใจหลักของทักษะการคิดวิเคราะห์
• การสังเกต-การสงสัย-การซักถาม

• การแยกแยะ-การจับประเด็น
• การเชื่อมโยง
3.เครื่องมือในการคิดเชิงวิเคราะห์ และการคิดอย่างเป็นระบบ
3 A@LERT Learning and Consultant
แลกเปลี่ยนเรียนรู้
4. กรอบความคิด (Framwork) ต่าง ๆ ในการวิเคราะห์ข้อมูลอย่าง
เป็นตรรกะ และเป็นระบบ
5. การประยุกต์ใช้ทักษะความคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical Thinking)
และทักษะความคิดอย่างมีระบบ (Systematic Thinking) ในขั้นตอน
ต่าง ๆ
a. การระบุประเด็นปัญหา
b. การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
c. การกำหนดแนวทางแก้ไขปัญหา และตัดสินใจ
4 A@LERT Learning and Consultant
A@LERT Learning and Consultant5
หัวใจหลักในการคิดวิเคราะห์
เพื่อทำความเข้าใจสถานการณ์
1. ช่างสังเกต สงสัย และซักถาม
2. ช่างแยกแยก และจับประเด็น
3. ช่างเชื่อมโยง
6 A@LERT Learning and Consultant
จับผิดขโมยได้หรือไม่ ?
สารวัตรตำรวจได้รับแจ้งจาก 191 ว่ามีขโมยขึ้นบ้านหญิงคนหนึ่ง จึงรีบมาและลงมือ
ตรวจสอบทันที ของที่ถูกขโมยไปหนึ่งในนั้นเป็นแสตมป์ต่างประเทศที่หายาก และมี
มูลค่าสูงมาก จำนวน 1 ดวง ซึ่งถูกเก็บไว้ในห้องอ่านหนังสือประจำบ้าน ซึ่งมีแม่บ้าน
และคนดูแลสวน เข้ามาใช้พักผ่อนด้วย โดยสารวัตรตำรวจได้สอบถามข้อมูลทั้งสามี
และภรรยา ได้ความว่า
“ผมเป็นคนหยิบแสตมป์นั้นออกมาเอง กะว่าจะให้เพื่อนที่คลั่งไคล้แสตมป์ที่จะมาหาเย็น
นี้ดูซะหน่อย ผมเลยสอดไว้ในหนังสือเล่มนี้ จำได้แม่นเลยว่าสอดไว้ระหว่างหน้า 157-158
แล้วเดินออกไปเข้าห้องน้ำ มาดูอีกทีมันหายไปแล้ว” ผู้เป็นสามีให้การกับตำรวจ
“ฉันไม่ได้อยู่บ้านในช่วงเวลานั้น เพราะปกติต้องออกไปทำงานนอกบ้าน เพื่อหารายได้
เลี้ยงครอบครัว เพราะสามีฉันตกงานอยู่” ผู้เป็นภรรยาให้การกับตำรวจ
7 A@LERT Learning and Consultant
จับผิดขโมยได้หรือไม่ ?
และจากการสอบถามแม่บ้าน และคนดูแลสวน เพิ่มเติม ได้ความว่า “ตั้งแต่เช้าเรา
สองคนยังไม่ได้เข้าไปในห้องอ่านหนังสือเลย เห็นแต่คุณผู้ชายนั่งดื่มเหล้าอยู่ ไม่รู้
กลุ้มใจเรื่องเสียพนันหรือเปล่า เพราะคุณผู้ชายติดเหล้า ติดการพนันบอลมาก"
จากการสอบปากคำ สารวัตรพบว่าสามีเจ้าของบ้านน่าสงสัยที่สุด แต่ยังไม่มีหลักฐาน
ที่ชัดเจน สารวัตรนั่งขบคิดอยู่สักพักก็ดีดนิ้วเปาะ
ใช่แล้วคนที่ขโมยแสตมป์ คือ สามีเจ้าของบ้าน
มีอะไรที่สารวัตรจับผิดสังเกตได้ ?
8 A@LERT Learning and Consultant
ช่างสังเกต สงสัย และซักถาม
เป็นพวก “ตาสับปะรด”
หมั่นคอยสังเกตสิ่งต่าง ๆ
ไม่เพิกเฉยต่อข้อมูลข่าวสารที่ได้รับ
หรือเชื่อตามโดยไม่ได้ฉุกคิด
ไม่คล้อยตามตามความเคยชิน
กล้าตั้งสมมติฐาน และซักถาม
9 A@LERT Learning and Consultant
เรื่องของสมหมายกับน้อยโหน่ง
สมหมายพาน้อยโหน่งลูกชายหัวแก้วหัวแหวนไปหัวหิน	ทั้งสอง
คนรู้สึกว่าอากาศในรถร้อนจนแทบหายใจไม่ออก	เมื่อถึงสถานี
รถไฟหัวหิน	สมหมายซื้อน้ำอัดลม	2	ขวดดื่มแก้กระหายน้ำ	
“ข้าให้เอ็งกิน	2	ขวดเลยเอ้า...ถ้าเอ็งกินไหว...”	สมหมายว่า	
ทั้งสองเดินเล่นชายหาดอย่างสนุกสนาน	ไม่มีใครลงเล่นน้ำ	
เพราะมีเสื้อกางเกงกันคนละชุดเท่านั้น	น้อยโหน่งเร้าจะลงเล่นน้ำ
ให้ได้	แต่สมหมายไม่อนุญาตเพราะกลัวเสียเวลา	ครั้นเวลาล่วง
ไป	3-4	ชั่วโมง	ทั้งสองก็เดินทางกลับบ้านโดยสวัสดิภาพ
10 A@LERT Learning and Consultant
ชัวร์แน่นอน	หรือ	อาจมั่วนิ่ม
ข้อความที่พิจารณา ชัวร์แน่นอน อาจมั่วนิ่ม
1.	สมหมายกับน้อยโหน่งเดินทางไปหัวหิน
2.	อากาศในรถร้อนจนผู้โดยสารหายใจแทบไม่ออก
3.	ทั้งสองคนลงรถไฟที่สถานีหัวหิน
4.	ทั้งสองพ่อลูกไม่ได้ลงเล่นน้ำในวันนั้น
5.	พอตกเย็นทั้งสองก็เดินทางกลับ
11 A@LERT Learning and Consultant
กรณีศึกษา: เครื่องดื่ม VitaMix
12 A@LERT Learning and Consultant
จากที่ท่านได้อ่าน หากท่านเป็นที่ปรึกษา
อะไรคือประเด็นที่ท่านต้องให้คำแนะนำ
………………………………………………………………
………………………………………………………………
………………………………………………………………
………………………………………………………………
………………………………………………………………
………………………………………………………………
………………………………………………………………
13 A@LERT Learning and Consultant
14 A@LERT Learning and Consultant
สรุปประเด็นสำคัญเรื่อง
“ความมั่นคงทางพลังงาน”
“การใช้พลังงานเกินตัวของประเทศไทย” ก่อให้เกิดปัญหา ?
สาเหตุการใช้พลังงานเกินตัวของประเทศไทย เกิดจาก ?
เราต้องพึ่งพิงพลังงานอะไรบ้าง จากประเทศเพื่อนบ้าน ?
ข้อเสนอแนะ ทางออกในการแก้ปัญหา มีอะไรบ้าง ?
15 A@LERT Learning and Consultant
ช่างแยกแยะ จับประเด็น
มองเห็นสิ่งต่าง ๆ เรื่องราวต่าง ๆ
แยกแยะเป็นองค์ประกอบย่อย ๆ
จับประเด็นสำคัญของเรื่อง ๆ นั้น
แล้วจะรู้ว่าปัญหาที่แท้จริงอยู่ที่ใด
16 A@LERT Learning and Consultant
กิจกรรม “นายช่างชื่ออะไร”
รถไฟขบวนหนึ่งวิ่งจากกรุงเทพฯ ไป หาดใหญ่
มีพนักงานอยู่ 3 คนทำหน้าที่
พนักงานขับรถ, พนักงานเดินตั๋ว และ
นายช่าง รู้เพียงว่า 3 คนนี้ ชื่อ
สมชาย, สมพงษ์, สมศักดิ์
แต่ไม่รู้ว่าใครทำหน้าที่อะไร
ผู้โดยสารมีอยู่ 3 คนที่มีชื่อซ้ำกับ
พนักงานทั้ง 3 คนอีก
เรารู้ข้อมูลแค่เพียงว่า
พนง.ขับรถ พนง.เดินตั๋ว นายช่าง
สมชาย สมพงษ์ สมศักดิ์
17 A@LERT Learning and Consultant
ผู้โดยสารคนหนึ่งเป็นเพื่อนบ้าน
ของพนง.เดินตั๋วและมีเงินเดือนเท่ากับ 3
เท่าของเงินเดือนพนง.เดินตั๋ว
ผู้โดยสารคนหนึ่งที่มีชื่อ
เดียวกับพนง.เดินตั๋วเป็น
คนหาดใหญ่
ผู้โดยสารที่ชื่อสมศักดิ์
ได้เงินเดือนเดือนละ 20,000
บาทถ้วน
พนง.เดินตั๋วบ้านอยู่
ประจวบคีรีขันธ์
ผู้โดยสารที่ชื่อ
สมพงษ์เป็น
คนกรุงเทพฯ
พนง.ที่ชื่อสมชาย
เล่นสนุกเกอร์ชนะ
พนง.ขับรถ
หมายเหตุ : 1. นายช่าง เป็นชื่อตำแหน่ง ซึ่งนับเป็นพนักงานคนหนึ่ง
2. เงินเดือนของพนักงาน เป็นเลขจำนวนเต็มไม่มีเศษสตางค์
18 A@LERT Learning and Consultant
กิจกรรม “ใครเป็นใคร ในบริษัท”
บริษัทนี้มีพนักงานทั้งหมด 6 คน คือ
นายธงชัย
นายบัญชา
นายสุชาติ
น.ส.เพชรแท้ น.ส.กังสดาลนางสมใจ
หมายเหตุ : น.ส. (นางสาว) ในเรื่องนี้เป็นผู้หญิงที่ยังโสด ไม่ผ่านการแต่งงาน
19 A@LERT Learning and Consultant
ผู้จัดการเป็นหลานชายแท้ ๆ
ของท่านประธานบริษัท
นาย
สุชาติไม่ได้เป็นญาติ แต่
เป็นเพื่อนบ้านของ
ท่านประธาน
พนักงานเก็บเงินเป็น
ลูกเขยของเลขานุการ
นางสาวเพชรแท้
เป็นลูกพี่ลูกน้องของ
พนักงานบัญชี
นายบัญชาปีนี้อายุ
เพิ่งจะย่าง 21 ปี
นายธงชัยยัง
เป็นโสดจริง ๆ นะ
20 A@LERT Learning and Consultant
ประธานบริษัท
……………..
ผู้จัดการ
……………..
เลขานุการ
……………..
พนักงานบัญชี
……………..
พนักงานเก็บเงิน
……………..
เสมียน
……………..
โจทย์ คือ “ใครทำงานในตำแหน่งอะไร”
หมายเหตุ : 1 คนทำงานได้ 1 ตำแหน่งเท่านั้น
21 A@LERT Learning and Consultant
ช่างเชื่อมโยง
“เมื่อเหตุนี้มี ผลนี้จึงมี เพราะเหตุนี้เกิด ผลนี้จึงเกิด”
“เมื่อเหตุนี้ไม่มี ผลนี้จึงไม่มี เพราะเหตุนี้ดับ ผลนี้จึงดับ”
22 A@LERT Learning and Consultant
23 A@LERT Learning and Consultant
24
ส่วนแบ่งตลาดสูง ส่วนแบ่งตลาดต่ำ
อัตราเติบโต
ตลาดต่ำ
อัตราเติบโต
ตลาดสูง
A@LERT Learning and Consultant
25 A@LERT Learning and Consultant
26 A@LERT Learning and Consultant
ตารางการขยายผลิตภัณฑ์/ ตลาด

(Product / Market Expansion Grid)
กลยุทธ์การเจาะตลาด
* กระตุ้นลูกค้าปัจจุบันให้ซื้อหรือใช้มาก
ขึ้น
* แย่งลูกค้าคู่แข่ง
* หาลูกค้าใหม่ในตลาดเดิม โดยหา
ประโยชน์การใช้ใหม่
กลยุทธ์การพัฒนาผลิตภัณฑ์
* ปรับปรุง/เปลี่ยนแปลงผลิตภัณฑ์เดิมให้
มี Feature ใหม่ๆ
• สร้างความต่างในคุณภาพสินค้า(เทียบ
กับของเดิม)
• พัฒนาผลิตภัณฑ์ “ใหม่”
กลยุทธ์การพัฒนาตลาด
* เพิ่มช่องทางการกระจายสินค้า
* ขยายตลาดในพื้นที่ใหม่ (ด้าน
ภูมิศาสตร์)
* หาลูกค้ากลุ่มใหม่ ในตลาดใหม่
(Segmentation)
ผลิตภัณฑ์เดิม
กลยุทธ์การขยายตัว (Diversification)
* โตจากฐานบริษัทเดิม
* ร่วมทุน (Joint Ventures)
• รวมกิจการ (Mergers)
• ซื้อกิจการ (Acquisition/ Take overs)
ผลิตภัณฑ์ใหม่
ตลาดเดิม
ตลาดใหม่
27 A@LERT Learning and Consultant
ประเภทผู้นำ
S1 - สั่งการ (Telling)
S2 - ให้คำแนะนำ (Selling)
S3 - ให้ความช่วยเหลือ (Participating)
S4 - มอบหมายงาน (Delegating)
ประเภทผู้ใต้บังคับบัญชา
R1 - ไม่มีความสามารถ และไม่เต็มใจ
R2 - ไม่มีความสามารถ แต่เต็มใจ
R3 - มีความสามารถ แต่ไม่เต็มใจ
R4 - มีความสามารถ และเต็มใจ
28 A@LERT Learning and Consultant
PMI (Plus - Minus - Interesting)
PMI (Plus - Minus - Interesting) คือ เครื่องมือการคิดตัวหนึ่งที่
Edward De Bono คิดขึ้นซึ่งสามารถใช้ในการคิดวิเคราะห์ได้ดีว่า
เรื่องที่กำลังพิจารณาอยู่นั้น อะไร คือ
P - Plus
ข้อดี
M - Minus
ข้อเสีย
I - Interesting
สิ่งที่น่าสนใจ
29
แก่งจันทร์โมเดล
จากกรณีศึกษาแก่งจันทร์โมเดล ให้ช่วยคิดวิเคราะห์ด้วยเครื่องมือ
PMI ว่าอะไร คือ ข้อดี - ข้อเสีย - สิ่งที่น่าสนใจ
P - Plus
ข้อดี
M - Minus
ข้อเสีย
I - Interesting
สิ่งที่น่าสนใจ
30
ระบบในร่างกายมนุษย์
A@LERT Learning and Consultant31
ระบบภายในรถยนต์
A@LERT Learning and Consultant32
อย่างไรถึงเรียกว่า “ระบบ” ?
•ส่วนประกอบ (Elements)
•ความเชื่อมโยง (Linkage)
•กลไกการทำงาน (Mechanism)
A@LERT Learning and Consultant33
ความคิด เกิดจาก ?
ความรู้ และประสบการณ์
A@LERT Learning and Consultant34
ความคิดเชิงระบบ คือ
ความคิดเชิงระบบ คือ ทักษะในการมอง
ภาพรวม การมองให้เห็นความสัมพันธ์
ระหว่างสิ่งต่าง ๆ มากกว่าการมองเฉพาะ
สิ่งใดสิ่งหนึ่ง และการมองให้เห็นลักษณะ
รูปแบบการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมากกว่า
การมองเฉพาะเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเฉพาะจุด
A@LERT Learning and Consultant35
ความคิดเชิงระบบในชีวิตประจำวัน
S
S
S
S
O
B
S = ทิศทางเดียวกัน
O = ทิศทางตรงกันข้าม
B = วงจรปรับสมดุล
ระดับน้ำ
ที่ต้องการ
(เป้าหมาย)
ระดับน้ำ
ปัจจุบัน
ความแตกต่าง
ปรับตำแหน่งวาล์วน้ำ
ปริมาณ
น้ำไหล
A@LERT Learning and Consultant36
พื้นฐานแผนภาพความคิดเชิงระบบ
•วงจรเสริมแรง
•วงจรปรับสมดุล
•หน่วงเวลา
A@LERT Learning and Consultant37
R = วงจรเสริมแรง
R
S
S
S
ยอดขาย
คุณภาพสินค้า
การบอกต่อ
ของลูกค้า
S = ทิศทางเดียวกัน
O = ทิศทางตรงกันข้าม
R = วงจรเสริมแรง
A@LERT Learning and Consultant38
B = วงจรปรับสมดุล
B
S
S
S O
ความเร็ว
ปัจจุบัน
ความเร็ว
ที่ต้องการ
(เป้าหมาย)
ความ
แตกต่าง
ปรับความเร็ว
S = ทิศทางเดียวกัน
O = ทิศทางตรงกันข้าม
B = วงจรปรับสมดุล
A@LERT Learning and Consultant39
Delay = หน่วงเวลา
B
S
S
S
O
S = ทิศทางเดียวกัน
O = ทิศทางตรงกันข้าม
ความแตกต่าง
อุณหภูมิน้ำ
ที่ต้องการ
(เป้าหมาย)
อุณหภูมิน้ำ
ปัจจุบัน
ปรับวาล์วน้ำ
B = วงจรปรับสมดุล
อุณหภูมิน้ำ
ปัจจุบัน
เวลา
อุณหภูมิน้ำ
ที่ต้องการ
(เป้าหมาย)
A@LERT Learning and Consultant40
เงินฝากทบต้น
จะเกิดอะไรขึ้น หากคุณฝากเงินกิน
ดอกเบี้ยโดย ไม่ถอนเงินออกไปเลย
ลองเขียนปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น ว่า
เป็นในรูปแบบ “วงจรเสริมแรง” หรือ
“วงจรปรับสมดุล” เงินฝากสะสม ดอกเบี้ยเงินฝากR
S
S
S = ทิศทางเดียวกัน
O = ทิศทางตรงกันข้าม
A@LERT Learning and Consultant41
อุณหภูมิในห้องหนาวเกิน
คุณจะทำเช่นไร หากต้องไปพัก
โรงแรมกับเพื่อน ๆ พอตกดึกแล้ว
คุณรู้สึกว่าอุณหภูมิในห้องหนาวเกิน
จะลุกไปปรับแอร์ก็เกรงใจเพื่อนร่วม
ห้องที่นอนด้วย
ลองเขียนปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น ว่า
เป็นในรูปแบบ “วงจรเสริมแรง” หรือ
“วงจรปรับสมดุล”
ความแตกต่างอุณหภูมิ
อุณหภูมิร่างกายปัจจุบัน
B
S
O
ปรับเปลี่ยนสิ่งที่
ปกคลุมร่างกาย
อุณหภูมิที่
ต้องการ
(เป้าหมาย)
S
S
A@LERT Learning and Consultant
S = ทิศทางเดียวกัน
O = ทิศทางตรงกันข้าม
42
สินค้าขาดตลาด
ในปี 2554 ก่อนหน้าจะเกิดเหตุการณ์
น้ำท่วมใหญ่ประมาณ 1 เดือน มีการ
คาดการณ์กันว่าน้ำดื่มจะขาดแคลน
คุณคิดว่าจะเกิดอะไรขึ้นตามมา
ลองเขียนปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น ว่า
เป็นในรูปแบบ “วงจรเสริมแรง” หรือ
“วงจรปรับสมดุล”
ปริมาณน้ำดื่มในตลาด การกักตุนน้ำดื่มR
O
O
การคาดการณ์
ปริมาณน้ำดื่ม
ในตลาด
S
A@LERT Learning and Consultant
S = ทิศทางเดียวกัน
O = ทิศทางตรงกันข้าม
43
แห่ถอนเงินฝาก
ในปี 2015 ประชาชนชาวกรีซต่างแห่
กันออกมาถอนเงินฝากกับธนาคาร
จนเงินสดเกลี้ยงธนาคาร คุณคิดว่าจะ
เกิดอะไรขึ้นตามมา
ลองเขียนปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น ว่า
เป็นในรูปแบบ “วงจรเสริมแรง” หรือ
“วงจรปรับสมดุล”
ปริมาณเงินสดสำรอง
ของธนาคาร
ความมั่นใจผู้ฝากเงินR
S
O
สถานะการเงิน
ของธนาคาร
S
ถอนเงินฝาก O
A@LERT Learning and Consultant
S = ทิศทางเดียวกัน
O = ทิศทางตรงกันข้าม
44
การควบคุมวัตถุดิบคงคลัง
หากคุณมีหน้าที่รับผิดชอบควบคุม
ปริมาณวัตถุดิบในโกดัง ที่ต้องทำให้
ปริมาณวัตถุดิบอยู่ในระดับที่ต้องการ
ลองเขียนปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น ว่า
เป็นในรูปแบบ “วงจรเสริมแรง” หรือ
“วงจรปรับสมดุล”
ความแตกต่าง
ปริมาณวัตถุดิบ
ที่มีอยู่
B
S
O
สั่งซื้อวัตถุดิบ
ปริมาณวัตถุดิบ
ที่ต้องการ
(เป้าหมาย)
S
S
Delay
A@LERT Learning and Consultant
S = ทิศทางเดียวกัน
O = ทิศทางตรงกันข้าม
45
ปัญหาส่งของไม่ทัน เมื่อยอดขายเพิ่มขึ้น
Number of
orders
Size of
Backlog
Size of
Sales Force
S
R
Revenues
S
S
O
B
Delivery Time
Sales
Difficulty
Delay
S
S
S
Gap
Standard Time
Improve Delivery
Process Capacity
S
O
S
Delay
Delivery Service
S
O
B
A@LERT Learning and Consultant46
ปัญหาด้านบริการ เมื่อธุรกิจขยายตัว
ความต้องการ
สินค้าของลูกค้า
คุณภาพในการ
ให้บริการหลังการขาย
การขยายตัว
ไปสู่ตลาดอื่น ๆ
S
R
รายได้จาก
ยอดขาย
S
S
O
B
S
ความแตกต่าง
มาตรฐานบริการ
หลังการขาย
การลงทุนเพื่อพัฒนา
ความสามารถใน
การให้บริการ
Delay
ความสามารถของ
ทีมให้บริการ
S
S
S
O
SB
A@LERT Learning and Consultant47
กรณีศึกษา : นกแอร์ยกเลิกเที่ยวบิน
แหล่งข่าวสายการบินนกแอร์ กล่าวถึงสาเหตุที่นกแอร์ประกาศยกเลิก
เที่ยวบินในวันที่ 23 ก.พ. ว่าเกิดจากปัญหา 2 ประเด็นใหญ่ คือ ประเด็น
แรกเกิดจากนักบินที่มีอยู่ไม่เพียงพอกับเที่ยวบินที่จะต้องทำการบิน
ประเด็นถัดมาเกิดจากปัญหานักบินทำการบินเกินชั่วโมงบินตาม
ระเบียบที่กำหนด
อย่างไรก็ตามในส่วนของนกแอร์ ปัจจุบันมีกัปตันประมาณ 160 คน มี
เครื่องบินที่ทำการบินอยู่ 19-20 ลำ ในจำนวนเครื่องบินดังกล่าว หาก
จะต้องให้นักบินมีเพียงพอ และทำการบินไม่เกินชั่วโมงบิน จะต้องมี
นักบินประมาณ 200 คน เนื่องจากเครื่องบิน 1 ลำ ใช้นักบินประมาณ 10
คน
A@LERT Learning and Consultant48
กรณีศึกษา : นกแอร์ยกเลิกเที่ยวบิน
แต่ปัญหาของนกแอร์ปีที่ผ่านมา มีนักบินลาออกประมาณ 30-40 คน
ช่วงหลัง ๆ นักบินของนกแอร์ลาออกเรื่อย ๆ ซึ่งถือเป็นปัญหากับนก
แอร์มาตลอด
แหล่งข่าวกล่าวอีกว่า ในส่วนของนักบินที่ทำการบินชั่วโมงเกินข้อ
กำหนด ก็เป็นเหตุผลมาจากจำนวนนักบินมีน้อย ทำให้นักบินแต่ละคน
ต้องบินเกินกว่าที่กำหนดจากข้อกำหนดนักบิน 1 คนต้องบิน 80
ชั่วโมงต่อเดือน แต่ด้วยจำนวนนักบินที่มีน้อยทำให้นักบินส่วนใหญ่
ชั่วโมงบินเกิน
ให้จับกลุ่มระดมสมอง เขียนปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น
A@LERT Learning and Consultant49
กรณีศึกษา : นกแอร์ยกเลิกเที่ยวบิน
O
ความต้องการ
นักบินที่พร้อมบิน
S
จำนวนเที่ยวบิน
ความแตกต่าง
นักบินที่พร้อมบินชั่วโมงบิน
ของนักบิน
นักบินที่มีทั้งหมด
นักบินลาออก
S
S
O
O
S
รักษา
สรรหา
Delay Delay
สร้าง
ยกเลิกเที่ยวบิน
O
S
S
S
S
O
S
S
S = ทิศทางเดียวกัน
O = ทิศทางตรงกันข้าม A@LERT Learning and Consultant50
Systematic Thinking
Goal
(เป้าหมาย)
OutputProcessInput
51
1
234
A@LERT Learning and Consultant
ขั้นตอนการประยุกต์ใช้
กระบวนการความคิดเชิงระบบ
1. ตั้งเป้าหมาย (Goal) ให้ชัดเจน
2. กำหนดผลลัพธ์ (Output) ที่ต้องการเห็น ต้องจับต้องได้
พร้อมระบุตัวชี้วัดความสำเร็จ (KPIs)
3. ออกแบบกระบวนการ (Process) เพื่อให้ได้ผลลัพธ์บรรลุ
ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
4. ระบุปัจจัยนำเข้า (Input) ที่จำเป็น ได้แก่ ทรัพยากรต่าง ๆ
52 A@LERT Learning and Consultant
Output
Input
Process
+
=
Goal Step 1 : ให้คิดเป้าหมายชีวิตที่ต้องการบรรลุในอีก 5 ปีข้างหน้า
Step 2 อะไร คือ ผลลัพธ์ที่จับต้องได้ ที่สะท้อนให้เห็นว่าเป้าหมายที่ทำบรรลุผล
(KPIs)
Step 3 : อะไร คือ สิ่งที่ต้องทำเพื่อให้เกิดผลลัพธ์ตามที่คาดหวังไว้
(Activities)
Step 4 : อะไร คือ ทรัพยากร/สิ่งที่จำเป็น ที่ต้องใช้ในกระบวนการ/กิจกรรมต่าง ๆ
(Resources)
A@LERT Learning and Consultant53
Output
Input
Process
+
=
Initiative Project Step 1 : ให้คิดโครงการที่ตอบโจทย์เป้าหมาย ในภารกิจงานที่เรารับผิดชอบ
Step 2 อะไร คือ ผลลัพธ์ที่จับต้องได้ ที่สะท้อนให้เห็นว่าโครงการที่ทำบรรลุผล
(KPIs)
Step 3 : อะไร คือ สิ่งที่ต้องทำเพื่อให้เกิดผลลัพธ์ตามที่คาดหวังไว้
(Activities)
Step 4 : อะไร คือ ทรัพยากร/สิ่งที่จำเป็น ที่ต้องใช้ในกระบวนการ/กิจกรรมต่าง ๆ
(Resources)
A@LERT Learning and Consultant54
การประยุกต์ใช้
55 A@LERT Learning and Consultant
56 A@LERT Learning and Consultant
การระบุปัญหา ด้วย Pareto Diagram
แผนผังพาเรโต (Pareto
Diagram) เป็นเครื่องมือในการ
วิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ เพื่อค้นหา
ข้อมูลที่มีความน่าสนใจ
57 A@LERT Learning and Consultant
การระบุปัญหาจากมุมมองลูกค้า
เราสามารถระบุปัญหาได้โดยฟังจากเสียงลูกค้า (Voice
of Customer) ทั้งจากลูกค้าภายนอก และลูกค้าภายใน
58 A@LERT Learning and Consultant
การระบุปัญหาจากมุมมองลูกค้า
Customers Voice of Customers
59 A@LERT Learning and Consultant
การระบุปัญหาด้วย Affinity Diagram
แผนผังกลุ่มเครือญาติ (Affinity
Diagram) เป็นเครื่องมือหนึ่งใน
การรวบรวมความคิดต่าง ๆ ที่มี
อยู่กระจัดกระจาย มาจัดรวมเป็น
กลุ่มเดียวกัน
60 A@LERT Learning and Consultant
การระบุปัญหาด้วย Affinity Diagram
1. ให้ทุกคนเขียนลงกระดาษ Post-it
(1 ปัญหาต่อ 1 Post-it)
2. ให้นำ Post-it ทุกใบมารวมกัน และ
นำมาจัดกลุ่ม
3. เขียนสรุปเรียกกลุ่มความคิดที่มา
รวมกันออกมาอีก 1 Post-it
61 A@LERT Learning and Consultant
62 A@LERT Learning and Consultant
วิธีการคิดของ Why-Why Analysis
ปรากฏ
การณ์
1
2
2-2
2-1
1-1
1-2
1-2-2
1-2-1
1-1-2
1-1-1
ทำไมเกิด 1-1
ทำไมเกิด 1-2
ทำไมเกิด 1
ทำไมเกิด 2
ทำไมเกิด
ปรากฏการณ์
63 A@LERT Learning and Consultant
การวิเคราะห์ด้วยเทคนิค Why-Why คืออะไร
คือ เทคนิคการวิเคราะห์หาปัจจัยที่เป็นต้นเหตุให้
เกิดปรากฏการณ์ โดย
1. ถาม “ทำไม” ต่อเนื่องกัน
2. ตอบคำถาม ทำไม แต่ละครั้งด้วย
“ข้อเท็จจริง-Fact” (ห้ามใช้สีข้าง)
64 A@LERT Learning and Consultant
เทคนิคการวิเคราะห์หาสาเหตุด้วย Why-Why
แทนที่จะถามว่า “ทำไม ?” ให้ใช้ 2 คำถามนี้แทน
คำถามที่ 1 อาการนี้เกิดจากสาเหตุอะไรได้บ้าง ? (เพื่อทำการหา
สาเหตุที่เป็นไปได้ออกมาก่อน)
คำถามที่ 2 จากข้อเท็จจริงหน้างาน “สาเหตุ xxx” นี้มีความผิด
ปกติหรือไม่ ? (เพื่อค้นหาสาเหตุที่แท้จริง)
65 A@LERT Learning and Consultant
กระบวนการตัดสินใจโดยใช้ Criteria Rating
66 A@LERT Learning and Consultant
กระบวนการตัดสินใจ 4 ขั้นตอน
1. กำหนดเป้าหมาย / ความต้องการ และข้อจำกัดให้ชัดเจน
2. ค้นหา และ / หรือสร้างทางเลือก (ยิ่งมาก ยิ่งดี)
3. ประเมินเบื้องต้นเทียบกับความต้องการ และเลือกไว้เป็น
Shortlist 3-4 ทางเลือก
4. กำหนดหลักเกณฑ์การเลือก และการประเมิน ให้น้ำหนัก
และให้คะแนน
67 A@LERT Learning and Consultant
1. กำหนดเป้าหมาย / ความต้องการ
ใช้หลักการคิด AGO (Aim, Goal, Objective)
เพื่อค้นหาเป้าหมาย / ความต้องการ
………………………………………………………………………
ข้อจำกัดในการตัดสินใจครั้งนี้ (เช่น งบประมาณ, เวลา) คือ
………………………………………………………………………
68 A@LERT Learning and Consultant
2. ค้นหาทางเลือก (ยิ่งมาก ยิ่งดี)
ใช้แนวคิดหมวก 6 ใบ โดยเลือกใช้หมวกสีเขียว (Green Hat) ตาม
หลักการคิด APC (Alternatives, Possibilities, Choices)
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
69 A@LERT Learning and Consultant
3. ประเมินเบื้องต้นเทียบกับความต้องการ และเลือกไว้
เป็น Shortlist 3-4 ทางเลือก
1. ..........................................................................................
2. ..........................................................................................
3. ..........................................................................................
4. ..........................................................................................
70 A@LERT Learning and Consultant
4. กำหนดเกณฑ์ในการเลือก
ใช้หลักการคิด CAF (Consider All Factors) โดยพิจารณาลักษณะ
สำคัญ ๆ ที่เราคิดว่าตัวเลือกเหล่านั้นควรจะมี หรือควรจะนำมาเปรียบ
เทียบกัน
เกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณา
1. ศูนย์บริการ
2. สมรรถนะ
3. ราคา
4. โปรโมชั่น
5. รูปแบบ
71 A@LERT Learning and Consultant
ยืนยันวัตถุประสงค์ของการตัดสินใจ
และตรวจสอบเกณฑ์
•เราต้องการอะไรกันแน่ ? กลับไปทวนสอบที่ข้อ 1 เป้าหมาย /
ความต้องการ
•ตรวจสอบเลือกเกณฑ์ที่จำเป็น และจำแนกเป็น
➢ เกณฑ์ที่สามารถระบุเป็นข้อมูลตัวเลขที่เจาะจง หรือ
พิจารณาข้อดี-ข้อเสียได้อย่างชัดเจน (สามารถใช้หลัก
การคิด หมวก 6 ใบ คือ หมวกสีขาว, หมวกสีเหลือง,
หมวกสีดำ)
➢ เกณฑ์ที่ต้องใช้อารมณ์ ความรู้สึกตัดสิน (สามารถใช้
หลักการคิด หมวก 6 ใบ คือ หมวกสีแดง)
72 A@LERT Learning and Consultant
กำหนดเกณฑ์ประเมิน
1. .................................................................น้ำหนัก............%
2. .................................................................น้ำหนัก............%
3. .................................................................น้ำหนัก............%
4. .................................................................น้ำหนัก............%
5. .................................................................น้ำหนัก............%
รวม 100 %
73 A@LERT Learning and Consultant
กำหนดความสำคัญของเกณฑ์ประเมินแต่ละข้อ
ด้วยการให้น้ำหนักเป็นเปอร์เซ็นต์ ซึ่งเมื่อรวมน้ำหนักของ
เกณฑ์ทั้งหมดเข้าด้วยกันแล้ว จะต้องมีค่าเท่ากับ 100%
74 A@LERT Learning and Consultant
ตัวอย่าง :
การให้น้ำหนักของเกณฑ์ การตัดสินใจเลือกซื้อรถบรรทุก 6 ล้อ
เกณฑ์ คำอธิบาย น้ำหนัก
ศูนย์บริการ ศูนย์บริการมีอยู่หลายจังหวัด บริการดี มีมาตรฐาน 20%
สมรรถนะ เครื่องยนต์ทนทาน ประหยัดน้ำมัน 50%
ราคา ราคาคุ้มค่าต่อการลงทุน 10%
โปรโมชั่น มีโปรโมชั่นในการดาวน์ และผ่อนที่น่าสนใจ 10%
รูปแบบ รูปแบบทันสมัย 10%
น้ำหนักรวม 100%
75 A@LERT Learning and Consultant
ให้คะแนนตัวเลือก และคำนวณผลคะแนนจริง
ตามขั้นตอนต่อไปนี้
1. กำหนดระดับการให้คะแนน เพื่อเปรียบเทียบตัวเลือก
ทั้งหมดกับเกณฑ์แต่ละเกณฑ์ ยกตัวอย่างเช่น กำหนด
ระดับให้ 1-10 โดย 10 คือ ค่าสูงสุด และ 1 คือ ค่าต่ำสุด
2. ให้การให้คะแนนตามเกณฑ์ใดเกณฑ์หนึ่งนั้น เราจะต้อง
ให้คะแนนแก่ทุกตัวเลือกในคราวเดียวกัน เพื่อไม่ให้สับสน
ในการเปรียบเทียบ เช่น ถ้าให้คะแนนศูนย์บริการ เราก็
ต้องเปรียบเทียบรถบรรทุกทั้ง 3 ยี่ห้อ แล้วให้คะแนนแต่ละ
ยี่ห้อ ก่อนจะให้คะแนนในเรื่องเกณฑ์สมรรถนะต่อไป
76 A@LERT Learning and Consultant
3. หลังจากให้คะแนนแล้ว คูณคะแนนในแต่ละช่องด้วยน้ำหนัก
ได้ผลเป็นคะแนนจริง ยกตัวอย่าง รถบรรทุกยี่ห้อ A ได้คะแนน
ศูนย์บริการเท่ากับ 9 จะได้คะแนนจริงเท่ากับ 9x20% = 1.8
4. เขียนคะแนนจริง ในช่อง Weighted Score
5. รวมคะแนนจริงของแต่ละตัวเลือก
6. เขียนสรุปความคิดเห็นเกี่ยวกับตัวเลือกแต่ละตัว
ให้คะแนนตัวเลือก และคำนวณผลคะแนนจริง
ตามขั้นตอนต่อไปนี้
77 A@LERT Learning and Consultant
แสดงคะแนนของรถบรรทุก 6 ล้อแต่ละยี่ห้อ
เกณฑ์ น้ำหนัก ยี่ห้อ A ยี่ห้อ B ยี่ห้อ C
Score Weighted
Score
Score Weighted
Score
Score Weighted
Score
ศูนย์บริการ 20% 9 1.8 8 1.6 7 1.4
สมรรถนะ 50% 7 3.5 9 4.5 8 4.0
ราคา 10% 8 0.8 9 0.9 7 0.7
โปรโมชั่น 10% 7 0.7 5 0.5 8 0.8
รูปแบบ 10% 5 0.5 7 0.7 8 0.8
รวม 100% 7.3 8.2 7.7
78 A@LERT Learning and Consultant

More Related Content

What's hot

ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)Padvee Academy
 
รู้ทันอย่างเข้าใจ โซเชียลมีเดีย
รู้ทันอย่างเข้าใจ โซเชียลมีเดียรู้ทันอย่างเข้าใจ โซเชียลมีเดีย
รู้ทันอย่างเข้าใจ โซเชียลมีเดียPisan Chueachatchai
 
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทยทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทยwanichaya kingchaikerd
 
บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์Teetut Tresirichod
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ Srion Janeprapapong
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน Ornkapat Bualom
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการค้า]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการค้า]คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการค้า]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการค้า]siep
 
เฉลยแบบฝึกหัด การวางแผนผลิต MRP และการจัดลำดับงาน Johnson Rule
เฉลยแบบฝึกหัด การวางแผนผลิต MRP และการจัดลำดับงาน Johnson Ruleเฉลยแบบฝึกหัด การวางแผนผลิต MRP และการจัดลำดับงาน Johnson Rule
เฉลยแบบฝึกหัด การวางแผนผลิต MRP และการจัดลำดับงาน Johnson Ruleบ้านคณิต อ.มด
 
ปฏิบัติการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ สู่ความเป็นธรรมทางสุขภาพ - Social Determinan...
ปฏิบัติการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ สู่ความเป็นธรรมทางสุขภาพ - Social Determinan...ปฏิบัติการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ สู่ความเป็นธรรมทางสุขภาพ - Social Determinan...
ปฏิบัติการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ สู่ความเป็นธรรมทางสุขภาพ - Social Determinan...JuSNet (Just Society Network)
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัยguest9e1b8
 
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์Thanaphat Tachaphan
 
หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...
หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...
หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...Totsaporn Inthanin
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai versionEconomic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai versionwarawut ruankham
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55Decode Ac
 
การพัฒนาบุคลิกภาพ
การพัฒนาบุคลิกภาพการพัฒนาบุคลิกภาพ
การพัฒนาบุคลิกภาพMediaDonuts
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักTeetut Tresirichod
 

What's hot (20)

ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
 
5 step
5 step5 step
5 step
 
รู้ทันอย่างเข้าใจ โซเชียลมีเดีย
รู้ทันอย่างเข้าใจ โซเชียลมีเดียรู้ทันอย่างเข้าใจ โซเชียลมีเดีย
รู้ทันอย่างเข้าใจ โซเชียลมีเดีย
 
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทยทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
 
บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการค้า]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการค้า]คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการค้า]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการค้า]
 
เฉลยแบบฝึกหัด การวางแผนผลิต MRP และการจัดลำดับงาน Johnson Rule
เฉลยแบบฝึกหัด การวางแผนผลิต MRP และการจัดลำดับงาน Johnson Ruleเฉลยแบบฝึกหัด การวางแผนผลิต MRP และการจัดลำดับงาน Johnson Rule
เฉลยแบบฝึกหัด การวางแผนผลิต MRP และการจัดลำดับงาน Johnson Rule
 
Tas16 ppe
Tas16 ppeTas16 ppe
Tas16 ppe
 
จิตวิทยา 6 เฟรม
จิตวิทยา  6 เฟรมจิตวิทยา  6 เฟรม
จิตวิทยา 6 เฟรม
 
ปฏิบัติการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ สู่ความเป็นธรรมทางสุขภาพ - Social Determinan...
ปฏิบัติการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ สู่ความเป็นธรรมทางสุขภาพ - Social Determinan...ปฏิบัติการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ สู่ความเป็นธรรมทางสุขภาพ - Social Determinan...
ปฏิบัติการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ สู่ความเป็นธรรมทางสุขภาพ - Social Determinan...
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย
 
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
 
หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...
หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...
หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
 
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai versionEconomic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
 
การพัฒนาบุคลิกภาพ
การพัฒนาบุคลิกภาพการพัฒนาบุคลิกภาพ
การพัฒนาบุคลิกภาพ
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
 

Similar to Analyticaland systematicthinking goverment_handout

Similar to Analyticaland systematicthinking goverment_handout (20)

D eblog17
D eblog17D eblog17
D eblog17
 
Strengths Quest Thai version
Strengths Quest Thai versionStrengths Quest Thai version
Strengths Quest Thai version
 
R2 rppt
R2 rpptR2 rppt
R2 rppt
 
Blog22 feb21
Blog22 feb21Blog22 feb21
Blog22 feb21
 
Educate2
Educate2Educate2
Educate2
 
Educate3
Educate3Educate3
Educate3
 
Btg 610208
Btg 610208Btg 610208
Btg 610208
 
2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of management2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of management
 
TQAADLIwooddy2001
TQAADLIwooddy2001TQAADLIwooddy2001
TQAADLIwooddy2001
 
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
 
หน่วยที่๖
หน่วยที่๖หน่วยที่๖
หน่วยที่๖
 
Case Study : Customer Centric & Lead User
Case Study : Customer Centric & Lead UserCase Study : Customer Centric & Lead User
Case Study : Customer Centric & Lead User
 
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพโครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
 
Tqa
TqaTqa
Tqa
 
Te620118
Te620118Te620118
Te620118
 
H aforum21
H aforum21H aforum21
H aforum21
 
คุณค่าของ R2R และ KM แบบหยั่งรากลึก part I
คุณค่าของ R2R และ KM แบบหยั่งรากลึก part Iคุณค่าของ R2R และ KM แบบหยั่งรากลึก part I
คุณค่าของ R2R และ KM แบบหยั่งรากลึก part I
 
Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124
 
Manpower demand
Manpower demandManpower demand
Manpower demand
 
Are you Gut Feeling VS Social Listening
Are you Gut Feeling VS Social ListeningAre you Gut Feeling VS Social Listening
Are you Gut Feeling VS Social Listening
 

More from Boonlert Kanathanasarn

Systems Problem Solving and Decision Making
Systems Problem Solving and Decision MakingSystems Problem Solving and Decision Making
Systems Problem Solving and Decision MakingBoonlert Kanathanasarn
 
Problem solving and Decision Making_Aerothai_Handout
Problem solving and Decision Making_Aerothai_HandoutProblem solving and Decision Making_Aerothai_Handout
Problem solving and Decision Making_Aerothai_HandoutBoonlert Kanathanasarn
 
คิดเป็นระบบ สยบทุกปัญหา
คิดเป็นระบบ สยบทุกปัญหาคิดเป็นระบบ สยบทุกปัญหา
คิดเป็นระบบ สยบทุกปัญหาBoonlert Kanathanasarn
 
Creating CSR Strategies to Sustainable Development
Creating CSR Strategies to Sustainable DevelopmentCreating CSR Strategies to Sustainable Development
Creating CSR Strategies to Sustainable DevelopmentBoonlert Kanathanasarn
 
Lean management (หลักการบริหารจัดการแบบลีน)
Lean management (หลักการบริหารจัดการแบบลีน)Lean management (หลักการบริหารจัดการแบบลีน)
Lean management (หลักการบริหารจัดการแบบลีน)Boonlert Kanathanasarn
 
ค้นหาตัวตนที่ซ่อนเร้น เฟ้นหาจุดเด่นที่ซ่อนอยู่
ค้นหาตัวตนที่ซ่อนเร้น เฟ้นหาจุดเด่นที่ซ่อนอยู่ค้นหาตัวตนที่ซ่อนเร้น เฟ้นหาจุดเด่นที่ซ่อนอยู่
ค้นหาตัวตนที่ซ่อนเร้น เฟ้นหาจุดเด่นที่ซ่อนอยู่Boonlert Kanathanasarn
 
ปลุกสัญชาตญาณการเรียนรู้ Give&take#8
ปลุกสัญชาตญาณการเรียนรู้ Give&take#8ปลุกสัญชาตญาณการเรียนรู้ Give&take#8
ปลุกสัญชาตญาณการเรียนรู้ Give&take#8Boonlert Kanathanasarn
 

More from Boonlert Kanathanasarn (9)

Systems Problem Solving and Decision Making
Systems Problem Solving and Decision MakingSystems Problem Solving and Decision Making
Systems Problem Solving and Decision Making
 
Problem solving and Decision Making_Aerothai_Handout
Problem solving and Decision Making_Aerothai_HandoutProblem solving and Decision Making_Aerothai_Handout
Problem solving and Decision Making_Aerothai_Handout
 
คิดเป็นระบบ สยบทุกปัญหา
คิดเป็นระบบ สยบทุกปัญหาคิดเป็นระบบ สยบทุกปัญหา
คิดเป็นระบบ สยบทุกปัญหา
 
CAT CSR 360 Degree_Final_Handout
CAT CSR 360 Degree_Final_HandoutCAT CSR 360 Degree_Final_Handout
CAT CSR 360 Degree_Final_Handout
 
CAT_CSR 360 Degree_Handout
CAT_CSR 360 Degree_HandoutCAT_CSR 360 Degree_Handout
CAT_CSR 360 Degree_Handout
 
Creating CSR Strategies to Sustainable Development
Creating CSR Strategies to Sustainable DevelopmentCreating CSR Strategies to Sustainable Development
Creating CSR Strategies to Sustainable Development
 
Lean management (หลักการบริหารจัดการแบบลีน)
Lean management (หลักการบริหารจัดการแบบลีน)Lean management (หลักการบริหารจัดการแบบลีน)
Lean management (หลักการบริหารจัดการแบบลีน)
 
ค้นหาตัวตนที่ซ่อนเร้น เฟ้นหาจุดเด่นที่ซ่อนอยู่
ค้นหาตัวตนที่ซ่อนเร้น เฟ้นหาจุดเด่นที่ซ่อนอยู่ค้นหาตัวตนที่ซ่อนเร้น เฟ้นหาจุดเด่นที่ซ่อนอยู่
ค้นหาตัวตนที่ซ่อนเร้น เฟ้นหาจุดเด่นที่ซ่อนอยู่
 
ปลุกสัญชาตญาณการเรียนรู้ Give&take#8
ปลุกสัญชาตญาณการเรียนรู้ Give&take#8ปลุกสัญชาตญาณการเรียนรู้ Give&take#8
ปลุกสัญชาตญาณการเรียนรู้ Give&take#8
 

Analyticaland systematicthinking goverment_handout