SlideShare a Scribd company logo
1 of 74
Download to read offline
Systems Problem Solving and Decision Making
A@LERT Learning and Consultant
1
บุญเลิศ คณาธนสาร (เลิศ) - “นายเรียนรู้”
วิทยากร และที่ปรึกษาอิสระ
086-7771833, boonlert.alert@gmail.com
www.nairienroo.com, Line ID : @lert
Facebook : Boonlert Kanathanasarn
2
A@LERT Learning and Consultant
ทำความรู้จักกันก่อน
แลกเปลี่ยนเรียนรู้
3
A@LERT Learning and Consultant
เทคนิคการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
(Systems Problem Solving)
1.Personal Mastery
2.Mental Model
3.Shared Vision
4.Team Learning
5.Systems Thinking
A@LERT Learning and Consultant
4
ความคิด เกิดจาก ?
ความรู้ และประสบการณ์
5
A@LERT Learning and Consultant
Body Systems
6
A@LERT Learning and Consultant
Vehicle Systems
7
A@LERT Learning and Consultant
Exercise 1
ให้แต่ละกลุ่มระดมสมองช่วยกันยกตัวอย่างระบบที่เรามอง
เห็นจากการดำเนินชีวิตประจำวัน มากลุ่มละ 3 ตัวอย่าง
8
A@LERT Learning and Consultant
อย่างไรถึงเรียกว่า “ระบบ” ?
• ส่วนประกอบ (Elements)
• ความเชื่อมโยง (Linkage)
• กลไกการทำงาน (Mechanism)
9
A@LERT Learning and Consultant
ความคิดเชิงระบบ คือ
ความคิดเชิงระบบ คือ ทักษะในการมองภาพ
รวม การมองให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ง
ต่าง ๆ มากกว่าการมองเฉพาะสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
และการมองให้เห็นลักษณะรูปแบบการ
เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมากกว่าการมองเฉพาะ
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเฉพาะจุด
10
A@LERT Learning and Consultant
Linear Thinking vs Systems Thinking
U.S.S.R.
ARMS
THREAT TO
AMERICANS
NEED TO
BUILD
U.S. ARMS
U.S.
ARMS
THREAT TO
SOVIETS
NEED TO
BUILD
U.S.S.R ARMS
Threats to
America
11
A@LERT Learning and Consultant
ความคิดเชิงระบบในชีวิตประจำวัน
S
S
S
S
O
B
S = Same Direction
O = Opposite Direction
B = Balancing Feedback
12
A@LERT Learning and Consultant
พื้นฐานแผนภาพความคิดเชิงระบบ
• Reinforcing Loop
• Balancing Loop
• Delay
13
A@LERT Learning and Consultant
Reinforcing Loop
R
S
S
S
14
A@LERT Learning and Consultant
Balancing Loop
B
S
S
S O
15
A@LERT Learning and Consultant
Delay
B
S
S
S
O
16
A@LERT Learning and Consultant
เงินฝากทบต้น
จะเกิดอะไรขึ้น หากคุณฝากเงินกิน
ดอกเบี้ยโดย ไม่ถอนเงินออกไปเลย
ลองเขียนปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น ว่า
เป็นในรูปแบบ Reinforcing Loop หรือ
Balancing Loop เงินฝากสะสม ดอกเบี้ยเงินฝากR
S
S
17
A@LERT Learning and Consultant
อุณหภูมิในห้องหนาวเกิน
คุณจะทำเช่นไร หากต้องไปพักโรงแรม
กับเพื่อน ๆ พอตกดึกแล้ว คุณรู้สึกว่า
อุณหภูมิในห้องหนาวเกิน จะลุกไปปรับ
แอร์ก็เกรงใจเพื่อนร่วมห้องที่นอนด้วย
ลองเขียนปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น ว่า
เป็นในรูปแบบ Reinforcing Loop หรือ
Balancing Loop
ความแตกต่างอุณหภูมิ
อุณหภูมิร่างกาย
B
S
O
ผ้าที่ปกคลุมร่างกาย
อุณหภูมิที่
ต้องการ
S
S
18
A@LERT Learning and Consultant
สินค้าขาดตลาด
ในปี 2554 ก่อนหน้าจะเกิดเหตุการณ์
น้ำท่วมใหญ่ประมาณ 1 เดือน มีการ
คาดการณ์กันว่าน้ำดื่มจะขาดแคลน
คุณคิดว่าจะเกิดอะไรขึ้นตามมา
ลองเขียนปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น ว่า
เป็นในรูปแบบ Reinforcing Loop หรือ
Balancing Loop
ปริมาณน้ำดื่มในตลาด กาารกักตุนน้ำดื่มR
S
O
การคาดการณ์ว่า
น้ำดื่มจะขาดแคลน
O
19
A@LERT Learning and Consultant
แห่ถอนเงินฝาก
ในปี 2015 ประชาชนชาวกรีซต่างแห่
กันออกมาถอนเงินฝากกับธนาคาร
จนเงินสดเกลี้ยงธนาคาร คุณคิดว่าจะ
เกิดอะไรขึ้นตามมา
ลองเขียนปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น ว่า
เป็นในรูปแบบ Reinforcing Loop หรือ
Balancing Loop
ปริมาณเงินสดสำรอง
ของธนาคาร
ความมั่นใจผู้ฝากเงินR
S
O
สถานะการเงิน
ของธนาคาร
S
ถอนเงินฝาก O
20
A@LERT Learning and Consultant
การควบคุมวัตถุดิบคงคลัง
หากคุณมีหน้าที่รับผิดชอบควบคุม
ปริมาณวัตถุดิบในโกดัง ที่ต้องทำให้
ปริมาณวัตถุดิบอยู่ในระดับที่ต้องการ
ลองเขียนปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น ว่า
เป็นในรูปแบบ Reinforcing Loop หรือ
Balancing Loop
ความแตกต่าง
ปริมาณวัตถุดิบ
ที่มีอยู่
B
S
O
สั่งซื้อวัตถุดิบ
ปริมาณวัตถุดิบ
ที่ต้องการ
S
S
Delay
21
A@LERT Learning and Consultant
Exercise 2
ให้แต่ละกลุ่มระดมสมองช่วยกันยกตัวอย่างรูปแบบความคิดเชิง
ระบบที่เรามองเห็นจากการดำเนินชีวิตประจำวัน มากลุ่มละ 3
ตัวอย่าง ไม่ว่าจะเป็น Reinforcing Loop หรือ Balancing Loop
22
A@LERT Learning and Consultant
การใช้วัสดุเกรด B
แรงกดดัน
ทางการเงิน
ภาพลักษณ์
ของตราสินค้า
ในระดับพรีเมียม
R
การใช้วัสดุเกรด B
O
รายได้สุทธิ
ส่วนต่างกำไร ต้นทุน
S
O
S
O
B
รายได้จาก
ยอดขาย
S
O
S
23
A@LERT Learning and Consultant
ปัญหาส่งของไม่ทัน เมื่อยอดขายเพิ่มขึ้น
Number of
orders
Size of
Backlog
Size of
Sales Force
S
R
Revenues
S
S
O
B
Delivery Time
Sales
Difficulty
Delay
S
S
S
Gap
Standard Time
Improve Delivery
Process Capacity
S
O
S
Delay
Delivery Service
S
O
B
24
A@LERT Learning and Consultant
ปัญหาด้านบริการ เมื่อธุรกิจขยายตัว
ความต้องการ
สินค้าของลูกค้า
คุณภาพในการ
ให้บริการหลังการขาย
การขยายตัว
ไปสู่ตลาดอื่น ๆ
S
R
รายได้จาก
ยอดขาย
S
S
O
B
S
ความแตกต่าง
มาตรฐานบริการ
หลังการขาย
การลงทุนเพื่อพัฒนา
ความสามารถใน
การให้บริการ
Delay
ความสามารถของ
ทีมให้บริการ
S
S
S
O
SB
25
A@LERT Learning and Consultant
กรณีศึกษา : นกแอร์ยกเลิกเที่ยวบิน
26
A@LERT Learning and Consultant
กรณีศึกษา : นกแอร์ยกเลิกเที่ยวบิน
แหล่งข่าวสายการบินนกแอร์ กล่าวถึงสาเหตุที่นกแอร์ประกาศยกเลิก
เที่ยวบินในวันที่ 23 ก.พ. ว่าเกิดจากปัญหา 2 ประเด็นใหญ่ คือ ประเด็น
แรกเกิดจากนักบินที่มีอยู่ไม่เพียงพอกับเที่ยวบินที่จะต้องทำการบิน
ประเด็นถัดมาเกิดจากปัญหานักบินทำการบินเกินชั่วโมงบินตามระเบียบที่
กำหนด
อย่างไรก็ตามในส่วนของนกแอร์ ปัจจุบันมีกัปตันประมาณ 160 คน มี
เครื่องบินที่ทำการบินอยู่ 19-20 ลำ ในจำนวนเครื่องบินดังกล่าว หากจะ
ต้องให้นักบินมีเพียงพอ และทำการบินไม่เกินชั่วโมงบิน จะต้องมีนักบิน
ประมาณ 200 คน เนื่องจากเครื่องบิน 1 ลำ ใช้นักบินประมาณ 10 คน
27
A@LERT Learning and Consultant
กรณีศึกษา : นกแอร์ยกเลิกเที่ยวบิน
แต่ปัญหาของนกแอร์ปีที่ผ่านมา มีนักบินลาออกประมาณ 30-40 คน
ช่วงหลัง ๆ นักบินของนกแอร์ลาออกเรื่อย ๆ ซึ่งถือเป็นปัญหากับนกแอร์
มาตลอด
แหล่งข่าวกล่าวอีกว่า ในส่วนของนักบินที่ทำการบินชั่วโมงเกินข้อกำหนด
ก็เป็นเหตุผลมาจากจำนวนนักบินมีน้อย ทำให้นักบินแต่ละคนต้องบินเกิน
กว่าที่กำหนดจากข้อกำหนดนักบิน 1 คนต้องบิน 80 ชั่วโมงต่อเดือน แต่
ด้วยจำนวนนักบินที่มีน้อยทำให้นักบินส่วนใหญ่ชั่วโมงบินเกิน
ให้จับกลุ่ม 4 คนเขียนปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น
28
A@LERT Learning and Consultant
กรณีศึกษา : นกแอร์ยกเลิกเที่ยวบิน
ความต้องการ
นักบินที่พร้อมบิน
S
จำนวนเที่ยวบิน
ความแตกต่าง
นักบินที่พร้อมบินชั่วโมงบิน
ของนักบิน
นักบินที่มีทั้งหมด
นักบินลาออก
S
S
O
O
S
B
B
29
A@LERT Learning and Consultant
ปัญหาท้าทาย (Challenge Problem)
สิ่งที่เป็นอยู่
(Actual)
สิ่งที่ต้องการ
(Target)
GAP (ช่องว่าง)
กรณีที่ 1 : “สิ่งที่ต้องการ” มากกว่า “ค่ามาตรฐาน”
ค่ามาตรฐาน
(Standard)
A@LERT Learning and Consultant
30
ปัญหา
(Target- Actual)
สิ่งที่เป็นอยู่
(Actual)
แนวทางดำเนินการ
(Initiatives)สิ่งที่คาดหวัง
(Target)
การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
ออกแบบระบบ
(Systems Design)
BS
S
S
O
A@LERT Learning and Consultant
31
ออกแบบระบบ (Systems Design)
Input Process Output
Objective
A@LERT Learning and Consultant
32
ปัญหาพื้น ๆ (Standard Problem)
สิ่งที่เป็นอยู่
(Actual)
สิ่งที่ต้องการ
(Target)
GAP (ช่องว่าง)
กรณีที่ 2 : “สิ่งที่ต้องการ” น้อยกว่าหรือเท่ากับ “ค่ามาตรฐาน”
ค่ามาตรฐาน
(Standard)
A@LERT Learning and Consultant
33
ปัญหา
(Target- Actual)
สิ่งที่เป็นอยู่
(Actual)
มาตรการแก้ไข
(Corrective Action)สิ่งที่คาดหวัง
(Target)
การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
วิเคราะห์ระบบ
(Systems Analysis)
BS
S
S
O
A@LERT Learning and Consultant
34
การระบุปัญหา
เราสามารถระบุปัญหาได้โดยฟังจากเสียงลูกค้า (Voice of Customer)
ทั้งจากลูกค้าภายนอก และลูกค้าภายใน
A@LERT Learning and Consultant
35
การระบุปัญหา
Customers Voice of Customers
A@LERT Learning and Consultant
36
วิเคราะห์ระบบ
การวิเคราะห์ระบบด้วย “PIPE” Model
(People, Input, Process, Environment)
เน้นแก้ปัญหาในปัจจัยที่เราควบคุมได้ - Input, Process
37
A@LERT Learning and Consultant
“PIPE” โมเดลการวิเคราะห์ปัญหา
P - People
I - Input
P - Process
E - Environment
(นโยบาย, เศรษฐกิจ, สังคม)
38
A@LERT Learning and Consultant
เทคนิคการวิเคราะห์ปัญหา
เทคนิคในการวิเคราะห์ปัญหาในการทำงาน ได้แก่
1. IS / IS-Not
2. Why-Why
3. 8 Waste
4. 5W1H
A@LERT Learning and Consultant
39
IS - IS Not (Comparative)
A@LERT Learning and Consultant
PSDM
40
IS - IS Not (Comparative)
▪ เครื่องมือช่วยในการวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา
▪ ใช้หลักการเปรียบเทียบเพื่อหาความต่างระหว่า
จุด/ตำแหน่ง/ส่วน/บริเวณที่พบ/เป็นปัญหา (IS) กับ
จุดที่ไม่พบ/ไม่เป็นปัญหา (IS-Not)
เจ้าของคือ “Kepner+Tregoe” มาจาก 2 ผู้คิดค้นคือ Dr.
Charles Kepner and Dr. Benjamin Tregoe
A@LERT Learning and Consultant
41
ทำไม ?
“IS” “IS NOT”
ยอดขาย
สาขา A
(ต่ำกว่าเป้า)
ยอดขาย
สาขา B
เครื่องจักร A
(ชำรุดบ่อย)
เครื่องจักร B
พนักงาน
แผนก A
(ลาออกบ่อย)
พนักงาน
แผนก B
เมื่อเทียบกับ...
/แต่กลับไม่เกิด
ไม่พบที่...
42
A@LERT Learning and Consultant
วิธีการคิดของ
Why-Why Analysis
ปรากฏ
การณ์
1
2
2-2
2-1
1-1
1-2
1-2-2
1-2-1
1-1-2
1-1-1
ทำไมเกิด 1-1
ทำไมเกิด 1-2
ทำไมเกิด 1
ทำไมเกิด 2
ทำไมเกิด
ปรากฏการณ์
43
A@LERT Learning and Consultant
การวิเคราะห์ด้วยเทคนิค Why-Why คืออะไร
คือ เทคนิคการวิเคราะห์หาปัจจัยที่เป็นต้นเหตุให้เกิดปรากฏการณ์ โดย
1. ถาม “ทำไม” ต่อเนื่องกัน
2. ตอบคำถาม ทำไม แต่ละครั้งด้วย “ข้อเท็จจริง-Fact” (ห้ามใช้สีข้าง)
จุดเด่น
• อย่างเป็นระบบ
• เป็นไปตามขั้นตอน
• ไม่ตกหล่น
• ไม่ใช่เดาหรือนั่งเทียน
A@LERT Learning and Consultant
44
เทคนิคการวิเคราะห์หาสาเหตุด้วย Why-Why
แทนที่จะถามว่า “ทำไม ?” ให้ใช้ 2 คำถามนี้แทน
คำถามที่ 1 อาการนี้เกิดจากสาเหตุอะไรได้บ้าง ? (เพื่อทำการหา
สาเหตุที่เป็นไปได้ออกมาก่อน)
คำถามที่ 2 จากข้อเท็จจริงหน้างาน “สาเหตุ xxx” นี้มีความผิด
ปกติหรือไม่ ? (เพื่อค้นหาสาเหตุที่แท้จริง)
45
A@LERT Learning and Consultant
ความสูญเสียในการทำงาน (Waste)
Defect Overproduction Waiting Not using
staff talent
Transportation Inventory Motion Excessive
processing
46
A@LERT Learning and Consultant
ตั้งคำถามกับสิ่งที่ทำอยู่
What ? When ? Where ? Who ? How ?
Why ? Why ? Why ? Why ? Why ?
+ + +++
ทำอะไร ?
ทำไมต้องทำ ?
ทำตอนไหน ?
ทำไมต้องทำ
ขั้นตอนนี้ใน
ลำดับนี้ ?
ทำที่ไหน ?
ทำไมต้องทำ
ที่ตรงนี้ด้วย ?
ใครทำ ?
ทำไมต้องเป็น
คนนี้ทำ ?
ทำอย่างไร?
ทำไมต้องทำ
แบบนี้ด้วย ?
47
A@LERT Learning and Consultant
liminate - ขจัดขั้นตอนในการทำงานที่ไม่จำเป็นออกไปE
ombine - รวบรวมขั้นตอนเข้าด้วยกัน ทำไปพร้อมกัน
earrange - จัดเรียงลำดับงานใหม่ สลับขั้นตอน
implifly - ปรับปรุงวิธีการทำงานให้ง่ายขึ้น สะดวกขึ้น
C
R
S
48
A@LERT Learning and Consultant
SCAMPER คำถามเพื่อค้นหาไอเดีย
S-Substitute สามารถใช้อะไรมาทดแทนได้บ้าง ?
C-Combine สิ่งใด ขั้นตอนใดที่สามารถรวมกันได้ ?
A-Adapt สิ่งใด ขั้นตอนใดที่สามารถดัดแปลงมาใช้ได้ ?
M-Modify สิ่งใด ขั้นตอนใดที่สามารถถูกปรับเปลี่ยนได้ ?
P-Put to other uses สิ่งใด ขั้นตอนใดสามารถนำไปใช้อย่างอื่น ?
E-Eliminate สิ่งใด ขั้นตอนใดสามารถตัดทิ้งได้ ?
R-Rearrange สิ่งใด ขั้นตอนใดสามารถสลับปรับเปลี่ยนได้ ?
49
A@LERT Learning and Consultant
กระบวนการตัดสินใจโดยใช้ Criteria Rating
50
A@LERT Learning and Consultant
กระบวนการตัดสินใจ 7 ขั้นตอน
1. กำหนดเป้าหมาย / ความต้องการ และข้อจำกัดให้ชัดเจน
2. ค้นหา และ / หรือสร้างทางเลือก (ยิ่งมาก ยิ่งดี)
3. ประเมินเบื้องต้นเทียบกับความต้องการ และเลือกไว้เป็น Shortlist 3-4
ทางเลือก
4. กำหนดหลักเกณฑ์การเลือก และการประเมิน ให้น้ำหนัก และให้คะแนน
5. ประเมินความเสี่ยง และความไม่แน่นอนแต่ละทางเลือก
6. ตัดสินใจเลือกตัวเลือกที่พอใจที่สุด
7. เตรียมวางแผนตั้งรับความเสี่ยง และความไม่แน่นอนของการตัดสินใจ
A@LERT Learning and Consultant
51
1. กำหนดเป้าหมาย / ความต้องการ
ใช้หลักการคิด AGO (Aim, Goal, Objective) เพื่อค้นหาเป้าหมาย /
ความต้องการ
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………..
ข้อจำกัดในการตัดสินใจครั้งนี้ (เช่น งบประมาณ, เวลา) คือ
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………..
A@LERT Learning and Consultant
52
2. ค้นหาทางเลือก (ยิ่งมาก ยิ่งดี)
ใช้แนวคิดหมวก 6 ใบ โดยเลือกใช้หมวกสีเขียว (Green Hat) ตาม
หลักการคิด APC (Alternatives, Possibilities, Choices)
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
A@LERT Learning and Consultant
53
3. ประเมินเบื้องต้นเทียบกับความต้องการ และเลือกไว้
เป็น Shortlist 3-4 ทางเลือก
1. ..........................................................................................
2. ..........................................................................................
3. ..........................................................................................
4. ..........................................................................................
A@LERT Learning and Consultant
54
4. กำหนดเกณฑ์ในการเลือก
ใช้หลักการคิด CAF (Consider All Factors) โดยพิจารณา
ลักษณะสำคัญ ๆ ที่เราคิดว่าตัวเลือกเหล่านั้นควรจะมี หรือควร
จะนำมาเปรียบเทียบกัน
ในกรณีที่แก้ปัญหาแบบเป็นทีม เราก็ควรจะใช้การระดมสมองคิด
หาเกณฑ์ในการเลือก แล้วให้มีการพิจารณายอมรับความเหมาะ
สมของเกณฑ์ต่าง ๆ ร่วมกัน เพื่อที่กระบวนการตัดสินใจจะได้
ดำเนินไปอย่างราบรื่น
A@LERT Learning and Consultant
55
ตัวอย่าง : การเลือกเช่าพื้นที่สำนักงาน
เกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณา
1. สถานที่ตั้ง / ทำเล (เดินทางใกล้ / ไกล)
2. ราคาค่าเช่า (สูง / ต่ำ)
3. ขนาดพื้นที่ (เล็ก / ใหญ่)
4. รูปแบบ (ธรรมดา / ทันสมัย)
A@LERT Learning and Consultant
56
ยืนยันวัตถุประสงค์ของการตัดสินใจ และตรวจสอบเกณฑ์
•เราต้องการอะไรกันแน่ ? กลับไปทวนสอบที่ข้อ 1 เป้าหมาย /
ความต้องการ
•ตรวจสอบเลือกเกณฑ์ที่จำเป็น และจำแนกเป็น
➢ เกณฑ์ที่สามารถระบุเป็นข้อมูลตัวเลขที่เจาะจง หรือ
พิจารณาข้อดี-ข้อเสียได้อย่างชัดเจน (สามารถใช้หลักการ
คิด หมวก 6 ใบ คือ หมวกสีขาว, หมวกสีเหลือง, หมวกสีดำ)
➢ เกณฑ์ที่ต้องใช้อารมณ์ ความรู้สึกตัดสิน (สามารถใช้หลัก
การคิด หมวก 6 ใบ คือ หมวกสีแดง)
A@LERT Learning and Consultant
57
กำหนดเกณฑ์ประเมิน
1. .................................................................น้ำหนัก............%
2. .................................................................น้ำหนัก............%
3. .................................................................น้ำหนัก............%
4. .................................................................น้ำหนัก............%
5. .................................................................น้ำหนัก............%
รวม 100 %
A@LERT Learning and Consultant
58
กำหนดความสำคัญของเกณฑ์ประเมินแต่ละข้อ
ด้วยการให้น้ำหนักเป็นเปอร์เซ็นต์ ซึ่งเมื่อรวมน้ำหนักของเกณฑ์
ทั้งหมดเข้าด้วยกันแล้ว จะต้องมีค่าเท่ากับ 100%
จำไว้ว่า เราจะต้องให้น้ำหนักอย่างเป็นกลาง ฟังเสียงของกลุ่ม
ด้วย ไม่ใช่ว่าตัวเลือกที่เราชอบมีลักษณะตรงตามเกณฑ์ไหนมาก
ก็ให้น้ำหนักเกณฑ์นั้นมาก
A@LERT Learning and Consultant
59
ตัวอย่าง :
การให้น้ำหนักของเกณฑ์ในการเลือกเช่าพื้นที่สำนักงาน
A@LERT Learning and Consultant
เกณฑ์ คำอธิบาย น้ำหนัก
สถานที่ตั้ง สะดวกในการเดินทางเพื่อติดต่อลูกค้า 50%
ราคา แพงแค่ไหน 20%
ขนาด ใหญ่แค่ไหน 20%
รูปแบบ แปลนของพื้นที่ใช้สอยดีแค่ไหน 10%
น้ำหนักรวม 100%
60
ให้คะแนนตัวเลือก และคำนวณผลคะแนนจริงตามขั้นตอนต่อไปนี้
1. กำหนดระดับการให้คะแนน เพื่อเปรียบเทียบตัวเลือกทั้งหมด
กับเกณฑ์แต่ละเกณฑ์ ยกตัวอย่างเช่น กำหนดระดับให้ 1-10
โดย 10 คือ ค่าสูงสุด และ 1 คือ ค่าต่ำสุด
2. ให้การให้คะแนนตามเกณฑ์ใดเกณฑ์หนึ่งนั้น เราจะต้องให้
คะแนนแก่ทุกตัวเลือกในคราวเดียวกัน เพื่อไม่ให้สับสนในการ
เปรียบเทียบ เช่น ถ้าให้คะแนนสถานที่ตั้ง เราก็ต้องเปรียบ
เทียบอาคารทั้ง 3 แห่ง แล้วให้คะแนนแต่ละแห่ง ก่อนจะให้
คะแนนในเรื่องเกณฑ์ราคาต่อไป
A@LERT Learning and Consultant
61
ให้คะแนนตัวเลือก และคำนวณผลคะแนนจริงตามขั้นตอนต่อไปนี้
3. หลังจากให้คะแนนแล้ว คูณคะแนนในแต่ละช่องด้วยน้ำหนัก ได้ผลเป็น
คะแนนจริง ยกตัวอย่าง อาคาร A ได้คะแนนสถานที่ตั้งเท่ากับ 7 จะได้คะแนน
จริงเท่ากับ 7x50% = 3.5
4. เขียนคะแนนจริง ในช่อง Weighted Score
5. รวมคะแนนจริงของแต่ละตัวเลือก
6. เขียนสรุปความคิดเห็นเกี่ยวกับตัวเลือกแต่ละตัว
A@LERT Learning and Consultant
62
แสดงคะแนนของพื้นที่สำนักงานแต่ละแห่ง
A@LERT Learning and Consultant
เกณฑ์ น้ำหนัก อาคาร A อาคาร B อาคาร C
Score Weighted
Score
Score Weighted
Score
Score Weighted
Score
สถานที่ตั้ง 50% 7 3.5 7 3.5 4 2.0
ราคา 20% 7 1.4 8 1.6 10 2.0
ขนาด 20% 6 1.2 7 1.4 8 1.6
รูปแบบ 10% 7 0.7 8 0.8 6 0.6
รวม 100% 6.8 7.3 6.2
63
5. ประเมินความเสี่ยง
โดยใช้หลักการคิด C&S (Consequence and Sequel)
เพื่อพิจารณาถึงผลที่จะเกิดขึ้น และสิ่งที่จะตามมา
•โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง (H-M-L)
High (มาก) – Medium (ปานกลาง) – Low (น้อย)
•ความรุนแรงของผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น (H-M-L)
High (มาก) – Medium (ปานกลาง) – Low (น้อย)
A@LERT Learning and Consultant
64
6. ตัวเลือกที่พอใจมากที่สุด
โดยดูจากคะแนนรวม คือ ตัวเลือกใดมีคะแนนสูงสุด ก็ถือว่าดี
ที่สุด แต่ถ้าสมาชิกในทีมไม่เห็นด้วย เราก็สามารถทบทวนการให้
น้ำหนักของเกณฑ์ต่าง ๆ และการให้คะแนนตัวเลือกใหม่อีกครั้ง
***อย่าลืมประเมินความเสี่ยง และเตรียมแผนตั้งรับความเสี่ยง
ที่อาจจะเกิดขึ้นจากทางเลือกที่เราเลือก
A@LERT Learning and Consultant
65
7. เตรียมวางแผนตั้งรับ (Contingency Plan)
ความเสี่ยง และปัญหาที่อาจเกิดขึ้น
สำหรับการวางแผนฉุกเฉินนั้น เราต้องอาศัยการคาดคะเนถึง
สิ่งต่าง ๆ ในอนาคตว่า...
•จะมีอุปสรรคใดบ้าง ? ที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต
•ถ้าเกิดอุปสรรคนั้น เราจะจัดการกับมันได้อย่างไร ? จึงจะได้
ประโยชน์สูงสุด หรือเสียหายน้อยที่สุด
•เราสามารถทำอะไรเพื่อป้องกันไม่ให้ปัญหาหรืออุปสรรคต่าง ๆ
เกิดขึ้นได้หรือไม่ ?
A@LERT Learning and Consultant
66
การประยุกต์ใช้ Solver
ในการตัดสินใจเพื่อหาคำตอบที่เหมาะสมที่สุด
A@LERT Learning and Consultant
67
Solver Add-Ins กับ Linear Programming
Solver เป็น โปรแกรมที่ได้เพิ่มคำสั่งและคุณสมบัติให้กับ
Microsoft Excel ใช้ในการแก้ไขปัญหาที่เรียกว่า “Linear
Programming” เป็นเทคนิคที่ใช้ในการแก้ปัญหาการวิจัยและการ
ดำเนินงาน โดยการนำปัญหามากำหนดเป็นสมการทาง
คณิตศาสตร์ และแก้สมการออกมาเพื่อหาคำตอบที่ดีที่สุดหรือ
คำตอบที่เหมาะสมที่สุด (Optimal Solution)
A@LERT Learning and Consultant
68
โครงสร้างของปัญหา Linear Programming
1. วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของการแก้ปัญหา (Objective
Function) ต้องการให้ค่าเป้าหมายมีค่า มากที่สุด หรือ น้อยที่สุด
2. ตัวแปรที่ตัดสินใจ (Decision Variable) ตัวแปรที่เป็นทางเลือกของ
ปัญหาที่ต้องการการตัดสินใจ เช่น ปริมาณสินค้าที่ต้องผลิต
3. ตัวแปรหรือทรัพยากรต้องมีข้อจำกัด (Constraint)
4. ความสัมพันธ์ของตัวแปรและวัตถุประสงค์ต้องเป็นในลักษณะเชิง
เส้นตรงเท่านั้น
5. ตัวแปรทุกตัวต้องมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับศูนย์ (ติดลบไม่ได้)
A@LERT Learning and Consultant
69
Example 1
บริษัทเฟอร์นิเจอร์แห่งหนึ่ง ผลิตโต๊ะและเก้าอี้
ซึ่งมีขั้นตอนในการผลิต 2 ขั้นตอน
คือ ขั้นตอนการประกอบ และ ขั้นตอนการพ่นสี
โต๊ะ 1 ตัวใช้เวลาในการประกอบ 3 ชั่วโมง และ 2 ชั่วโมงในการพ่นสี
เก้าอี้ 1 ตัวใช้เวลาในการประกอบ 4 ชั่วโมงและ 1 ชั่วโมงในการพ่นสี
แผนกประกอบ มีเวลาการทำงาน 2400 ชั่วโมง/เดือน
และแผนกพ่นสี มีเวลาการทำงาน 1000 ชั่วโมง/เดือน
A@LERT Learning and Consultant
70
Example 1
ฝ่ายการตลาดของบริษัท มีความต้องการเก้าอี้ในเดือนนี้ไม่เกิน 450 ตัว
เนื่องจากมีสินค้าบางส่วนในคลังสินค้าแล้ว ส่วนโต๊ะนั้น ในคลังสินค้ามี
น้อย จึงทำให้ต้องมีการผลิตเพิ่มขึ้นมาเพื่อเป็น Stock ไว้ โดยการเดิน
สายการผลิตนั้นต้องผลิตไม่น้อยกว่า 100 ตัวขึ้นไป และกำไรต่อหน่วย
ของโต๊ะและเก้าอี้คือ 7 และ 4 บาทตามลำดับ
บริษัทต้องการหาทางที่ดีที่สุดว่าต้องผลิตโต๊ะและเก้าอี้ เป็นจำนวนเท่าไร
เพื่อทำให้เกิดกำไรที่สูงที่สุด
A@LERT Learning and Consultant
71
Example 2
โรงงานผลิตแชมพูสระผมแห่งหนึ่งทำการผลิตแชมพู 3 แบบ คือ
ธรรมดา, เข้มข้น และผสมครีมนวดผม โดยใช้วัตถุดิบที่เป็นสารเคมีที่
สำคัญ 3 ชนิดคือ A , B และ C ในสัดส่วนดังตาราง โดยแชมพูเข้มข้นมี
ความต้องการไม่เกิน 100 ลิตร เพื่อให้ได้กำไรสูงสุดควรผลิตอย่างไร ?
A@LERT Learning and Consultant
72
Example 3
โรงงานผลิตเครื่องสำอางแห่งหนึ่ง ทำการผลิตสินค้าอยู่ 2 ชนิด คือ
Cologne กับ Perfume โดยใช้วัตถุดิบในการผลิตอยู่ 3 อย่างด้วยกัน คือ
Fragrance, Intensifier, Stabilizer
การผลิต Cologne ต้องใช้ Fragrance 2 Unit, Intensifier 6 Unit
การผลิต Perfume ต้องใช้ Fragrance 4 Unit, Intensifier 2 Unit, ใช้
Stabilizer 1 Unit
Cologne มีกำไรต่อหน่วย เท่ากับ 3 ดอลลาร์
Perfume มีกำไรต่อหน่วย เท่ากับ 8 ดอลลาร์
A@LERT Learning and Consultant
73
Example 3
มีวัตถุดิบสำหรับผลิตตามนี้
Fragrance 1600 Unit, Intensifier 1800 Unit, Stabilizer 350 Unit
ถามว่าโรงงานนี้ควรผลิตสินค้า Cologne กับ Perfume จำนวนเท่าไหร่
เพื่อให้ได้กำไรรวมสูงสุด โดยที่ผลิตได้เท่าไหร่ สามารถขายได้ทั้งหมด
A@LERT Learning and Consultant
74

More Related Content

What's hot

การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยNU
 
การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)
การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)
การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)DrDanai Thienphut
 
Chapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in productChapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in productTeetut Tresirichod
 
แผนธุรกิจ (คู่มือการจัดทำแผนธุรกิจ Sme)
แผนธุรกิจ (คู่มือการจัดทำแผนธุรกิจ Sme)แผนธุรกิจ (คู่มือการจัดทำแผนธุรกิจ Sme)
แผนธุรกิจ (คู่มือการจัดทำแผนธุรกิจ Sme)Komsun Dasri
 
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จการพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จmarkable33
 
Chapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizationsChapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizationsTeetut Tresirichod
 
การควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพการควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพPrakob Chantarakamnerd
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยkhanidthakpt
 
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)Chamada Rinzine
 
Chapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challengeChapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challengeTeetut Tresirichod
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การบริหารจัดการข้อร้องเรียน
การบริหารจัดการข้อร้องเรียนการบริหารจัดการข้อร้องเรียน
การบริหารจัดการข้อร้องเรียนSuradet Sriangkoon
 
Structured problem solving - training package
Structured problem solving - training packageStructured problem solving - training package
Structured problem solving - training packageCraig Zedwick
 
Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การ
Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การChapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การ
Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การwanna2728
 
ผังงาน Flowchart
ผังงาน Flowchartผังงาน Flowchart
ผังงาน FlowchartRatchakorn Ice
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดDr.Krisada [Hua] RMUTT
 

What's hot (20)

การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 
การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)
การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)
การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)
 
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอการเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
 
Chapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in productChapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in product
 
แผนธุรกิจ (คู่มือการจัดทำแผนธุรกิจ Sme)
แผนธุรกิจ (คู่มือการจัดทำแผนธุรกิจ Sme)แผนธุรกิจ (คู่มือการจัดทำแผนธุรกิจ Sme)
แผนธุรกิจ (คู่มือการจัดทำแผนธุรกิจ Sme)
 
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จการพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
 
Chapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizationsChapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizations
 
การควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพการควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพ
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
 
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
 
Chapter 7 prototype
Chapter 7 prototypeChapter 7 prototype
Chapter 7 prototype
 
Chapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challengeChapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challenge
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
 
การบริหารจัดการข้อร้องเรียน
การบริหารจัดการข้อร้องเรียนการบริหารจัดการข้อร้องเรียน
การบริหารจัดการข้อร้องเรียน
 
S2 Lean canvas
S2 Lean canvasS2 Lean canvas
S2 Lean canvas
 
Structured problem solving - training package
Structured problem solving - training packageStructured problem solving - training package
Structured problem solving - training package
 
Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การ
Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การChapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การ
Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การ
 
ผังงาน Flowchart
ผังงาน Flowchartผังงาน Flowchart
ผังงาน Flowchart
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียด
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษาปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
 

Similar to Systems Problem Solving and Decision Making - การแก้ปัญหา และตัดสินใจอย่างเป็นระบบ

Analyticaland systematicthinking goverment_handout
Analyticaland systematicthinking goverment_handoutAnalyticaland systematicthinking goverment_handout
Analyticaland systematicthinking goverment_handoutBoonlert Kanathanasarn
 
อไจล์ไม่ใช่เพียงไอทีแต่เป็นเรื่องความอยู่รอดทางธุรกิจ
อไจล์ไม่ใช่เพียงไอทีแต่เป็นเรื่องความอยู่รอดทางธุรกิจอไจล์ไม่ใช่เพียงไอทีแต่เป็นเรื่องความอยู่รอดทางธุรกิจ
อไจล์ไม่ใช่เพียงไอทีแต่เป็นเรื่องความอยู่รอดทางธุรกิจLean In Consulting
 
How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้
How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้
How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้Perus Saranurak
 
Presentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัด
Presentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัดPresentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัด
Presentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัดNopporn Thepsithar
 
How to write application report (part 1 of 4)
How to write application report (part 1 of 4)How to write application report (part 1 of 4)
How to write application report (part 1 of 4)maruay songtanin
 
Baldrige awareness series 4 valuing workforce members and partners
Baldrige awareness series 4   valuing workforce members and partnersBaldrige awareness series 4   valuing workforce members and partners
Baldrige awareness series 4 valuing workforce members and partnersmaruay songtanin
 
อบรม Kaizen บริษัท สยามราชธานี จำักัด
อบรม Kaizen บริษัท สยามราชธานี จำักัดอบรม Kaizen บริษัท สยามราชธานี จำักัด
อบรม Kaizen บริษัท สยามราชธานี จำักัดkittisak_d
 
ชุมชนนักปฏิบัติครั้งที่ 1
ชุมชนนักปฏิบัติครั้งที่ 1ชุมชนนักปฏิบัติครั้งที่ 1
ชุมชนนักปฏิบัติครั้งที่ 1pthaiwong
 
Communication และ km jan55
 Communication และ km jan55 Communication และ km jan55
Communication และ km jan55Nithimar Or
 
วงจรการพัฒนาโปรแกรม
วงจรการพัฒนาโปรแกรมวงจรการพัฒนาโปรแกรม
วงจรการพัฒนาโปรแกรมdraught
 

Similar to Systems Problem Solving and Decision Making - การแก้ปัญหา และตัดสินใจอย่างเป็นระบบ (20)

Analyticaland systematicthinking goverment_handout
Analyticaland systematicthinking goverment_handoutAnalyticaland systematicthinking goverment_handout
Analyticaland systematicthinking goverment_handout
 
อไจล์ไม่ใช่เพียงไอทีแต่เป็นเรื่องความอยู่รอดทางธุรกิจ
อไจล์ไม่ใช่เพียงไอทีแต่เป็นเรื่องความอยู่รอดทางธุรกิจอไจล์ไม่ใช่เพียงไอทีแต่เป็นเรื่องความอยู่รอดทางธุรกิจ
อไจล์ไม่ใช่เพียงไอทีแต่เป็นเรื่องความอยู่รอดทางธุรกิจ
 
Chapter 02
Chapter 02Chapter 02
Chapter 02
 
Pmk internal assessor 6
Pmk internal assessor 6Pmk internal assessor 6
Pmk internal assessor 6
 
Comment guidelines 2015
Comment guidelines 2015Comment guidelines 2015
Comment guidelines 2015
 
How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้
How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้
How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้
 
SA Chapter 5
SA Chapter 5SA Chapter 5
SA Chapter 5
 
Presentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัด
Presentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัดPresentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัด
Presentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัด
 
How to write application report (part 1 of 4)
How to write application report (part 1 of 4)How to write application report (part 1 of 4)
How to write application report (part 1 of 4)
 
Baldrige awareness series 4 valuing workforce members and partners
Baldrige awareness series 4   valuing workforce members and partnersBaldrige awareness series 4   valuing workforce members and partners
Baldrige awareness series 4 valuing workforce members and partners
 
Kpi 18 1_55
Kpi 18 1_55Kpi 18 1_55
Kpi 18 1_55
 
อบรม Kaizen บริษัท สยามราชธานี จำักัด
อบรม Kaizen บริษัท สยามราชธานี จำักัดอบรม Kaizen บริษัท สยามราชธานี จำักัด
อบรม Kaizen บริษัท สยามราชธานี จำักัด
 
Sdlc
SdlcSdlc
Sdlc
 
ชุมชนนักปฏิบัติครั้งที่ 1
ชุมชนนักปฏิบัติครั้งที่ 1ชุมชนนักปฏิบัติครั้งที่ 1
ชุมชนนักปฏิบัติครั้งที่ 1
 
Communication และ km jan55
 Communication และ km jan55 Communication และ km jan55
Communication และ km jan55
 
Chapter 6 ideate
Chapter 6 ideateChapter 6 ideate
Chapter 6 ideate
 
THPHP => Agile testing
THPHP => Agile testing THPHP => Agile testing
THPHP => Agile testing
 
Award scoring
Award scoringAward scoring
Award scoring
 
Strategy implementation
Strategy implementationStrategy implementation
Strategy implementation
 
วงจรการพัฒนาโปรแกรม
วงจรการพัฒนาโปรแกรมวงจรการพัฒนาโปรแกรม
วงจรการพัฒนาโปรแกรม
 

More from Boonlert Kanathanasarn

Systems Problem Solving and Decision Making
Systems Problem Solving and Decision MakingSystems Problem Solving and Decision Making
Systems Problem Solving and Decision MakingBoonlert Kanathanasarn
 
Problem solving and Decision Making_Aerothai_Handout
Problem solving and Decision Making_Aerothai_HandoutProblem solving and Decision Making_Aerothai_Handout
Problem solving and Decision Making_Aerothai_HandoutBoonlert Kanathanasarn
 
คิดเป็นระบบ สยบทุกปัญหา
คิดเป็นระบบ สยบทุกปัญหาคิดเป็นระบบ สยบทุกปัญหา
คิดเป็นระบบ สยบทุกปัญหาBoonlert Kanathanasarn
 
Creating CSR Strategies to Sustainable Development
Creating CSR Strategies to Sustainable DevelopmentCreating CSR Strategies to Sustainable Development
Creating CSR Strategies to Sustainable DevelopmentBoonlert Kanathanasarn
 
Lean management (หลักการบริหารจัดการแบบลีน)
Lean management (หลักการบริหารจัดการแบบลีน)Lean management (หลักการบริหารจัดการแบบลีน)
Lean management (หลักการบริหารจัดการแบบลีน)Boonlert Kanathanasarn
 
ค้นหาตัวตนที่ซ่อนเร้น เฟ้นหาจุดเด่นที่ซ่อนอยู่
ค้นหาตัวตนที่ซ่อนเร้น เฟ้นหาจุดเด่นที่ซ่อนอยู่ค้นหาตัวตนที่ซ่อนเร้น เฟ้นหาจุดเด่นที่ซ่อนอยู่
ค้นหาตัวตนที่ซ่อนเร้น เฟ้นหาจุดเด่นที่ซ่อนอยู่Boonlert Kanathanasarn
 
ปลุกสัญชาตญาณการเรียนรู้ Give&take#8
ปลุกสัญชาตญาณการเรียนรู้ Give&take#8ปลุกสัญชาตญาณการเรียนรู้ Give&take#8
ปลุกสัญชาตญาณการเรียนรู้ Give&take#8Boonlert Kanathanasarn
 

More from Boonlert Kanathanasarn (9)

Systems Problem Solving and Decision Making
Systems Problem Solving and Decision MakingSystems Problem Solving and Decision Making
Systems Problem Solving and Decision Making
 
Problem solving and Decision Making_Aerothai_Handout
Problem solving and Decision Making_Aerothai_HandoutProblem solving and Decision Making_Aerothai_Handout
Problem solving and Decision Making_Aerothai_Handout
 
คิดเป็นระบบ สยบทุกปัญหา
คิดเป็นระบบ สยบทุกปัญหาคิดเป็นระบบ สยบทุกปัญหา
คิดเป็นระบบ สยบทุกปัญหา
 
CAT CSR 360 Degree_Final_Handout
CAT CSR 360 Degree_Final_HandoutCAT CSR 360 Degree_Final_Handout
CAT CSR 360 Degree_Final_Handout
 
CAT_CSR 360 Degree_Handout
CAT_CSR 360 Degree_HandoutCAT_CSR 360 Degree_Handout
CAT_CSR 360 Degree_Handout
 
Creating CSR Strategies to Sustainable Development
Creating CSR Strategies to Sustainable DevelopmentCreating CSR Strategies to Sustainable Development
Creating CSR Strategies to Sustainable Development
 
Lean management (หลักการบริหารจัดการแบบลีน)
Lean management (หลักการบริหารจัดการแบบลีน)Lean management (หลักการบริหารจัดการแบบลีน)
Lean management (หลักการบริหารจัดการแบบลีน)
 
ค้นหาตัวตนที่ซ่อนเร้น เฟ้นหาจุดเด่นที่ซ่อนอยู่
ค้นหาตัวตนที่ซ่อนเร้น เฟ้นหาจุดเด่นที่ซ่อนอยู่ค้นหาตัวตนที่ซ่อนเร้น เฟ้นหาจุดเด่นที่ซ่อนอยู่
ค้นหาตัวตนที่ซ่อนเร้น เฟ้นหาจุดเด่นที่ซ่อนอยู่
 
ปลุกสัญชาตญาณการเรียนรู้ Give&take#8
ปลุกสัญชาตญาณการเรียนรู้ Give&take#8ปลุกสัญชาตญาณการเรียนรู้ Give&take#8
ปลุกสัญชาตญาณการเรียนรู้ Give&take#8
 

Systems Problem Solving and Decision Making - การแก้ปัญหา และตัดสินใจอย่างเป็นระบบ