SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
บทที่ 2 การพยากรณ์ Forecasting
การพยากรณ์ คือ อะไร 
เป็นกระบวนการคาดการณ์เหตุการณ์ใน อนาคต 
เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจทางธุรกิจในเรื่อง 
การผลิต Production 
สินค้าคงคลัง Inventory 
ทรัพยากรมนุษย์ Personnel 
??
การพยากรณ์ระยะสั้น Short-Term Forecasting 
โดยทั่วไปไม่เกิน 3 เดือน 
เช่น การวางแผนการจัดซื้อ, การจัดตารางการทางาน 
การพยากรณ์ระยะกลาง Medium-Term Forecasting 
3 เดือน ถึง 3 ปี 
เช่น การวางแผนการขาย การผลิต, การจัดทางบประมาณ 
การพยากรณ์ระยะยาว Long-Term Forecasting 
3 ปีขึ้นไป 
เช่น การออกผลิตภัณฑ์ใหม่ การวิจัยพัฒนา การขยายทาเลที่ตั้ง 
ระยะเวลาของการพยากรณ์
ขั้นตอนการพยากรณ์ 
การตัดสินใจใช้การพยากรณ์ 
เลือกรายการการพยากรณ์ 
ตัดสินใจเวลาที่ใช้ในการพยากรณ์ 
เลือกรูปแบบการพยากรณ์ 
รวบรวมข้อมูลที่จาเป็นต่อการทาการพยากรณ์ 
ทาการพยากรณ์ 
สร้างความเที่ยงตรงและปฏิบัติการวิเคราะห์ผลลัพธ์
ประเภทของการพยากรณ์ 
1. การพยากรณ์เชิงคุณภาพ 
•การพยากรณ์จากรายงานของพนักงานขาย 
•การพยากรณ์จากความเห็นของฝ่ายบริหาร 
• การสารวจตลาด 
• วิธีเดลฟาย
ประเภทของการพยากรณ์ 
โมเดลอนุกรมเวลา Time-series models 
โมเดลเหตุผล Associative models, Causal models 
2. การพยากรณ์เชิงปริมาณ
รูปแบบการพยากรณ์แบบอนุกรมเวลา 
 รูปแบบการพยากรณ์ระดับ 
 รูปแบบแนวโน้ม 
 รูปแบบวัฏจักร 
 รูปแบบฤดูกาล
© 2006 Prentice Hall, Inc. 
4 – 8 
เป็นการนาข้อมูลในอดีตมาใช้ในการ พยากรณ์ ลักษณะของข้อมูลขึ้นลงไม่ สม่าเสมอ ทาให้ไม่สามารถคาดการณ์ได้ ขึ้นอยู่กับปัจจัยในช่วงเวลานั้นๆ 
รูปแบบการพยากรณ์ระดับ
เป็นอนุกรมเวลาที่พิจารณาถึงการเคลื่อนไหว คงที่ขึ้นหรือลงในเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ช่วงเวลาที่ต้องการขยายธุรกิจหรือขอบเขต ผลิตภัณฑ์ 
รูปแบบแนวโน้ม (Trend) 
2 
3 
4 
5 
0 
1 
2 
3 
4 
5 
6 
2006 
2007 
2008 
2009
แสดงถึงการผกผันซึ่งเกิดขึ้นในช่วงเวลาที่มากกว่า 1 ปีถ้าช่วงเวลาหรือระบบของวัฎจักรยาวขึ้นอาจจะมี ผลกระทบกับองค์การ เกิดจากผลกระทบจากปัจจัย ด้านการเมือง เศรษฐกิจ วงจรธุรกิจ 
รูปแบบวัฎจักร (Cycles) 
0 5 10 15 20
สะท้อนความผันแปรของข้อมูล ซึ่งกลับมา เกิดขึ้นเป็นช่วงเวลาหรือฤดูกาลในแต่ละปี รูปแบบนี้อาจเป็นช่วงฤดูกาลที่เป็นเดือน ไตรมาสหรือปี และอาจเป็นฤดูกาลที่เป็น สัปดาห์หรือรายวัน หรือแม้กระทั่วรายชั่วโมง ก็เป็นได้ สาเหตุการเปลี่ยนแปลงเกิดจาก พฤติกรรมของลูกค้า หรืออากาศ 
รูปแบบฤดูกาล (Seasonal)
เกิดในกรณีที่มีความแปรปรวนของวิกฤติการณ์การเมือง การนัดหยุดงาน การประท้วงหรือเหตุการณ์ไม่อาจ คาดการณ์ได้อื่น ๆ ซึ่งไม่อาจใช้การพยากรณ์อนุกรมเวลา แบบใดได้เหมาะสมเพียงพอผู้บริหารจะใช้แบบสุ่มตัวอย่าง โดยทั่วไปแล้วใช้กับเหตุการณ์ที่ไม่ได้กลับมาเกิดขึ้นใหม่อีก ครั้งหรือเป็นเหตุการณ์เกิดขึ้นชั่วครั้งชั่วคราว 
รูปแบบสุ่ม (Random) 
M T W T F
วิธีการพยากรณ์เชิงปริมาณ โมเดลอนุกรมเวลา 
1.1 วิธีการหาค่าแบบตรง Naive approach 
1.2 วิธีการหาค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ Moving Averages 
1.3 วิธีการหาค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ถ่วงน้าหนัก Weighted moving Averages 
1.4 วิธีปรับเรียบเอ็กซ์โพเนลเชียล Exponential smoothing 
1.5 การวิเคราะห์ถดถอยเชิงเส้นตรง Linear Regression Analysis
1.1 วิธีการหาค่าแบบตรง (Naive Approach) 
ความต้องการของผลิตภัณฑ์ในอนาคตจะเท่ากับ ความต้องการปัจจุบัน เช่น ถ้าเดือน พ.ค.ขายได้ 48 เครื่อง ยอดขายเดือน มิ.ย.ก็สามารถพยากรณ์ได้ว่าจะเท่ากับ 48 เครื่อง
January 10 
February 12 
March 13 
April 16 
May 19 
June 23 
July 26 
Actual 3-Month Month Shed Sales Moving Average 
(12 + 13 + 16)/3 = 13 2/3 (13 + 16 + 19)/3 = 16 (16 + 19 + 23)/3 = 19 1/3 
(10 + 12 + 13)/3 = 11 2/3 
ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ = 
Σ ความต้องการในช่วงเวลาก่อนหน้าช่วงเวลา n n 
1.2 วิธีการหาค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่อย่างง่าย Simple Moving Average Method
ตัวอย่าง 
จากข้อมูลในตารางต่อไปนี้ จงพยากรณ์ยอดขายในเดือนมกราคมปีถัดไป 
วิธีทา ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ 3 เดือน 
F13 = Y12 + Y11 + Y10 
3 
= 14 + 16 + 18 
3 
= 16
ใช้ข้อมูลปัจจุบันมาถ่วงน้าหนัก เพื่อให้การพยากรณ์มี ความถูกต้องมากขึ้น 
1.3 วิธีการหาค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ถ่วงน้าหนัก Weighted Moving Average 
ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ถ่วงน้าหนัก 
= 
Σ [(ค่าถ่วงนน. สาหรับช่วงเวลา n) x (ค่าความต้องการของช่วงเวลา n)] Σ ค่าถ่วงน้าหนักทั้งหมด
January 10 February 12 March 13 April 16 May 19 June 23 July 26 
Actual 3-Month Weighted Month Shed Sales Moving Average 
(.5 x 16) + (.3 x 13) + (.2 x 12) = 14.30 (.5 x 19) + (.3 x 16) + (.2 x 13) = 16.90 (.5 x 23) + (.3 x 19) + (.2 x 16) = 20.40 
Weighted Moving Average 
10 
12 
13 
(.5 x 13) + (.3 x 12) + (.2 x 10)= 12.10 
Weights Applied Period .50 1 เดือนก่อนหน้า .30 2 เดือนก่อนหน้า .20 3 เดือนก่อนหน้า
© 2006 Prentice Hall, Inc. 
4 – 19 
1.4 วิธีปรับเรียบเอ็กซ์โพเนลเชียล Exponential smoothing 
การพยากรณ์โดยใช้การเฉลี่ยเคลื่อนที่วิธีหนึ่ง ซึ่งให้น้าหนัก ข้อมูลที่ผ่านมาแล้วนั้นต่าง ๆ กัน ข้อมูลที่ผ่านมาแล้วนั้นจะ ให้น้าหนักน้อยแล้วเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนกระทั่ง ข้อมูลปัจจุบัน จะให้น้าหนักมากที่สุด วิธีนี้ค่าพยากรณ์จะถูกกาหนดโดยค่า พยากรณ์ของงวดที่แล้ว บวกกับส่วนแตกต่างระหว่างข้อมูล จริงของงวดที่แล้วกับค่าพยากรณ์ของงวดที่แล้ว
© 2006 Prentice Hall, Inc. 
4 – 20 
วิธีปรับเรียบเอ็กซ์โพเนลเชียล Exponential smoothing 
สูตรในการคานวณ 
Ft = Ft-1 +  (Xt-1 – Ft) 
เมื่อ Ft ค่าพยากรณ์ความต้องการใหม่ 
Ft-1 ค่าพยากรณ์ ช่วงที่ผ่านมา 
 คือน้าหนักหรือค่าคงที่ปรับเรียบ 
Xt-1 ความต้องการที่แท้จริงที่ผ่านมา
© 2006 Prentice Hall, Inc. 
4 – 21 
วิธีปรับเรียบเอ็กซ์โพเนลเชียล Exponential smoothing
1.5 การวิเคราะห์ถดถอยเชิงเส้นตรง Linear Regression Analysis 
ค่าข้อมูลต่าง ๆ บนเส้นกราฟจะแสดงความสัมพันธ์เป็น เส้นตรง โดยมีค่าเบี่ยงเบนของข้อมูลที่อยู่ห่างจากเส้นกราฟ ไม่มากโดยสามารถหาค่าได้จาก 
y = a + bx 
y = ค่าพยากรณ์ตัวแปรตาม a = ค่าคงที่ที่ตัดแกน y b = ค่าความชันของเส้นตรงแนวโน้ม x = ค่าตัวแปรอิสระ
b = 
nSxy - SxSy nSx2 – (Sx)2 
y = a + bx 
a = y - bx 
y = Sy 
n 
x = Sx 
n 
1.5 การวิเคราะห์ถดถอยเชิงเส้นตรง Linear Regression Analysis 
สูตรในการคานวณ
© 2006 Prentice Hall, Inc. 
4 – 24 
1.5 การวิเคราะห์ถดถอยเชิงเส้นตรง Linear Regression Analysis
© 2006 Prentice Hall, Inc. 
4 – 25 
1.5 การวิเคราะห์ถดถอยเชิงเส้นตรง Linear Regression Analysis 
a = y – bx แทนค่า a = 12.5 – 1.254 x 4.25 a = 12.5 – 5.33 a = 7.17
© 2006 Prentice Hall, Inc. 
4 – 26 
1.5 การวิเคราะห์ถดถอยเชิงเส้นตรง Linear Regression Analysis 
ถ้าในปีถัดไปจานวนหน่วยผลิตเพิ่มขึ้นเป็น 10 ล้านชิ้น บริษัทแห่งนี้จะมีต้นทุนการผลิตเป็นกี่ล้านบาท 
y = a + bx 
y = 7.17 + 1.254 x 10 
y = 7.17 + 12.54 
y = 19.71 
ดังนั้น ถ้าในปีถัดไปจานวนหน่วยผลิตเพิ่มขึ้นเป็น 10 ล้าน ชิ้น บริษัทแห่งนี้จะมีต้นทุนการผลิตเป็น 19.71ล้านบาท

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิตบทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิตTeetut Tresirichod
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคOrnkapat Bualom
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพOrnkapat Bualom
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจCherie Pink
 
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตบทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตRungnapa Rungnapa
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptx
บทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptxบทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptx
บทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptxpiyapongauekarn
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพTeetut Tresirichod
 
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตบทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ตารางการแจกแจง t
ตารางการแจกแจง tตารางการแจกแจง t
ตารางการแจกแจง tJaturapad Pratoom
 
สถิติสำหรับธุรกิจ
สถิติสำหรับธุรกิจสถิติสำหรับธุรกิจ
สถิติสำหรับธุรกิจTeetut Tresirichod
 
4. to use sequence and series
4. to use sequence and series4. to use sequence and series
4. to use sequence and seriesssuser237b52
 
Presentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียวPresentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียวpurithem
 
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance IndexNopporn Thepsithar
 

What's hot (20)

ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิตบทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
 
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
 
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตบทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
 
บทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptx
บทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptxบทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptx
บทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptx
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
 
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตบทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
 
ตารางการแจกแจง t
ตารางการแจกแจง tตารางการแจกแจง t
ตารางการแจกแจง t
 
สถิติสำหรับธุรกิจ
สถิติสำหรับธุรกิจสถิติสำหรับธุรกิจ
สถิติสำหรับธุรกิจ
 
4. to use sequence and series
4. to use sequence and series4. to use sequence and series
4. to use sequence and series
 
รายงาน การสื่อสารข้อมูล
รายงาน การสื่อสารข้อมูล รายงาน การสื่อสารข้อมูล
รายงาน การสื่อสารข้อมูล
 
Presentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียวPresentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียว
 
06 ma
06 ma06 ma
06 ma
 
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
 

More from Rungnapa Rungnapa

Building construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาBuilding construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาRungnapa Rungnapa
 
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัดBuilding construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัดRungnapa Rungnapa
 
Building construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาBuilding construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐานบทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐานRungnapa Rungnapa
 
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 1 การจัดการประกันภัย
บทที่ 1 การจัดการประกันภัยบทที่ 1 การจัดการประกันภัย
บทที่ 1 การจัดการประกันภัยRungnapa Rungnapa
 
บทที่1ความรู้เบื้องต้น
บทที่1ความรู้เบื้องต้น บทที่1ความรู้เบื้องต้น
บทที่1ความรู้เบื้องต้น Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาลบทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาลRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดีบทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดีRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibilityบทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibilityRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปบทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปRungnapa Rungnapa
 

More from Rungnapa Rungnapa (20)

Building construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาBuilding construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคา
 
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัดBuilding construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
 
Building construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาBuilding construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคา
 
Ch10
Ch10Ch10
Ch10
 
Ch9
Ch9Ch9
Ch9
 
Ch8
Ch8Ch8
Ch8
 
Ch7
Ch7Ch7
Ch7
 
Ch5
Ch5Ch5
Ch5
 
Ch6 new
Ch6 newCh6 new
Ch6 new
 
Ch1 3
Ch1 3Ch1 3
Ch1 3
 
Ch1 3
Ch1 3Ch1 3
Ch1 3
 
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐานบทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
 
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
 
บทที่ 1 การจัดการประกันภัย
บทที่ 1 การจัดการประกันภัยบทที่ 1 การจัดการประกันภัย
บทที่ 1 การจัดการประกันภัย
 
บทที่1ความรู้เบื้องต้น
บทที่1ความรู้เบื้องต้น บทที่1ความรู้เบื้องต้น
บทที่1ความรู้เบื้องต้น
 
บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2
 
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาลบทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
 
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดีบทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี
 
บทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibilityบทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibility
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปบทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
 

บทที่ 2