SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่าย
คอมพิวเตอร์
ความหมายของระบบสื่อสารข้อมูล
ระบบสื่อสารข้อมูล หมายถึง การแลกเปลี่ยนข้อมูล
ระหว่างอุปกรณ์โดยผ่านสื่อหรือตัวกลาง โดย
อุปกรณ์ที่แลกเปลี่ยนข้อมูลจะมีการทางานร่วมกัน
ของส่วนที่เป็น ฮาร์ดแวร์(อุปกรณ์คอมพิวเตอร์)
และซอฟต์แวร์(ชุดคาสั่ง)
องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
1. ข่าวสาร เป็นข้อมูลสารสนเทศที่ต้องการส่งเพื่อสื่อสาร ซึ่งจะอยู่ในรูปของ
ข้อความ ตัวเลข รูปภาพ เสียง หรือวีดิทัศน์
2. ผู้ส่ง เป็นอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่ใช้ในการส่งข้อมูลข่าวสาร
3. ผู้รับ เป็นอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่ใช้ในการรับข้อมูลข่าวสารจากผู้ส่ง
4. สื่อ เป็นสื่อกลางที่ทาหน้าที่ให้ข้อมูลและข่าวสารเดินทางจากผู้ส่งไปยัง
ผู้รับ เช่น ขดลวด สายเคเบิล สายไฟเบอร์ออพติกหรือ คลื่นไมโครเวฟ คลื่น
ดาวเทียม หรือคลื่นวิทยุ เป็นต้น
5. โพรโทคอลคือ กฎระเบียบ หรือวิธีการใช้เป็นข้อกาหนดสาหรับการ
สื่อสาร เพื่อให้ผู้รับและผู้ส่งเข้าใจกันได้ ซึ่งมีหลายชนิดให้เลือกใช้ เช่น
TCP/IP, X.25, SDLC เป็นต้น
ลักษณะข้อมูลที่ใช้สื่อสารในคอมพิวเตอร์
ข้อความ (Text) ใช้แทนตัวอักขระต่างๆ ซึ่งจะแทนด้วยรหัสต่างๆ เช่น รหัส
แอสกี เป็นต้น
ตัวเลข (Number) ใช้แทนตัวเลขต่างๆ ซึ่งตัวเลขไม่ได้ถูกแทนด้วยรหัสแอ
สกีแต่จะถูกแปลงเป็นเลขฐานสองโดยตรง
รูปภาพ (Images) ข้อมูลของรูปภาพจะแทนด้วยจุดสีเรียงกันไปตามขนาด
ของรูปภาพ
เสียง (Audio) ข้อมูลเสียงจะแตกต่างจากข้อความ ตัวเลข และรูปภาพ
เพราะข้อมูลเสียงจะเป็นสัญญาณต่อเนื่องกันไป
วิดีโอ (Video) ใช้แสดงภาพเคลื่อนไหว ซึ่งเกิดจากการรวมกันของรูปภาพ
หลายรูป
ทิศทางของการสื่อสารข้อมูล
1. การสื่อสารข้อมูลทิศทางเดียว (SimplexTransmission)
เป็นการติดต่อสื่อสารเพียงทิศทางเดียวคือผู้ส่งจะส่งข้อมูลเพียงฝั่งเดียวและโดยฝั่ง
รับไม่มีการตอบกลับเช่น การกระจายเสียงของสถานีวิทยุการส่งe-mailเป็นต้น
2. การสื่อสารข้อมูลสองทิศทางสลับกัน (Half Duplex
Transmission)
สามารถส่งข้อมูลในเวลาใดเวลาหนึ่ง ไปในทิศทางเดียวเท่านั้น ทั้งฝ่ายส่งและฝ่าย
รับ หรือพูดอีกนัยหนึ่งคือ ผู้ส่งสามารถส่งข้อมูลไปให้แก่ผู้รับ ส่วนผู้รับก็สามารถโต้ตอบ
กลับได้ แต่ไม่สามารถส่งสวนทางกันได้ในเวลาเดียวกัน เช่นการส่งวิทยุของตารวจ
2. การสื่อสารข้อมูลสองทิศทางพร้อมกัน
(Full Duplex Transmission)
สามารถส่งข้อมูลในเวลาใดเวลาหนึ่ง ได้ทั้ง2ทิศทาง
ทั้งฝ่ายส่งและฝ่ายรับ หรือพูดอีกนัยหนึ่งคือ ผู้ส่ง
และผู้รับ สามารถโต้ตอบสวนทางกันได้ในเวลา
เดียวกัน เช่น การส่งสัญญาณโทรศัพท์ สนทนา
msn , facebook
โพรโทคอล
โพรโทคอลเป็นข้อตกลงร่วมกันเพื่อใช้ควบคุมการสื่อสารข้อมูลในเครือข่าย เสมือนใช้ภาษา
เดียวกันในการสื่อสารให้เข้าใจตรงกัน โดยมีข้อตกลงเกี่ยวกับเรื่องต่อไปนี้
1. โครงสร้างของข้อมูล (Syntex) ใช้สาหรับการส่งและรับข้อมูล เช่น การกาหนดให้ข้อมูล
ที่ส่งมา 8 บิตแรกนั้น ต้องเป็นเลขข้อมูลที่อยู่ Address ของอุปกรณ์ที่ใช้ส่ง และ 8 บิต
ถัดไปจะต้องเป็นเลขที่อยู่ Addressของเป้ าหมาย และหลังจากนั้นจึงกาหนดให้เป็นบิตที่
เป็นข้อมูลข่าวสารที่ใช้ส่ง
2. การแปลความหมาย (Semantics) เป็นการกาหนดความหมายของข้อมูล ว่าส่วนใดที่
ใช้ระบุเส้นทางในการสื่อสาร และจะเหลือกลุ่มบิตที่จะเป็นข้อมูลที่ต้องการส่งจริง
3. เวลา (Time) เป็นการกาหนดความเร็วในการรับส่งข้อมูลของอุปกรณ์ที่ทางานแตกต่าง
กันให้สามารถทางานและข้อมูลไม่เสียหายขณะรับ-ส่ง เช่น หากอุปกรณ์หนึ่งส่งข้อมูลได้ 100เม
กะบิต/1วินาทีMbps แต่อุปกรณ์ที่รับข้อมูลรับได้เพียง 1เมกะบิต/1วินาทีMbps เท่านั้นซึ่ง
การส่งข้อมูลจะมีจานวนมาก อาจทาให้ข้อมูลที่ส่งมาอาจสูญหายไปได้
โครงสร้างของเครือข่าย
1.โครงสร้างเครือข่ายแบบเมช(Mesh Topology) ได้รับ
ความนิยมมากและมีประสิทธิภาพสูง เพราะเมื่อเส้นทางของการเชื่อมต่อ
ข้อมูลคู่ใดคู่หนึ่งเกิดมีปัญหาหรือขาดจากกัน ยังสามารถติดต่อสื่อสารกัน
ได้ด้วยอุปกรณ์จัดเส้นทาง (Router)ซึ่งจะเชื่อมต่อเส้นทางใหม่ไปยัง
จุดหมายปลายทางอัตโนมัติ โดยเครือข่ายนี้มักจะเป็นเครือข่ายแบบไร้
สาย
โครงสร้างของเครือข่าย
2. โครงสร้างเครือข่ายแบบดาว (Star Topology) เป็น
โครงสร้างเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับอุปกรณ์ที่เป็นจุดศูนย์กลาง
ของเครือข่าย โดยการนาสถานีต่างๆมาต่อรวมกัน โดยอุปกรณ์ที่เรียกว่า ฮับ
(Hub) หรือ สวิตช์(Switch) เป็นศูนย์กลางของการติดต่อเชื่อมโยง
ระหว่างสถานีต่างๆ
3. โครงสร้างเครือข่ายแบบบัส (Bus Topology)เป็นโครงสร้าง
เครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ ด้วยสายเคเบิลยาว
ต่อเนื่องไปเรื่อยๆ
โครงสร้างของเครือข่าย
4. โครงสร้างแบบเครือข่ายวงแหวน (Ring Topology) เป็น
เครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ด้วยสายเคเบิลยาวเส้นเดียวในลักษณะวงแหวน
การรับ-ส่งข้อมูลในเครือข่ายวงแหวนจะใช้ในทิศทางเดียว ข้อดีของโครงสร้างนี้คือ
ใช้สายเคเบิลน้อย ถ้าตัดเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เสียออกจากระบบจะไม่ส่งผลต่อการ
ทางานของระบบ และจะไม่มีการชนกันของข้อมูลที่แต่ละเครื่องส่ง
5. โครงสร้างแบบผสม (Hybrid Topology) เป็นโครงสร้างเครือข่าย
ที่ผสมผสานกันทั้งแบบดาว วงแหวน และบัส เช่น องค์กรหรือบริษัทขนาดเล็กที่มี
หลายอาคาร
ประเภทของระบบเครือข่าย
 1.เครือข่ายส่วนบุคคล หรือ แพน (Personal Area Network : PAN) เป็น
เครือข่ายที่เชื่อมต่อแบบไร้สาย และใช้งานได้ในระยะใกล้ เช่น คอมพิวเตอร์กับโทรศัพท์เคลื่อนที่
 2.เครือข่ายเฉพาะที่ หรือ แลน (Local Area Network : LAN) เป็นเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ซึ่งเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสารที่อยู่ในท้องถิ่น เช่น ภายในอาคาร หรือ
ภายในองค์กรที่ระยะทางไม่ไกลมากนัก มีอัตราการถูกรบกวนของสัญญาณน้อย สามารถสื่อสาร
ได้ดีกว่าระบบสื่อสารที่กว้างและไกล โดยสามารถสื่อสารข้อมูลได้อย่างรวดเร็วและเกิด
ประสิทธิภาพมากที่สุด
 3.เครือข่ายนครหลวง หรือ แมน (Metropolitan Area Network :
MAN) เป็นเครือข่ายระดับเมืองที่มีขนาดใหญ่กว่าเครือข่ายท้องถิ่น อาจเชื่อมต่อกันหลายๆ
แห่งที่อยู่ภายในเมืองเดียวกันหรือหลายเขตเมืองที่อยู่ใกล้กัน เช่น บริการระบบโทรทัศน์ทางสาย
เคเบิล
 4.เครือข่ายวงกว้าง หรือ แวน (Wide Area Network : WAN) เป็นเครือข่าย
ที่เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ในระยะห่างไกล เช่น เชื่อมโยงเครือข่ายแลนในตาแหน่งต่างๆ ให้
สามารถทางานเป็นเครือข่ายที่ขนาดใหญ่และทางานได้ในระยะที่ไกลมากยิ่งขึ้น
วิธีการส่งข้อมูลในระบบสื่อสารข้อมูล
1.การส่งข้อมูลแบบอนุกรม (serial transmission) จะ
ใช้วิธีการส่งทีละ 1 บิตในหนึ่งรอบสัญญาณนาฬิกา ทาให้ดูเหมือนว่าบิต
ต่าง ๆ เรียงต่อเนื่องกันไป จากอุปกรณ์หนึ่งไปยังอีกอุปกรณ์หนึ่ง ดังรูป
2.การส่งแบบขนาน (parallel transmission) คือการ
ส่งข้อมูลพร้อมกันทีละหลาย ๆ บิตในหนึ่งรอบสัญญาณนาฬิกา โดยการ
ส่งจะรวมบิต 0 และ 1 หลาย ๆ บิตเข้าเป็นกลุ่มจานวน n บิต ผู้ส่งส่งครั้ง
ละ n บิต ผู้รับจะรับครั้งละ n บิตเช่นกัน ซึ่งจะคล้ายกับเวลาที่เราพูดคุย
เราจะพูดเป็นคา ๆ ไม่พูดทีละตัวอักษรกลไกการส่งข้อมูลแบบขนานใช้
หลักการง่าย ๆ เมื่อส่งครั้งละ n บิต ต้องใช้สาย n เส้น แต่ละบิตมีสาย
ของตนเอง ในการส่งแต่ละครั้งทุกเส้นต้องใช้สัญญาณนาฬิกาอันเดียวกัน
ทาให้สามารถส่งออกไปยังอุปกรณ์อื่นพร้อมกันได้
รูปแบบการสื่อสารข้อมูล
1.การส่งข้อมูลแบบไม่ประสานจังหวะ
(asynchronous transmission) เป็น
วิธีการส่งข้อมูลไปบนสื่อนาข้อมูล โดยข้อมูลที่ส่งไปนั้นไม่มี
จังหวะการส่งข้อมูล แต่จะส่งเป็นชุด ๆ มีช่องว่าง (gap) อยู่
ระหว่างข้อมูล แต่ละชุดเพื่อใช้แบ่งข้อมูลออกเป็นชุด ๆ
2.การส่งข้อมูลแบบประสานจังหวะ
(synchronous transmission) เป็นการส่ง
ข้อมูลไปบนสื่อนาข้อมูลที่มีลักษณะเป็นกลุ่มของข้อมูลที่
ต่อเนื่องกันอย่างเป็นจังหวะ โดยใช้สัญญาณนาฬิกาเป็นตัวบอก
จังหวะ
สื่อกลางนาเข้าข้อมูล
สื่อกลางนาเข้าข้อมูล หมายถึงสื่อหรือตัวกลางของการส่งผ่านข้อมูล
ตัวกลางแต่ละชนิดจะสามารถส่งข้อมูลได้มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับชนิดของ
วัสดุและเทคโนโลยีที่ใช้ในการส่งข้อมูล มี 2ประเภท ได้แก่
1. สื่อกลางกาหนดเส้นทางได้
1.1 สายโคแอ็กเซียล(Coaxial Cable) มี 2แบบ ได้แก่ แบบหนา
และแบบบาง แบบหนาจะแข็ง การเดินสายทาได้ค่อนข้างยาก แต่
สามารถส่งสัญญาณได้ไกลกว่าแบบบาง
1.2 สายคู่บิดเกลียว (Twisted-Pair) มี 2 ชนิด ได้แก่ สายยูทีพี
(UTP:UnshieldedTwisted-Pair)หรือ สายCAT
(Category) และสายเอสทีพี
(STP:ShieldedTwisted-Pair)หรือสายคู่ตีเกลียวหุ้ม
ฉนวน
สื่อกลางนาเข้าข้อมูล
1.3 สายใยแก้วนาแสง (Fiber Optic) การส่ง
ข้อมูลด้วยสายใยแก้วนาแสง ส่งสัญญาณด้วยแสง มี
ความเร็วในการส่งข้อมูลสูง สามารถส่งข้อมูลได้รวดเร็ว
เท่ากับแสง ไม่มีสัญญาณรบกวนจากภายนอก
2. สื่อกลางที่กาหนดเส้นทางไม่ได้
2.1 คลื่นวิทยุ 2.2ดาวเทียม
2.3คลื่นไมโครเวฟ
2.4อินฟราเรด
อุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่อสาร
ข้อมูลคอมพิวเตอร์
1. โมเด็ม (Modem)ทาหน้าที่แปลงสัญญาณดิจิทัลให้เป็นสัญญาณแอนะล็อก
2. การ์ดเชื่อมต่อเครือข่ายหรือแลนการ์ด (NetworkInterface
Card : NIC) การ์ดนี้ช่วยควบคุมการรับ-ส่งข้อมูล และตรวจสอบข้อผิดพลาดที่
เกิดขึ้น
3. ฮับ(Hub) เป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์
คอมพิวเตอร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน
4. สวิตช์ (Switch) เป็นอุปกรณ์รวมสัญญาณเช่นเดียวกับฮับแต่สวิตช์จะรับ
กลุ่มข้อมูลมาตรวจสอบก่อนว่าเป็นของคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์เครื่องใด จึงจะส่ง
ต่อไปยังเป้ าหมายอัตโนมัติ ซึ่งช่วยลดปัญหาการชนกันของข้อมูล
5. รีพีตเตอร์(Repeater) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนตัวกลาง
นาสัญญณจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ง
อุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่อสาร
ข้อมูลคอมพิวเตอร์
 6. บริดจ์ (Bridge) เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายแลนเข้าด้วยกัน ทาให้สามารถ
ขยายขอบเขตของเครือข่ายแลนออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบไม่ลดลง
 7. อุปกรณ์จัดเส้นทางหรือเราเตอร์(Router) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่าย
หลายระบบเข้าด้วยกัน คล้ายกับบริดจ์ แต่มีส่วนการทางานที่ซับซ้อนกว่ามาก
 8. เกตเวย์(Gateway) เป็นอุปกรณ์ที่มีความสามารถสูงสุดในการเชื่อมต่อเครือข่ายต่างๆเข้า
ด้วยกันโดยไม่มีขีดจากัดทั้งระหว่างเครือข่ายต่างระบบ หรือแม้กระทั่งโพรโทคอลที่แตกต่างกัน
 9. จุดเชื่อมต่อแบบไร้สาย (Wireless Access Point) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่คล้าย
ฮับของเครือข่ายแบบใช้สาย แต่ใช้ติดต่อสื่อสารระหว่างอุปกรณ์แบบไร้สายส่งข้อมูลผ่านคลื่นวิทยุ
ความถี่สูง เช่น คอมพิวเตอร์ เมาส์และคีย์บอร์ด
 10. แอร์การ์ด (Aircard)
 10.1.แอร์การ์ดแบบยูเอสบี (USB)
 10.2.แอร์การ์ดแบบมิฟิ(Mifi: Mobile Wifi)
 11. สมาร์ตโฟน(Smart Phone)
ขอจบการนาเสนอครับ
จัดทาโดย
นาย ภูวิศ เง่าสวัสดิ์ ม.5/7 เลขที่ 1
นาย รัฐมนต์ เกตุขาว ม.5/7 เลขที่ 4
นาย วรายุส ภักดี ม.5/7 เลขที่ 7
นาย พศิน หทโยทัย ม.5/7 เลขที่ 15

More Related Content

What's hot

การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!
Nattha Nganpakamongkhol
 
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Siratcha Wongkom
 
คอม 2-2558
คอม 2-2558คอม 2-2558
คอม 2-2558
PTtp WgWt
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Kalib Karn
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
kamol
 
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลการสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
Bebearjang1
 

What's hot (20)

การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายหน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!
 
Chapter 1 com net basic
Chapter 1 com net basicChapter 1 com net basic
Chapter 1 com net basic
 
ใบความรู้หน่วยที่ 3
ใบความรู้หน่วยที่ 3 ใบความรู้หน่วยที่ 3
ใบความรู้หน่วยที่ 3
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
 
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
คอม 2-2558
คอม 2-2558คอม 2-2558
คอม 2-2558
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ตบทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
 
ระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่าย
 
อุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสารอุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสาร
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
 
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลการสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
 

Viewers also liked

paper 2 art_10.1007_s00128-015-1609-2 (1)
paper 2 art_10.1007_s00128-015-1609-2 (1)paper 2 art_10.1007_s00128-015-1609-2 (1)
paper 2 art_10.1007_s00128-015-1609-2 (1)
Khushboo Choudhary
 
PresentationPatterns_v2
PresentationPatterns_v2PresentationPatterns_v2
PresentationPatterns_v2
Maksym Tolstik
 
ADEWUYI REUBEN ADEBARE CV
ADEWUYI REUBEN ADEBARE CVADEWUYI REUBEN ADEBARE CV
ADEWUYI REUBEN ADEBARE CV
Reuben Adewuyi
 

Viewers also liked (15)

ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Unit plan power point
Unit plan power pointUnit plan power point
Unit plan power point
 
Arquitectos
ArquitectosArquitectos
Arquitectos
 
Actividad 4 b
Actividad 4 bActividad 4 b
Actividad 4 b
 
D Gibson presentation to UNR Renewable Energy minor April 06, 2016
D Gibson presentation to UNR Renewable Energy minor April 06, 2016D Gibson presentation to UNR Renewable Energy minor April 06, 2016
D Gibson presentation to UNR Renewable Energy minor April 06, 2016
 
Como subir una presentación a slide share
Como subir una presentación a slide shareComo subir una presentación a slide share
Como subir una presentación a slide share
 
Introduction
IntroductionIntroduction
Introduction
 
Inflación Diciembre 2015
Inflación Diciembre 2015Inflación Diciembre 2015
Inflación Diciembre 2015
 
Rapidly variying flow
Rapidly variying flowRapidly variying flow
Rapidly variying flow
 
Ap nº 5
Ap nº 5Ap nº 5
Ap nº 5
 
paper 2 art_10.1007_s00128-015-1609-2 (1)
paper 2 art_10.1007_s00128-015-1609-2 (1)paper 2 art_10.1007_s00128-015-1609-2 (1)
paper 2 art_10.1007_s00128-015-1609-2 (1)
 
PresentationPatterns_v2
PresentationPatterns_v2PresentationPatterns_v2
PresentationPatterns_v2
 
Cuadro resumen filososofia
Cuadro resumen filososofiaCuadro resumen filososofia
Cuadro resumen filososofia
 
Campaign for the Food Standards Agency - Take Control & Be Careless
Campaign for the Food Standards Agency - Take Control & Be CarelessCampaign for the Food Standards Agency - Take Control & Be Careless
Campaign for the Food Standards Agency - Take Control & Be Careless
 
ADEWUYI REUBEN ADEBARE CV
ADEWUYI REUBEN ADEBARE CVADEWUYI REUBEN ADEBARE CV
ADEWUYI REUBEN ADEBARE CV
 

Similar to ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
Nidzy Krajangpat
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Meaw Sukee
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
Pokypoky Leonardo
 
งานนำเสนอบทที่ 4
งานนำเสนอบทที่ 4งานนำเสนอบทที่ 4
งานนำเสนอบทที่ 4
sawitri555
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
chukiat008
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
chukiat008
 
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
nuchanad
 
Ch4 communication and network
Ch4 communication and networkCh4 communication and network
Ch4 communication and network
Nittaya Intarat
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
Nattapon
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1
chushi1991
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1
chu1991
 
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสารบทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
Beauso English
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Obigo Cast Gaming
 

Similar to ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (20)

Network
NetworkNetwork
Network
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารLesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
 
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)
 
PPT WORK
PPT WORKPPT WORK
PPT WORK
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
 
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอบทที่ 4
งานนำเสนอบทที่ 4งานนำเสนอบทที่ 4
งานนำเสนอบทที่ 4
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
 
Ch4 communication and network
Ch4 communication and networkCh4 communication and network
Ch4 communication and network
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1
 
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสารบทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
 
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์

  • 2. ความหมายของระบบสื่อสารข้อมูล ระบบสื่อสารข้อมูล หมายถึง การแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างอุปกรณ์โดยผ่านสื่อหรือตัวกลาง โดย อุปกรณ์ที่แลกเปลี่ยนข้อมูลจะมีการทางานร่วมกัน ของส่วนที่เป็น ฮาร์ดแวร์(อุปกรณ์คอมพิวเตอร์) และซอฟต์แวร์(ชุดคาสั่ง)
  • 3. องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล 1. ข่าวสาร เป็นข้อมูลสารสนเทศที่ต้องการส่งเพื่อสื่อสาร ซึ่งจะอยู่ในรูปของ ข้อความ ตัวเลข รูปภาพ เสียง หรือวีดิทัศน์ 2. ผู้ส่ง เป็นอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่ใช้ในการส่งข้อมูลข่าวสาร 3. ผู้รับ เป็นอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่ใช้ในการรับข้อมูลข่าวสารจากผู้ส่ง 4. สื่อ เป็นสื่อกลางที่ทาหน้าที่ให้ข้อมูลและข่าวสารเดินทางจากผู้ส่งไปยัง ผู้รับ เช่น ขดลวด สายเคเบิล สายไฟเบอร์ออพติกหรือ คลื่นไมโครเวฟ คลื่น ดาวเทียม หรือคลื่นวิทยุ เป็นต้น 5. โพรโทคอลคือ กฎระเบียบ หรือวิธีการใช้เป็นข้อกาหนดสาหรับการ สื่อสาร เพื่อให้ผู้รับและผู้ส่งเข้าใจกันได้ ซึ่งมีหลายชนิดให้เลือกใช้ เช่น TCP/IP, X.25, SDLC เป็นต้น
  • 4. ลักษณะข้อมูลที่ใช้สื่อสารในคอมพิวเตอร์ ข้อความ (Text) ใช้แทนตัวอักขระต่างๆ ซึ่งจะแทนด้วยรหัสต่างๆ เช่น รหัส แอสกี เป็นต้น ตัวเลข (Number) ใช้แทนตัวเลขต่างๆ ซึ่งตัวเลขไม่ได้ถูกแทนด้วยรหัสแอ สกีแต่จะถูกแปลงเป็นเลขฐานสองโดยตรง รูปภาพ (Images) ข้อมูลของรูปภาพจะแทนด้วยจุดสีเรียงกันไปตามขนาด ของรูปภาพ เสียง (Audio) ข้อมูลเสียงจะแตกต่างจากข้อความ ตัวเลข และรูปภาพ เพราะข้อมูลเสียงจะเป็นสัญญาณต่อเนื่องกันไป วิดีโอ (Video) ใช้แสดงภาพเคลื่อนไหว ซึ่งเกิดจากการรวมกันของรูปภาพ หลายรูป
  • 5. ทิศทางของการสื่อสารข้อมูล 1. การสื่อสารข้อมูลทิศทางเดียว (SimplexTransmission) เป็นการติดต่อสื่อสารเพียงทิศทางเดียวคือผู้ส่งจะส่งข้อมูลเพียงฝั่งเดียวและโดยฝั่ง รับไม่มีการตอบกลับเช่น การกระจายเสียงของสถานีวิทยุการส่งe-mailเป็นต้น 2. การสื่อสารข้อมูลสองทิศทางสลับกัน (Half Duplex Transmission) สามารถส่งข้อมูลในเวลาใดเวลาหนึ่ง ไปในทิศทางเดียวเท่านั้น ทั้งฝ่ายส่งและฝ่าย รับ หรือพูดอีกนัยหนึ่งคือ ผู้ส่งสามารถส่งข้อมูลไปให้แก่ผู้รับ ส่วนผู้รับก็สามารถโต้ตอบ กลับได้ แต่ไม่สามารถส่งสวนทางกันได้ในเวลาเดียวกัน เช่นการส่งวิทยุของตารวจ
  • 6. 2. การสื่อสารข้อมูลสองทิศทางพร้อมกัน (Full Duplex Transmission) สามารถส่งข้อมูลในเวลาใดเวลาหนึ่ง ได้ทั้ง2ทิศทาง ทั้งฝ่ายส่งและฝ่ายรับ หรือพูดอีกนัยหนึ่งคือ ผู้ส่ง และผู้รับ สามารถโต้ตอบสวนทางกันได้ในเวลา เดียวกัน เช่น การส่งสัญญาณโทรศัพท์ สนทนา msn , facebook
  • 7. โพรโทคอล โพรโทคอลเป็นข้อตกลงร่วมกันเพื่อใช้ควบคุมการสื่อสารข้อมูลในเครือข่าย เสมือนใช้ภาษา เดียวกันในการสื่อสารให้เข้าใจตรงกัน โดยมีข้อตกลงเกี่ยวกับเรื่องต่อไปนี้ 1. โครงสร้างของข้อมูล (Syntex) ใช้สาหรับการส่งและรับข้อมูล เช่น การกาหนดให้ข้อมูล ที่ส่งมา 8 บิตแรกนั้น ต้องเป็นเลขข้อมูลที่อยู่ Address ของอุปกรณ์ที่ใช้ส่ง และ 8 บิต ถัดไปจะต้องเป็นเลขที่อยู่ Addressของเป้ าหมาย และหลังจากนั้นจึงกาหนดให้เป็นบิตที่ เป็นข้อมูลข่าวสารที่ใช้ส่ง 2. การแปลความหมาย (Semantics) เป็นการกาหนดความหมายของข้อมูล ว่าส่วนใดที่ ใช้ระบุเส้นทางในการสื่อสาร และจะเหลือกลุ่มบิตที่จะเป็นข้อมูลที่ต้องการส่งจริง 3. เวลา (Time) เป็นการกาหนดความเร็วในการรับส่งข้อมูลของอุปกรณ์ที่ทางานแตกต่าง กันให้สามารถทางานและข้อมูลไม่เสียหายขณะรับ-ส่ง เช่น หากอุปกรณ์หนึ่งส่งข้อมูลได้ 100เม กะบิต/1วินาทีMbps แต่อุปกรณ์ที่รับข้อมูลรับได้เพียง 1เมกะบิต/1วินาทีMbps เท่านั้นซึ่ง การส่งข้อมูลจะมีจานวนมาก อาจทาให้ข้อมูลที่ส่งมาอาจสูญหายไปได้
  • 8. โครงสร้างของเครือข่าย 1.โครงสร้างเครือข่ายแบบเมช(Mesh Topology) ได้รับ ความนิยมมากและมีประสิทธิภาพสูง เพราะเมื่อเส้นทางของการเชื่อมต่อ ข้อมูลคู่ใดคู่หนึ่งเกิดมีปัญหาหรือขาดจากกัน ยังสามารถติดต่อสื่อสารกัน ได้ด้วยอุปกรณ์จัดเส้นทาง (Router)ซึ่งจะเชื่อมต่อเส้นทางใหม่ไปยัง จุดหมายปลายทางอัตโนมัติ โดยเครือข่ายนี้มักจะเป็นเครือข่ายแบบไร้ สาย
  • 9. โครงสร้างของเครือข่าย 2. โครงสร้างเครือข่ายแบบดาว (Star Topology) เป็น โครงสร้างเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับอุปกรณ์ที่เป็นจุดศูนย์กลาง ของเครือข่าย โดยการนาสถานีต่างๆมาต่อรวมกัน โดยอุปกรณ์ที่เรียกว่า ฮับ (Hub) หรือ สวิตช์(Switch) เป็นศูนย์กลางของการติดต่อเชื่อมโยง ระหว่างสถานีต่างๆ 3. โครงสร้างเครือข่ายแบบบัส (Bus Topology)เป็นโครงสร้าง เครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ ด้วยสายเคเบิลยาว ต่อเนื่องไปเรื่อยๆ
  • 10. โครงสร้างของเครือข่าย 4. โครงสร้างแบบเครือข่ายวงแหวน (Ring Topology) เป็น เครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ด้วยสายเคเบิลยาวเส้นเดียวในลักษณะวงแหวน การรับ-ส่งข้อมูลในเครือข่ายวงแหวนจะใช้ในทิศทางเดียว ข้อดีของโครงสร้างนี้คือ ใช้สายเคเบิลน้อย ถ้าตัดเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เสียออกจากระบบจะไม่ส่งผลต่อการ ทางานของระบบ และจะไม่มีการชนกันของข้อมูลที่แต่ละเครื่องส่ง 5. โครงสร้างแบบผสม (Hybrid Topology) เป็นโครงสร้างเครือข่าย ที่ผสมผสานกันทั้งแบบดาว วงแหวน และบัส เช่น องค์กรหรือบริษัทขนาดเล็กที่มี หลายอาคาร
  • 11. ประเภทของระบบเครือข่าย  1.เครือข่ายส่วนบุคคล หรือ แพน (Personal Area Network : PAN) เป็น เครือข่ายที่เชื่อมต่อแบบไร้สาย และใช้งานได้ในระยะใกล้ เช่น คอมพิวเตอร์กับโทรศัพท์เคลื่อนที่  2.เครือข่ายเฉพาะที่ หรือ แลน (Local Area Network : LAN) เป็นเครือข่าย คอมพิวเตอร์ซึ่งเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสารที่อยู่ในท้องถิ่น เช่น ภายในอาคาร หรือ ภายในองค์กรที่ระยะทางไม่ไกลมากนัก มีอัตราการถูกรบกวนของสัญญาณน้อย สามารถสื่อสาร ได้ดีกว่าระบบสื่อสารที่กว้างและไกล โดยสามารถสื่อสารข้อมูลได้อย่างรวดเร็วและเกิด ประสิทธิภาพมากที่สุด  3.เครือข่ายนครหลวง หรือ แมน (Metropolitan Area Network : MAN) เป็นเครือข่ายระดับเมืองที่มีขนาดใหญ่กว่าเครือข่ายท้องถิ่น อาจเชื่อมต่อกันหลายๆ แห่งที่อยู่ภายในเมืองเดียวกันหรือหลายเขตเมืองที่อยู่ใกล้กัน เช่น บริการระบบโทรทัศน์ทางสาย เคเบิล  4.เครือข่ายวงกว้าง หรือ แวน (Wide Area Network : WAN) เป็นเครือข่าย ที่เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ในระยะห่างไกล เช่น เชื่อมโยงเครือข่ายแลนในตาแหน่งต่างๆ ให้ สามารถทางานเป็นเครือข่ายที่ขนาดใหญ่และทางานได้ในระยะที่ไกลมากยิ่งขึ้น
  • 12. วิธีการส่งข้อมูลในระบบสื่อสารข้อมูล 1.การส่งข้อมูลแบบอนุกรม (serial transmission) จะ ใช้วิธีการส่งทีละ 1 บิตในหนึ่งรอบสัญญาณนาฬิกา ทาให้ดูเหมือนว่าบิต ต่าง ๆ เรียงต่อเนื่องกันไป จากอุปกรณ์หนึ่งไปยังอีกอุปกรณ์หนึ่ง ดังรูป 2.การส่งแบบขนาน (parallel transmission) คือการ ส่งข้อมูลพร้อมกันทีละหลาย ๆ บิตในหนึ่งรอบสัญญาณนาฬิกา โดยการ ส่งจะรวมบิต 0 และ 1 หลาย ๆ บิตเข้าเป็นกลุ่มจานวน n บิต ผู้ส่งส่งครั้ง ละ n บิต ผู้รับจะรับครั้งละ n บิตเช่นกัน ซึ่งจะคล้ายกับเวลาที่เราพูดคุย เราจะพูดเป็นคา ๆ ไม่พูดทีละตัวอักษรกลไกการส่งข้อมูลแบบขนานใช้ หลักการง่าย ๆ เมื่อส่งครั้งละ n บิต ต้องใช้สาย n เส้น แต่ละบิตมีสาย ของตนเอง ในการส่งแต่ละครั้งทุกเส้นต้องใช้สัญญาณนาฬิกาอันเดียวกัน ทาให้สามารถส่งออกไปยังอุปกรณ์อื่นพร้อมกันได้
  • 13. รูปแบบการสื่อสารข้อมูล 1.การส่งข้อมูลแบบไม่ประสานจังหวะ (asynchronous transmission) เป็น วิธีการส่งข้อมูลไปบนสื่อนาข้อมูล โดยข้อมูลที่ส่งไปนั้นไม่มี จังหวะการส่งข้อมูล แต่จะส่งเป็นชุด ๆ มีช่องว่าง (gap) อยู่ ระหว่างข้อมูล แต่ละชุดเพื่อใช้แบ่งข้อมูลออกเป็นชุด ๆ 2.การส่งข้อมูลแบบประสานจังหวะ (synchronous transmission) เป็นการส่ง ข้อมูลไปบนสื่อนาข้อมูลที่มีลักษณะเป็นกลุ่มของข้อมูลที่ ต่อเนื่องกันอย่างเป็นจังหวะ โดยใช้สัญญาณนาฬิกาเป็นตัวบอก จังหวะ
  • 14. สื่อกลางนาเข้าข้อมูล สื่อกลางนาเข้าข้อมูล หมายถึงสื่อหรือตัวกลางของการส่งผ่านข้อมูล ตัวกลางแต่ละชนิดจะสามารถส่งข้อมูลได้มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับชนิดของ วัสดุและเทคโนโลยีที่ใช้ในการส่งข้อมูล มี 2ประเภท ได้แก่ 1. สื่อกลางกาหนดเส้นทางได้ 1.1 สายโคแอ็กเซียล(Coaxial Cable) มี 2แบบ ได้แก่ แบบหนา และแบบบาง แบบหนาจะแข็ง การเดินสายทาได้ค่อนข้างยาก แต่ สามารถส่งสัญญาณได้ไกลกว่าแบบบาง 1.2 สายคู่บิดเกลียว (Twisted-Pair) มี 2 ชนิด ได้แก่ สายยูทีพี (UTP:UnshieldedTwisted-Pair)หรือ สายCAT (Category) และสายเอสทีพี (STP:ShieldedTwisted-Pair)หรือสายคู่ตีเกลียวหุ้ม ฉนวน
  • 15. สื่อกลางนาเข้าข้อมูล 1.3 สายใยแก้วนาแสง (Fiber Optic) การส่ง ข้อมูลด้วยสายใยแก้วนาแสง ส่งสัญญาณด้วยแสง มี ความเร็วในการส่งข้อมูลสูง สามารถส่งข้อมูลได้รวดเร็ว เท่ากับแสง ไม่มีสัญญาณรบกวนจากภายนอก 2. สื่อกลางที่กาหนดเส้นทางไม่ได้ 2.1 คลื่นวิทยุ 2.2ดาวเทียม 2.3คลื่นไมโครเวฟ 2.4อินฟราเรด
  • 16. อุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่อสาร ข้อมูลคอมพิวเตอร์ 1. โมเด็ม (Modem)ทาหน้าที่แปลงสัญญาณดิจิทัลให้เป็นสัญญาณแอนะล็อก 2. การ์ดเชื่อมต่อเครือข่ายหรือแลนการ์ด (NetworkInterface Card : NIC) การ์ดนี้ช่วยควบคุมการรับ-ส่งข้อมูล และตรวจสอบข้อผิดพลาดที่ เกิดขึ้น 3. ฮับ(Hub) เป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ คอมพิวเตอร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน 4. สวิตช์ (Switch) เป็นอุปกรณ์รวมสัญญาณเช่นเดียวกับฮับแต่สวิตช์จะรับ กลุ่มข้อมูลมาตรวจสอบก่อนว่าเป็นของคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์เครื่องใด จึงจะส่ง ต่อไปยังเป้ าหมายอัตโนมัติ ซึ่งช่วยลดปัญหาการชนกันของข้อมูล 5. รีพีตเตอร์(Repeater) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนตัวกลาง นาสัญญณจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ง
  • 17. อุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่อสาร ข้อมูลคอมพิวเตอร์  6. บริดจ์ (Bridge) เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายแลนเข้าด้วยกัน ทาให้สามารถ ขยายขอบเขตของเครือข่ายแลนออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบไม่ลดลง  7. อุปกรณ์จัดเส้นทางหรือเราเตอร์(Router) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่าย หลายระบบเข้าด้วยกัน คล้ายกับบริดจ์ แต่มีส่วนการทางานที่ซับซ้อนกว่ามาก  8. เกตเวย์(Gateway) เป็นอุปกรณ์ที่มีความสามารถสูงสุดในการเชื่อมต่อเครือข่ายต่างๆเข้า ด้วยกันโดยไม่มีขีดจากัดทั้งระหว่างเครือข่ายต่างระบบ หรือแม้กระทั่งโพรโทคอลที่แตกต่างกัน  9. จุดเชื่อมต่อแบบไร้สาย (Wireless Access Point) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่คล้าย ฮับของเครือข่ายแบบใช้สาย แต่ใช้ติดต่อสื่อสารระหว่างอุปกรณ์แบบไร้สายส่งข้อมูลผ่านคลื่นวิทยุ ความถี่สูง เช่น คอมพิวเตอร์ เมาส์และคีย์บอร์ด  10. แอร์การ์ด (Aircard)  10.1.แอร์การ์ดแบบยูเอสบี (USB)  10.2.แอร์การ์ดแบบมิฟิ(Mifi: Mobile Wifi)  11. สมาร์ตโฟน(Smart Phone)
  • 19. จัดทาโดย นาย ภูวิศ เง่าสวัสดิ์ ม.5/7 เลขที่ 1 นาย รัฐมนต์ เกตุขาว ม.5/7 เลขที่ 4 นาย วรายุส ภักดี ม.5/7 เลขที่ 7 นาย พศิน หทโยทัย ม.5/7 เลขที่ 15