SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ ใช้ งาน”

ความหมาย
        การประยุกต์ใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบน ได้มีการนามาใช้ในหลายสาขาวิชาชีพ ทั้ง
                                                      ั
ในด้านการศึกษา ด้านธุรกิจอุตสาหกรรม ด้านการแพทย์ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่ออานวย
ความสะดวกในการประกอบธุรกิจ การทางาน การศึกษาหาความรู ้ ทาให้คุณภาพชีวตของคนในสังคม
                                                                             ิ
ปัจจุบนดีข้ ึน นอกจากนี้หน่วยงานราชการต่างๆ ก็นาเทคโนโลยีสารสนเทศและ ระบบคอมพิวเตอร์ เข้า
      ั
                          ั
มาอานวยความสะดวกให้กบประชาชน ในการติดต่อประสานงานกับทางราชการ และในธุรกิจเอกชน
ทางด้านการโรงแรม และการท่องเที่ยว ก็ให้บริ การข้อมูลข่าวสาร และบริ การลูกค้าผ่านทางระบบ
อินเทอร์เน็ต ทาได้อย่างสะดวกรวดเร็วทันเหตุการณ์




ประยุกต์ ใช้ ในงานด้ านการศึกษา
         เทคโนโลยีสารสนเทศที่นามาใช้สาหรับการเรี ยนการสอน เป็ นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลาย
อย่าง สอนด้วยสื่ ออุปกรณ์ที่ทนสมัย ห้องเรี ยนสมัยใหม่ มีอุปกรณ์วดีโอโปรเจคเตอร์ (Video Projector)มี
                             ั                                  ิ
เครื่ องคอมพิวเตอร์ มีระบบการอ่านข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์แบบต่าง ๆ รู ปแบบของสื่ อที่นามาใช้ในด้านการ
เรี ยนการสอน ก็มีหลากหลาย ขึ้นอยูกบความเหมาะสมในการนามาใช้ เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
                                  ่ ั
อิเล็กทรอนิกส์บุค วิดีโอเทเลคอนเฟอเรนซ์ ระบบวิดีโอออนดีมานด์ การสื บค้นข้อมูลในคอมพิวเตอร์
และระบบอินเทอร์เน็ต เป็ นต้น

        - คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เป็ นการนาเอาเทคโนโลยี รวมกับการออกแบบโปรแกรมการสอน มาใช้
ช่วยสอน ซึ่งเรี ยกกันโดยทัวไปว่าบทเรี ยน CAI ( Computer - Assisted Instruction ) การจัดโปรแกรมการ
                          ่
สอน โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ในปัจจุบนมักอยูในรู ปของสื่ อประสม (Multimedia) ซึ่งหมายถึง
                                           ั     ่
นาเสนอได้ท้ งภาพ ข้อความ เสี ยง ภาพเคลื่อนไหวฯลฯ โปรแกรมช่วยสอนนี้เหมาะกับการศึกษาด้วย
             ั
ตนเอง และเปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนสามารถโต้ตอบ กับบทเรี ยนได้ตลอด จนมีผลป้ อนกลับเพื่อให้ผเู ้ รี ยนรู ้
บทเรี ยนได้อย่างถูกต้อง และเข้าใจในเนื้อหาวิชาของบทเรี ยนนั้นๆ
- การเรี ยนการสอนโดยใช้ เว็บเป็ นหลัก เป็ นการจัดการเรี ยน ที่มีสภาพการเรี ยนต่างไปจากรู ป
แบบเดิม การเรี ยนการสอนแบบนี้ อาศัยศักยภาพและความสามารถของเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็ นการ
นาเอาสื่ อการเรี ยนการสอน ที่เป็ นเทคโนโลยี มาช่วยสนับสนุนการเรี ยนการสอน ให้เกิดการเรี ยนรู ้ การ
สื บค้นข้อมูล และเชื่อมโยงเครื อข่าย ทาให้ผเู ้ รี ยนสามารถเรี ยนได้ทุกสถานท ีี่และทุกเวลา การจัดการ
                                                                              ี
เรี ยนการสอนลักษณะนี้ มีชื่อเรี ยกหลายชื่อ ได้แก่ การเรี ยนการสอนผ่านเว็บ (Web-based Instruction)
การฝึ กอบรมผ่านเว็บ (Web-based Trainning) การเรี ยนการสอนผ่านเวิลดไวด์เว็บ (www-based
                                                                         ์
Instruction) การสอนผ่านสื่ อทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-learning) เป็ นต้น

          - อิเล็กทรอนิกส์ บค คือการเก็บข้อมูลจานวนมากด้วยซีดีรอม หนึ่งแผ่นสามารถเก็บข้อมูล
                            ุ
ตัวอักษรได้มากถึง 600 ล้านตัวอักษร ดังนั้นซีดีรอมหนึ่งแผ่นสามารถเก็บข้อมูลหนังสื อ หรื อเอกสารได้
                                                 ั
มากกว่าหนังสื อหนึ่งเล่ม และที่สาคัญคือการใช้กบคอมพิวเตอร์ ทาให้สามารถเรี ยกค้นหาข้อมูลภายใน
ซีดีรอม ได้อย่างรวดเร็วโดยใช้ดชนี สื บค้นหรื อสารบัญเรื่ อง ซีดีรอมจึงเป็ นสื่ อที่มีบทบาทต่อการศึกษา
                                  ั
                                                   ่
อย่างยิง เพราะในอนาคตหนังสื อต่าง ๆ จะจัดเก็บอยูในรู ปซีดีรอม และเรี ยกอ่านด้วยเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่
        ่
เรี ยกว่าอิเล็กทรอนิกส์บุค ซีดีรอมมีขอดีคือสามารถจัดเก็บ ข้อมูลในรู ปของมัลติมีเดีย และเมื่อนาซี ดีรอม
                                      ้
หลายแผ่นใส่ ไว้ในเครื่ องอ่านชุดเดียวกัน ทาให้ซีดีรอมสามารถขยายการเก็บข้อมูลจานวนมากยิงขึ้นได้ ่

         - วิดีโอเทเลคอนเฟอเรนซ์ หมายถึงการประชุมทางจอภาพ โดยใช้เทคโนโลยีการสื่ อสารที่
ทันสมัย เป็ นการประชุมร่ วมกันระหว่างบุคคล หรื อคณะบุคคลที่อยูต่างสถานที่ และห่างไกลกันโดยใช้
                                                                     ่
สื่ อทางด้านมัลติมีเดีย ที่ให้ท้ งภาพเคลื่อนไหว ภาพนิ่ง เสี ยง และข้อมูลตัวอักษร ในการประชุมเวลา
                                 ั
เดียวกัน และเป็ นการสื่ อสาร 2 ทาง จึงทาให้ ดูเหมือนว่าได้เข้าร่ วมประชุมร่ วมกันตามปกติ ด้านการศึกษา
วิดีโอเทคเลคอนเฟอเรนซ์ ทาให้ผเู ้ รี ยนและผูสอนสามารถติดต่อสื่ อสารกันได้ ผ่านทางจอภาพ โทรทัศน์
                                               ้
และเสี ยง นักเรี ยนในห้องเรี ยน ที่อยูห่างไกลสามารถเห็นภาพและเสี ยง ของผูสอนสามารถเห็นอากับกิริยา
                                       ่                                      ้
ของ ผูสอน เห็นการเคลื่อนไหวและสี หน้าของผูสอนในขณะเรี ยน คุณภาพของภาพและเสี ยง ขึ้นอยูกบ
       ้                                         ้                                               ่ ั
ความเร็วของช่องทางการสื่ อสาร ที่ใช้เชื่อมต่อระหว่างสองฝั่งที่มีการประชุมกัน ได้แก่ จอโทรทัศน์หรื อ
จอคอมพิวเตอร์ ลาโพง ไมโครโฟน กล้อง อุปกรณ์เข้ารหัสและถอดรหัส ผ่านเครื อข่ายการสื่ อสาร
ความเร็วสู งแบบไอเอสดีเอ็น (ISDN)
- ระบบวิดีโอออนดีมานด์ (Video on Demand) เป็ นระบบใหม่ที่กาลังได้รับความนิยมนามาใช้ ใน
หลายประเทศเช่น ญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริ กา โดยอาศัยเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ความเร็วสู ง ทาให้ผชมตาม
                                                                                           ู้
บ้านเรื อนต่าง ๆ สามารถเลือกรายการวิดีทศน์ ที่ตนเองต้องการชมได้โดยเลือกตามรายการ (Menu) และ
                                          ั
เลือกชมได้ตลอดเวลา วิดีโอออนดีมานด์ เป็ นระบบที่มีศนย์กลาง การเก็บข้อมูลวีดิทศน์ไว้จานวนมาก
                                                     ู                            ั
โดยจัดเก็บในรู ปแหล่งข้อมูลขนาดใหญ่ (Video Server) เมื่อผูใช้ตองการเลือกชมรายการใด ก็เลือกได้จาก
                                                            ้ ้
ฐานข้อมูลที่ตองการ ระบบวิดีโอ ออนดีมานด์จึงเป็ นระบบที่จะนามาใช้ ในเรื่ องการเรี ยนการสอน
              ้
ทางไกลได้ โดยไม่มีขอจากัดด้านเวลา ผูเ้ รี ยนสามารถเลือกเรี ยน ในสิ่ งที่ตนเองต้องการเรี ยนหรื อสนใจได้
                      ้

         - การสื บค้ นข้ อมูล (Search Engine) ปัจจุบนได้มีการกล่าวถึงระบบการสื บค้นข้อมูลกันมาก
                                                    ั
แม้แต่ในเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต ก็มีการประยุกต์ใช้ไฮเปอร์เท็กซ์ในการสื บค้นข้อมูล จนมีโปรโตคอลชนิด
              ั
พิเศษที่ใช้กน คือ World Wide Web หรื อเรี ยกว่า www. โดยผูใช้สามารถเรี ยกใช้โปรโตคอล http เพื่อ
                                                             ้
เชื่อมโยงเข้าสู่ ระบบไฮเปอร์เท็กซ์ ซึ่งเป็ นฐานข้อมูลในอินเทอร์เน็ต ไฮเปอร์เท็กซ์มีลกษณะเป็ นแบบ
                                                                                    ั
มัลติมีเดีย เพราะสามารถสร้างเป็ นฐานข้อมูลขนาดใหญ่ ที่เก็บได้ท้ งภาพ เสี ยง และตัวอักษร มีระบบการ
                                                                   ั
เรี ยกค้นที่มีประสิ ทธิภาพ โดยใช้โครงสร้างดัชนีแบบลาดับชั้นภูมิ โดยทัวไป ไฮเปอร์เท็กซ์จะเป็ น
                                                                       ่
ฐานข้อมูลที่มีดชนีสืบค้นแบบเดินหน้า ถอยหลัง และบันทึกร่ องรอยของการสื บค้นไว้ โปรแกรมที่ใช้ใน
                  ั
การสร้างไฮเปอร์เท็กซ์มีเป็ นจานวนมาก ส่ วนโปรแกรมที่มีชื่อเสี ยงได้แก่ HTML Compossor FrontPage
Marcromedia DreaWeaver เป็ นต้น ปัจจุบนเราใช้วิธีการสื บค้นข้อมูล เพื่อนาข้อมูลที่ได้ไปใช้ประกอบใน
                                            ั
การทาเอกสารรายงานต่าง ๆ ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว

        - อินเทอร์ เน็ต คือเครื อข่ ายคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยเครื อข่ายย่อย และเครื อข่ายใหญ่
สลับซับซ้อนมากมาย เชื่อมต่อกันมากกว่า 300 ล้านเครื่ องในปัจจุบน โดยใช้ในการติดต่อสื่ อสาร
                                                                   ั
ข้อความรู ปภาพ เสี ยงและอื่น ๆ โดยผ่านระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ที่มีผใช้งานกระจายกันอยูทวโลก
                                                                           ู้                  ่ ั่
ปัจจุบนได้มีการนาระบบอินเทอร์เน็ต เข้ามาใช้ในวงการศึกษากันทัวโลก ซึ่งมีประโยชน์ในด้านการเรี ยน
      ั                                                              ่
การสอนเป็ นอย่างมาก
ประยุกต์ ใช้ ในงานทะเบียนของสถานศึกษา
        - งานรับมอบตัว ทาหน้าที่ตรวจสอบหลักฐานที่นกศึกษานามารายงานตัว จากนั้นก็จดเก็บประวัติ
                                                       ั                             ั
ภูมิหลังนักศึกษา เช่น ภูมิลาเนา บิดามารดา ประวัติการศึกษา ทุนการศึกษา ไว้ในแฟ้ มเอกสารข้อมูล
ประวัตินกศึกษา
         ั

        - งานทะเบียนเรี ยนรายวิชา ทาหน้าที่จดรายวิชาที่ตองเรี ยนให้ก ั บนักศึกษา ในแต่ละภาคเรี ยนทุก
                                            ั           ้
ชั้นปี ตามแผนการเรี ยนของแต่ละแผนก แล้วจัดเก็บไว้ในแฟ้ มข้อมูลผลการเรี ยน

         - งานประมวลผลการเรี ยน ทาหน้าที่นาผลการเรี ยนจากอาจารย์ผสอนมาประมวลในแต่ละภาค
                                                                   ู้
เรี ยน จากนั้นก็จดเก็บไว้ในแฟ้ มเอกสารข้อมูลผลการเรี ยน และแจ้งผลการเรี ยนให้ผที่เกี่ยวข้องทราบ
                 ั                                                            ู้

          - งานตรวจสอบผู้จบการศึกษา ทาหน้าที่ตรวจสอบรายวิชา และผลการเรี ยน ที่นกศึกษาเรี ยนตั้งแต่
                                                                                ั
เริ่ มต้น จนกระทังจบหลักสู ตร จากแฟ้ มเอกสาร ข้อมูลผลการเรี ยน ว่าผ่านเกณฑ์การจบหรื อไม่
                 ่

       - งานส่ งนักศึกษาฝึ กงาน ทาหน้าที่หาข้อมูลจากสถานที่ฝึกงาน ในแต่ละแห่งว่าสามารถรองรับ
จานวน นักศึกษาที่จะฝึ กงานในรายวิชาต่าง ๆ ได้เป็ นจานวนเท่าใด จากนั้นก็จดนักศึกษา ออกฝึ กงานตาม
                                                                        ั
รายวิชา ให้สอดคล้องกับจานวนที่สถานประกอบการต้องการ




ประยุกต์ ใช้ ในห้ างสรรพสิ นค้ าและสาขาย่ อย
                                                                 ่                            ่ ั่
          เนื่องจากห้างสรรพสิ นค้า เป็ นศูนย์การค้าขนาดใหญ่ มีอยูหลายสาขาที่จดจาหน่ายอยูทวประเทศ มี
                                                                                 ั
ซัพพลายเออร์กว่าพันราย และมีพนักงานอยูหลายพันคน ดังนั้นข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และการตัดสิ นใจต้องทา
                                              ่
อย่างรวดเร็ วเพื่อให้ทนต่อเหตุการณ์ ดังนั้นการที่ตองใช้เทคโนโลยีจึงเป็ นสิ่ งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ การใช้
                       ั                            ้
เครื่ องคอมพิวเตอร์และเครื่ องอ่านบาร์โค้ดจึงมีความจาเป็ นฝ่ ายเทคโนโลยีสารสนเทศจะเป็ นฝ่ าย
                                                        ่
สนับสนุน สิ่ งสาคัญที่สุดคือ เราต้องให้ความมันใจได้วา ระบบจะต้องทางานได้ไม่มีปัญหาขัดข้อง
                                                 ่
ปัจจุบนระบบการเชื่อมต่อห้างสรรพสิ นค้าจะเป็ นแบบสอง ลักษณะคือในต่างจังหวัดจะใช้การเชื่อมต่อ
        ั
ผ่านดาวเทียม ในกรุ งเทพจะใช้การเชื่อมต่อแบบออนไลน์ ซึ่งจะมีการรับส่ งข้อมูลกันทุกวัน ในส่ วนของ
ไอที นอกจากจะต้องทาให้ระบบ สามารถทางานได้ตลอดเวลาแล้ว ยังต้องมันใจด้วยว่าข้อมูลที่รับส่ งกัน
                                                                     ่
นั้นมีความถูกต้อง ซึ่งในแต่ละวันมีขอมูลมาก ที่จะต้องผ่านการประมวลผลให้แก่ผบริ หารเพื่อใช้
                                   ้                                        ู้
                          ่
ประกอบการตัดสิ นใจ ไม่วาจะเป็ นข้อมูลยอดขายข้อมูลสต็อกและข้อมูลต่างๆ ที่ ผูบริ หารต้องการ
                                                                             ้




ประยุกต์ ใช้ ในงานสาธารณสุ ขและการแพทย์
       เทคโนโลยีสารสนเทศได้รับการนามาใช้ในการพัฒนา ด้านสาธารณสุ ขอย่างกว้างขวาง และทาให้
งานด้าน สาธารณสุ ขเจริ ญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว โดยกระทรวงสาธารณสุ ข ได้ปรับระบบการบริ หารงาน
และนาเทคโนโลยี สารสนเทศมาใช้ในงานต่างๆ ดังนี้
       - ด้ านการลงทะเบียนผู้ป่วย ตั้งแต่เริ่ มทาบัตร จ่ายยา เก็บเงิน
       - การสนับสนุนการรั กษาพยาบาล โดยการเชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ของโรงพยาบาล ต่างๆ เข้า
ด้วยกัน สามารถสร้างเครื อข่ายข้อมูลทางการแพทย์ แลกเปลี่ยนข้อมูลของผูป่วย
                                                                       ้
       - สามารถให้ คาปรึ กษาทางไกล โดยแพทย์ผเู ้ ชี่ยวชานาญ เทคโนโลยีสารสนเทศ จะช่วยให้แพทย์
สามารถเห็นหน้า หรื อท่าทางของผูป่วยได้ ช่วยให้ส่งข้อมูลที่เป็ นเอกสาร หรื อภาพเพื่อประกอบการ
                                    ้
พิจารณาของแพทย์ได้
       - เทคโนโลยีสารสนเทศจะช่ วยในการ ให้ ความรู้ แก่ ประชาชนของแพทย์ หรื อหน่วยงาน
สาธารณสุ ขต่างๆ เป็ นไปด้วยความสะดวก รวดเร็ว ได้ผลขึ้น โดยสามารถใช้สื่อต่างๆ เช่นภาพนิ่ง
ภาพเคลื่อนไหวมีเสี ยงและอื่นๆ เป็ นต้น
       - เทคโนโลยีสารสนเทศ ช่ วยให้ ผ้ บริ หารสามารถกาหนดนโยบาย และติดตามกากับการ
                                           ู
ดาเนินงานตามนโยบายได้ ดียิ่งขึน โดยอาศัยข้อมูลที่ถูกต้องฉับไว และข้อมูลที่จาป็ น ทั้งนี้อาจใช้
                                ้
คอมพิวเตอร์เป็ นตัวเก็บข้อมูลต่างๆ ทาให้การบริ หารเป็ นไปได้ดวยความรวดเร็ว ถูกต้องมากยิงขึ้น
                                                                   ้                        ่
       - ในด้ านการให้ ความรู้ หรื อการเรี ยน การสอนทางไกล เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเฉพาะ
ดาวเทียม จะช่วยให้การเรี ยนการสอนทางไกล ทางด้านการแพทย์และสาธารณะสุ ข เป็ นไปได้มากขึ้น
ประชาชนสามารถเรี ยนรู ้พร้อมกันได้ทวประเทศและ ยังสามารถโต้ตอบหรื อถามคาถามได้ดวย
                                        ั่                                                ้
ประยุกต์ ใช้ ในงานด้ านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
        กลุ่มนักวิทยาสตร์ วิศวกรที่ตองการศึกษาพฤติกรรมบางอย่างของสิ่ งมีชีวต รวมถึงสิ่ งแวดล้อม
                                       ้
                                     ่
ต่างๆ เช่นศึกษาการกระจายถิ่นที่อยูของนก การกระจายของแบคทีเรี ย การสร้างอาณาจักรของมด ผึ้ง ชีวต         ิ
              ่
ความเป็ นอยูของสัตว์ป่าต่าง ๆ การพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ตลอดจนระบบนิเวศวิทยา ความสนใจใน
                       ่
การจาลองความเป็ นอยูของ สิ่ งมีชีวตได้มีมานานแล้ว เริ่ มตั้งแต่ครั้ง จอห์น พอยเมน ผูเ้ ป็ นนักคณิ ตศาสตร์
                                   ิ
เสนอแนวคิดการทาให้เครื่ องจักรทางานโดยอัตโนมัติภายใต้โปรแกรม ซึ่งเป็ นรากฐานของเครื่ อง
คอมพิวเตอร์ จนถึงปั จจุบนเกมแห่งชีวตจึงเกิดขึ้น
                          ั              ิ




ประยุกต์ ใช้ ในงานด้ านการสื่ อสารและโทรคมนาคม
          เทคโนโลยีของการสื่ อสารและโทรคมนาคมในปั จจุบนก้าวไกลไปมาก มีบริ การมากมายที่
                                                            ั
ทันสมัยและตอบรับกับการนามาประยุกต์ใช้ในการดาเนินธุรกิจ ตัวอย่างการใช้โทรศัพท์ในปัจจุบนนี้กมิ ั ็
ไดมีไว้เพียงสาหรับคุยสนทนาเพียงอย่างเดียวอีกต่อไป แต่มนสามารถช่วยงานได้มากขึ้น โดยอ้างอิง
                                                          ั
ข้อมูลและการเปิ ดให้บริ การของบริ ษท มีติดต่อสื่ อสารผ่านดาวเทียมทั้งภาพและเสี ยง มีโทรศัพท์มือถือ
                                     ั
รุ่ นต่าง ๆ ออกมามากมาย พัฒนาทั้งหน่วยงานของภาครัฐและเอกชน เช่นเทเลคอม เอเชีย คอร์ปอร์เรชัน      ่
จากัด (มหาชน) ซึ่งเป็ นผูวางแผนการก่อสร้าง และติดตั้งขยายบริ การโทรศัพท์พ้ืนฐาน 2.6 ล้านเลขหมาย
                         ้
ครอบคลุมพื้นที่ในเขตกรุ งเทพและปริ มณฑล รวมถึงการซ่อมบารุ งรักษาเป็ นระยะเวลา 25 ปี และเป็ น
หนึ่งในผูให้บริ การในปั จจุบน
            ้                 ั




ประยุกต์ ใช้ ในงานด้ านการออกแบบผลิตภัณฑ์
      การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศด้านการออกแบบ ได้มีการนาคอมพิวเตอร์มาช่วยในการ
ออกแบบ ( CAD : Computer Aided Design) ออกแบบผลิตภัณฑ์ ออกแบบสิ นค้า และสามารถใช้
คอมพิวเตอร์ช่วยควบคุมกระบวนการผลิต ( CAM : Computer Aided Menufacturing ) เช่นควบคุม
อุณหภูมิ ควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ลดแรงงาน โดยใช้คอมพิวเตอร์ควบคุมหุ่นยนต์ทางาน
ประยุกต์ ใช้ ในสานักงานภาครัฐและเอกชน
        ปัจจุบนได้มีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในหน่วยงานภาครัฐและเอกชนต่าง ๆ มากมาย
               ั
เช่น การทาบัตรประจาตัวประชาชน การเกิด การตาย การเสี ยภาษีอากร การทาใบอนุญาตขับรถยนต์ การ
จ่ายค่าสาธารณูปโภคต่างๆ การประมวลผลคะแนนเลือกตั้ง ฯลฯ เป็ นต้น งานเหล่านี้ได้มีการนาระบบ
สานักงานอัตโนมัติเข้ามาใช้ เพื่อทาให้ได้ขอมูลข่าวสารที่รวดเร็ ว และยังตอบสนองกับการบริ หารยุคใหม่
                                         ้
ที่ตองใช้ขอมูลเป็ นหลักในการบริ หารจัดการ
    ้      ้

      กล่าวโดยสรุปคือ ได้มีการนาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในหน่วยงานต่าง ๆ
                                      ่    ่
เกือบทุกวงการ ทั้งภาครัฐและเอกชนไม่วาจะอยูในรู ปของบุคคลหรื อองค์กรใด ๆ ก็ตาม ฉะนั้นจึงจาเป็ น
อย่างยิงที่จะต้องมีการศึกษาทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ในหน่วยงานด้านการศึกษาก็มีความตื่นตัว
       ่
และเปิ ดทาการเรี ยนการสอนในหลักสู ตรดังกล่าว ทั้งในระดับ อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา และเป็ น
สาขาวิชาที่มีนกศึกษา ให้ความสนใจ กันมากเนื่องจากยังมีตลาดแรงงานรองรับมากนันเอง
                ั                                                            ่

http://forum.datatan.net/index.php/topic,126.msg126.html

                                                           Yupparaj Wittayalai School, Chiang Mai
                                                                                        Class 6/14
                                                                Kornkawin Auttawut Number 11
                                                                   Pasida Wattanarat Number 17
                                                                    Sureerat Kaewfoo Number 28

More Related Content

What's hot

ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Chapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for educationChapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for educationChangnoi Etc
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
บทที่ 2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศBeauso English
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำSarid Nonthing
 
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2chushi1991
 
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องTheeraWat JanWan
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารปิยะดนัย วิเคียน
 
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาbtusek53
 
สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2
สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2
สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2parnee
 

What's hot (19)

ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
 
Chapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for educationChapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for education
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
 
บทที่ 2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 
จริยธรรมในโลกของข้อมูล
จริยธรรมในโลกของข้อมูลจริยธรรมในโลกของข้อมูล
จริยธรรมในโลกของข้อมูล
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Internet เบื้องต้น
Internet เบื้องต้นInternet เบื้องต้น
Internet เบื้องต้น
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Innovation2
Innovation2Innovation2
Innovation2
 
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
 
สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2
สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2
สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2
 

Viewers also liked (17)

06
0606
06
 
10
1010
10
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 
08
0808
08
 
11
1111
11
 
Au01
Au01Au01
Au01
 
O net mathematics
O net mathematicsO net mathematics
O net mathematics
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 
10
1010
10
 
04
0404
04
 
02
0202
02
 
Projectm6
Projectm6Projectm6
Projectm6
 
09
0909
09
 
05
0505
05
 
11
1111
11
 
Pat7.4
Pat7.4Pat7.4
Pat7.4
 
Presentation 2009 offre Social Computing
Presentation 2009 offre Social ComputingPresentation 2009 offre Social Computing
Presentation 2009 offre Social Computing
 

Similar to 07

บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศKriangx Ch
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่ายJenchoke Tachagomain
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”Justice MengKing
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานMintra Pudprom
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานKaRn Tik Tok
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานSoldic Kalayanee
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเขมิกา กุลาศรี
 
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีบทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีchushi1991
 
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีบทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีchushi1991
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChalita Vitamilkz
 
Innovation2
Innovation2Innovation2
Innovation2btusek53
 
การนำนวัตกรรมมาใช้ในการบริหารจัดการศึกษา
การนำนวัตกรรมมาใช้ในการบริหารจัดการศึกษาการนำนวัตกรรมมาใช้ในการบริหารจัดการศึกษา
การนำนวัตกรรมมาใช้ในการบริหารจัดการศึกษาbtusek53
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารnatsuda_naey
 
Ch5 e-learning-text
Ch5 e-learning-textCh5 e-learning-text
Ch5 e-learning-textChangnoi Etc
 
ใบความรู้แผนที่ 2
ใบความรู้แผนที่  2ใบความรู้แผนที่  2
ใบความรู้แผนที่ 2Warakon Phommanee
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศYongyut Nintakan
 
M-learning เอ็มเลิร์นนิ่ง
M-learning เอ็มเลิร์นนิ่งM-learning เอ็มเลิร์นนิ่ง
M-learning เอ็มเลิร์นนิ่งDr Poonsri Vate-U-Lan
 

Similar to 07 (20)

Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
 
Part1
Part1Part1
Part1
 
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีบทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
 
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีบทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Innovation2
Innovation2Innovation2
Innovation2
 
การนำนวัตกรรมมาใช้ในการบริหารจัดการศึกษา
การนำนวัตกรรมมาใช้ในการบริหารจัดการศึกษาการนำนวัตกรรมมาใช้ในการบริหารจัดการศึกษา
การนำนวัตกรรมมาใช้ในการบริหารจัดการศึกษา
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Ch5 e-learning-text
Ch5 e-learning-textCh5 e-learning-text
Ch5 e-learning-text
 
ใบความรู้แผนที่ 2
ใบความรู้แผนที่  2ใบความรู้แผนที่  2
ใบความรู้แผนที่ 2
 
17[1]
17[1]17[1]
17[1]
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
 
M-learning เอ็มเลิร์นนิ่ง
M-learning เอ็มเลิร์นนิ่งM-learning เอ็มเลิร์นนิ่ง
M-learning เอ็มเลิร์นนิ่ง
 

More from thebam29

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์thebam29
 
O net thai
O net thaiO net thai
O net thaithebam29
 
O net Social
O net SocialO net Social
O net Socialthebam29
 
O net science
O net scienceO net science
O net sciencethebam29
 
O net physical education-art-occupation&technology
O net physical education-art-occupation&technologyO net physical education-art-occupation&technology
O net physical education-art-occupation&technologythebam29
 
O net english
O net englishO net english
O net englishthebam29
 

More from thebam29 (16)

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 
16
1616
16
 
15
1515
15
 
14
1414
14
 
08
0808
08
 
03
0303
03
 
O net thai
O net thaiO net thai
O net thai
 
O net Social
O net SocialO net Social
O net Social
 
O net science
O net scienceO net science
O net science
 
16
1616
16
 
15
1515
15
 
14
1414
14
 
O net physical education-art-occupation&technology
O net physical education-art-occupation&technologyO net physical education-art-occupation&technology
O net physical education-art-occupation&technology
 
O net english
O net englishO net english
O net english
 

07

  • 1. ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ ใช้ งาน” ความหมาย การประยุกต์ใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบน ได้มีการนามาใช้ในหลายสาขาวิชาชีพ ทั้ง ั ในด้านการศึกษา ด้านธุรกิจอุตสาหกรรม ด้านการแพทย์ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่ออานวย ความสะดวกในการประกอบธุรกิจ การทางาน การศึกษาหาความรู ้ ทาให้คุณภาพชีวตของคนในสังคม ิ ปัจจุบนดีข้ ึน นอกจากนี้หน่วยงานราชการต่างๆ ก็นาเทคโนโลยีสารสนเทศและ ระบบคอมพิวเตอร์ เข้า ั ั มาอานวยความสะดวกให้กบประชาชน ในการติดต่อประสานงานกับทางราชการ และในธุรกิจเอกชน ทางด้านการโรงแรม และการท่องเที่ยว ก็ให้บริ การข้อมูลข่าวสาร และบริ การลูกค้าผ่านทางระบบ อินเทอร์เน็ต ทาได้อย่างสะดวกรวดเร็วทันเหตุการณ์ ประยุกต์ ใช้ ในงานด้ านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศที่นามาใช้สาหรับการเรี ยนการสอน เป็ นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลาย อย่าง สอนด้วยสื่ ออุปกรณ์ที่ทนสมัย ห้องเรี ยนสมัยใหม่ มีอุปกรณ์วดีโอโปรเจคเตอร์ (Video Projector)มี ั ิ เครื่ องคอมพิวเตอร์ มีระบบการอ่านข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์แบบต่าง ๆ รู ปแบบของสื่ อที่นามาใช้ในด้านการ เรี ยนการสอน ก็มีหลากหลาย ขึ้นอยูกบความเหมาะสมในการนามาใช้ เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ่ ั อิเล็กทรอนิกส์บุค วิดีโอเทเลคอนเฟอเรนซ์ ระบบวิดีโอออนดีมานด์ การสื บค้นข้อมูลในคอมพิวเตอร์ และระบบอินเทอร์เน็ต เป็ นต้น - คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เป็ นการนาเอาเทคโนโลยี รวมกับการออกแบบโปรแกรมการสอน มาใช้ ช่วยสอน ซึ่งเรี ยกกันโดยทัวไปว่าบทเรี ยน CAI ( Computer - Assisted Instruction ) การจัดโปรแกรมการ ่ สอน โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ในปัจจุบนมักอยูในรู ปของสื่ อประสม (Multimedia) ซึ่งหมายถึง ั ่ นาเสนอได้ท้ งภาพ ข้อความ เสี ยง ภาพเคลื่อนไหวฯลฯ โปรแกรมช่วยสอนนี้เหมาะกับการศึกษาด้วย ั ตนเอง และเปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนสามารถโต้ตอบ กับบทเรี ยนได้ตลอด จนมีผลป้ อนกลับเพื่อให้ผเู ้ รี ยนรู ้ บทเรี ยนได้อย่างถูกต้อง และเข้าใจในเนื้อหาวิชาของบทเรี ยนนั้นๆ
  • 2. - การเรี ยนการสอนโดยใช้ เว็บเป็ นหลัก เป็ นการจัดการเรี ยน ที่มีสภาพการเรี ยนต่างไปจากรู ป แบบเดิม การเรี ยนการสอนแบบนี้ อาศัยศักยภาพและความสามารถของเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็ นการ นาเอาสื่ อการเรี ยนการสอน ที่เป็ นเทคโนโลยี มาช่วยสนับสนุนการเรี ยนการสอน ให้เกิดการเรี ยนรู ้ การ สื บค้นข้อมูล และเชื่อมโยงเครื อข่าย ทาให้ผเู ้ รี ยนสามารถเรี ยนได้ทุกสถานท ีี่และทุกเวลา การจัดการ ี เรี ยนการสอนลักษณะนี้ มีชื่อเรี ยกหลายชื่อ ได้แก่ การเรี ยนการสอนผ่านเว็บ (Web-based Instruction) การฝึ กอบรมผ่านเว็บ (Web-based Trainning) การเรี ยนการสอนผ่านเวิลดไวด์เว็บ (www-based ์ Instruction) การสอนผ่านสื่ อทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-learning) เป็ นต้น - อิเล็กทรอนิกส์ บค คือการเก็บข้อมูลจานวนมากด้วยซีดีรอม หนึ่งแผ่นสามารถเก็บข้อมูล ุ ตัวอักษรได้มากถึง 600 ล้านตัวอักษร ดังนั้นซีดีรอมหนึ่งแผ่นสามารถเก็บข้อมูลหนังสื อ หรื อเอกสารได้ ั มากกว่าหนังสื อหนึ่งเล่ม และที่สาคัญคือการใช้กบคอมพิวเตอร์ ทาให้สามารถเรี ยกค้นหาข้อมูลภายใน ซีดีรอม ได้อย่างรวดเร็วโดยใช้ดชนี สื บค้นหรื อสารบัญเรื่ อง ซีดีรอมจึงเป็ นสื่ อที่มีบทบาทต่อการศึกษา ั ่ อย่างยิง เพราะในอนาคตหนังสื อต่าง ๆ จะจัดเก็บอยูในรู ปซีดีรอม และเรี ยกอ่านด้วยเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่ ่ เรี ยกว่าอิเล็กทรอนิกส์บุค ซีดีรอมมีขอดีคือสามารถจัดเก็บ ข้อมูลในรู ปของมัลติมีเดีย และเมื่อนาซี ดีรอม ้ หลายแผ่นใส่ ไว้ในเครื่ องอ่านชุดเดียวกัน ทาให้ซีดีรอมสามารถขยายการเก็บข้อมูลจานวนมากยิงขึ้นได้ ่ - วิดีโอเทเลคอนเฟอเรนซ์ หมายถึงการประชุมทางจอภาพ โดยใช้เทคโนโลยีการสื่ อสารที่ ทันสมัย เป็ นการประชุมร่ วมกันระหว่างบุคคล หรื อคณะบุคคลที่อยูต่างสถานที่ และห่างไกลกันโดยใช้ ่ สื่ อทางด้านมัลติมีเดีย ที่ให้ท้ งภาพเคลื่อนไหว ภาพนิ่ง เสี ยง และข้อมูลตัวอักษร ในการประชุมเวลา ั เดียวกัน และเป็ นการสื่ อสาร 2 ทาง จึงทาให้ ดูเหมือนว่าได้เข้าร่ วมประชุมร่ วมกันตามปกติ ด้านการศึกษา วิดีโอเทคเลคอนเฟอเรนซ์ ทาให้ผเู ้ รี ยนและผูสอนสามารถติดต่อสื่ อสารกันได้ ผ่านทางจอภาพ โทรทัศน์ ้ และเสี ยง นักเรี ยนในห้องเรี ยน ที่อยูห่างไกลสามารถเห็นภาพและเสี ยง ของผูสอนสามารถเห็นอากับกิริยา ่ ้ ของ ผูสอน เห็นการเคลื่อนไหวและสี หน้าของผูสอนในขณะเรี ยน คุณภาพของภาพและเสี ยง ขึ้นอยูกบ ้ ้ ่ ั ความเร็วของช่องทางการสื่ อสาร ที่ใช้เชื่อมต่อระหว่างสองฝั่งที่มีการประชุมกัน ได้แก่ จอโทรทัศน์หรื อ จอคอมพิวเตอร์ ลาโพง ไมโครโฟน กล้อง อุปกรณ์เข้ารหัสและถอดรหัส ผ่านเครื อข่ายการสื่ อสาร ความเร็วสู งแบบไอเอสดีเอ็น (ISDN)
  • 3. - ระบบวิดีโอออนดีมานด์ (Video on Demand) เป็ นระบบใหม่ที่กาลังได้รับความนิยมนามาใช้ ใน หลายประเทศเช่น ญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริ กา โดยอาศัยเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ความเร็วสู ง ทาให้ผชมตาม ู้ บ้านเรื อนต่าง ๆ สามารถเลือกรายการวิดีทศน์ ที่ตนเองต้องการชมได้โดยเลือกตามรายการ (Menu) และ ั เลือกชมได้ตลอดเวลา วิดีโอออนดีมานด์ เป็ นระบบที่มีศนย์กลาง การเก็บข้อมูลวีดิทศน์ไว้จานวนมาก ู ั โดยจัดเก็บในรู ปแหล่งข้อมูลขนาดใหญ่ (Video Server) เมื่อผูใช้ตองการเลือกชมรายการใด ก็เลือกได้จาก ้ ้ ฐานข้อมูลที่ตองการ ระบบวิดีโอ ออนดีมานด์จึงเป็ นระบบที่จะนามาใช้ ในเรื่ องการเรี ยนการสอน ้ ทางไกลได้ โดยไม่มีขอจากัดด้านเวลา ผูเ้ รี ยนสามารถเลือกเรี ยน ในสิ่ งที่ตนเองต้องการเรี ยนหรื อสนใจได้ ้ - การสื บค้ นข้ อมูล (Search Engine) ปัจจุบนได้มีการกล่าวถึงระบบการสื บค้นข้อมูลกันมาก ั แม้แต่ในเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต ก็มีการประยุกต์ใช้ไฮเปอร์เท็กซ์ในการสื บค้นข้อมูล จนมีโปรโตคอลชนิด ั พิเศษที่ใช้กน คือ World Wide Web หรื อเรี ยกว่า www. โดยผูใช้สามารถเรี ยกใช้โปรโตคอล http เพื่อ ้ เชื่อมโยงเข้าสู่ ระบบไฮเปอร์เท็กซ์ ซึ่งเป็ นฐานข้อมูลในอินเทอร์เน็ต ไฮเปอร์เท็กซ์มีลกษณะเป็ นแบบ ั มัลติมีเดีย เพราะสามารถสร้างเป็ นฐานข้อมูลขนาดใหญ่ ที่เก็บได้ท้ งภาพ เสี ยง และตัวอักษร มีระบบการ ั เรี ยกค้นที่มีประสิ ทธิภาพ โดยใช้โครงสร้างดัชนีแบบลาดับชั้นภูมิ โดยทัวไป ไฮเปอร์เท็กซ์จะเป็ น ่ ฐานข้อมูลที่มีดชนีสืบค้นแบบเดินหน้า ถอยหลัง และบันทึกร่ องรอยของการสื บค้นไว้ โปรแกรมที่ใช้ใน ั การสร้างไฮเปอร์เท็กซ์มีเป็ นจานวนมาก ส่ วนโปรแกรมที่มีชื่อเสี ยงได้แก่ HTML Compossor FrontPage Marcromedia DreaWeaver เป็ นต้น ปัจจุบนเราใช้วิธีการสื บค้นข้อมูล เพื่อนาข้อมูลที่ได้ไปใช้ประกอบใน ั การทาเอกสารรายงานต่าง ๆ ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว - อินเทอร์ เน็ต คือเครื อข่ ายคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยเครื อข่ายย่อย และเครื อข่ายใหญ่ สลับซับซ้อนมากมาย เชื่อมต่อกันมากกว่า 300 ล้านเครื่ องในปัจจุบน โดยใช้ในการติดต่อสื่ อสาร ั ข้อความรู ปภาพ เสี ยงและอื่น ๆ โดยผ่านระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ที่มีผใช้งานกระจายกันอยูทวโลก ู้ ่ ั่ ปัจจุบนได้มีการนาระบบอินเทอร์เน็ต เข้ามาใช้ในวงการศึกษากันทัวโลก ซึ่งมีประโยชน์ในด้านการเรี ยน ั ่ การสอนเป็ นอย่างมาก
  • 4. ประยุกต์ ใช้ ในงานทะเบียนของสถานศึกษา - งานรับมอบตัว ทาหน้าที่ตรวจสอบหลักฐานที่นกศึกษานามารายงานตัว จากนั้นก็จดเก็บประวัติ ั ั ภูมิหลังนักศึกษา เช่น ภูมิลาเนา บิดามารดา ประวัติการศึกษา ทุนการศึกษา ไว้ในแฟ้ มเอกสารข้อมูล ประวัตินกศึกษา ั - งานทะเบียนเรี ยนรายวิชา ทาหน้าที่จดรายวิชาที่ตองเรี ยนให้ก ั บนักศึกษา ในแต่ละภาคเรี ยนทุก ั ้ ชั้นปี ตามแผนการเรี ยนของแต่ละแผนก แล้วจัดเก็บไว้ในแฟ้ มข้อมูลผลการเรี ยน - งานประมวลผลการเรี ยน ทาหน้าที่นาผลการเรี ยนจากอาจารย์ผสอนมาประมวลในแต่ละภาค ู้ เรี ยน จากนั้นก็จดเก็บไว้ในแฟ้ มเอกสารข้อมูลผลการเรี ยน และแจ้งผลการเรี ยนให้ผที่เกี่ยวข้องทราบ ั ู้ - งานตรวจสอบผู้จบการศึกษา ทาหน้าที่ตรวจสอบรายวิชา และผลการเรี ยน ที่นกศึกษาเรี ยนตั้งแต่ ั เริ่ มต้น จนกระทังจบหลักสู ตร จากแฟ้ มเอกสาร ข้อมูลผลการเรี ยน ว่าผ่านเกณฑ์การจบหรื อไม่ ่ - งานส่ งนักศึกษาฝึ กงาน ทาหน้าที่หาข้อมูลจากสถานที่ฝึกงาน ในแต่ละแห่งว่าสามารถรองรับ จานวน นักศึกษาที่จะฝึ กงานในรายวิชาต่าง ๆ ได้เป็ นจานวนเท่าใด จากนั้นก็จดนักศึกษา ออกฝึ กงานตาม ั รายวิชา ให้สอดคล้องกับจานวนที่สถานประกอบการต้องการ ประยุกต์ ใช้ ในห้ างสรรพสิ นค้ าและสาขาย่ อย ่ ่ ั่ เนื่องจากห้างสรรพสิ นค้า เป็ นศูนย์การค้าขนาดใหญ่ มีอยูหลายสาขาที่จดจาหน่ายอยูทวประเทศ มี ั ซัพพลายเออร์กว่าพันราย และมีพนักงานอยูหลายพันคน ดังนั้นข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และการตัดสิ นใจต้องทา ่ อย่างรวดเร็ วเพื่อให้ทนต่อเหตุการณ์ ดังนั้นการที่ตองใช้เทคโนโลยีจึงเป็ นสิ่ งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ การใช้ ั ้ เครื่ องคอมพิวเตอร์และเครื่ องอ่านบาร์โค้ดจึงมีความจาเป็ นฝ่ ายเทคโนโลยีสารสนเทศจะเป็ นฝ่ าย ่ สนับสนุน สิ่ งสาคัญที่สุดคือ เราต้องให้ความมันใจได้วา ระบบจะต้องทางานได้ไม่มีปัญหาขัดข้อง ่ ปัจจุบนระบบการเชื่อมต่อห้างสรรพสิ นค้าจะเป็ นแบบสอง ลักษณะคือในต่างจังหวัดจะใช้การเชื่อมต่อ ั
  • 5. ผ่านดาวเทียม ในกรุ งเทพจะใช้การเชื่อมต่อแบบออนไลน์ ซึ่งจะมีการรับส่ งข้อมูลกันทุกวัน ในส่ วนของ ไอที นอกจากจะต้องทาให้ระบบ สามารถทางานได้ตลอดเวลาแล้ว ยังต้องมันใจด้วยว่าข้อมูลที่รับส่ งกัน ่ นั้นมีความถูกต้อง ซึ่งในแต่ละวันมีขอมูลมาก ที่จะต้องผ่านการประมวลผลให้แก่ผบริ หารเพื่อใช้ ้ ู้ ่ ประกอบการตัดสิ นใจ ไม่วาจะเป็ นข้อมูลยอดขายข้อมูลสต็อกและข้อมูลต่างๆ ที่ ผูบริ หารต้องการ ้ ประยุกต์ ใช้ ในงานสาธารณสุ ขและการแพทย์ เทคโนโลยีสารสนเทศได้รับการนามาใช้ในการพัฒนา ด้านสาธารณสุ ขอย่างกว้างขวาง และทาให้ งานด้าน สาธารณสุ ขเจริ ญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว โดยกระทรวงสาธารณสุ ข ได้ปรับระบบการบริ หารงาน และนาเทคโนโลยี สารสนเทศมาใช้ในงานต่างๆ ดังนี้ - ด้ านการลงทะเบียนผู้ป่วย ตั้งแต่เริ่ มทาบัตร จ่ายยา เก็บเงิน - การสนับสนุนการรั กษาพยาบาล โดยการเชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ของโรงพยาบาล ต่างๆ เข้า ด้วยกัน สามารถสร้างเครื อข่ายข้อมูลทางการแพทย์ แลกเปลี่ยนข้อมูลของผูป่วย ้ - สามารถให้ คาปรึ กษาทางไกล โดยแพทย์ผเู ้ ชี่ยวชานาญ เทคโนโลยีสารสนเทศ จะช่วยให้แพทย์ สามารถเห็นหน้า หรื อท่าทางของผูป่วยได้ ช่วยให้ส่งข้อมูลที่เป็ นเอกสาร หรื อภาพเพื่อประกอบการ ้ พิจารณาของแพทย์ได้ - เทคโนโลยีสารสนเทศจะช่ วยในการ ให้ ความรู้ แก่ ประชาชนของแพทย์ หรื อหน่วยงาน สาธารณสุ ขต่างๆ เป็ นไปด้วยความสะดวก รวดเร็ว ได้ผลขึ้น โดยสามารถใช้สื่อต่างๆ เช่นภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหวมีเสี ยงและอื่นๆ เป็ นต้น - เทคโนโลยีสารสนเทศ ช่ วยให้ ผ้ บริ หารสามารถกาหนดนโยบาย และติดตามกากับการ ู ดาเนินงานตามนโยบายได้ ดียิ่งขึน โดยอาศัยข้อมูลที่ถูกต้องฉับไว และข้อมูลที่จาป็ น ทั้งนี้อาจใช้ ้ คอมพิวเตอร์เป็ นตัวเก็บข้อมูลต่างๆ ทาให้การบริ หารเป็ นไปได้ดวยความรวดเร็ว ถูกต้องมากยิงขึ้น ้ ่ - ในด้ านการให้ ความรู้ หรื อการเรี ยน การสอนทางไกล เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเฉพาะ ดาวเทียม จะช่วยให้การเรี ยนการสอนทางไกล ทางด้านการแพทย์และสาธารณะสุ ข เป็ นไปได้มากขึ้น ประชาชนสามารถเรี ยนรู ้พร้อมกันได้ทวประเทศและ ยังสามารถโต้ตอบหรื อถามคาถามได้ดวย ั่ ้
  • 6. ประยุกต์ ใช้ ในงานด้ านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กลุ่มนักวิทยาสตร์ วิศวกรที่ตองการศึกษาพฤติกรรมบางอย่างของสิ่ งมีชีวต รวมถึงสิ่ งแวดล้อม ้ ่ ต่างๆ เช่นศึกษาการกระจายถิ่นที่อยูของนก การกระจายของแบคทีเรี ย การสร้างอาณาจักรของมด ผึ้ง ชีวต ิ ่ ความเป็ นอยูของสัตว์ป่าต่าง ๆ การพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ตลอดจนระบบนิเวศวิทยา ความสนใจใน ่ การจาลองความเป็ นอยูของ สิ่ งมีชีวตได้มีมานานแล้ว เริ่ มตั้งแต่ครั้ง จอห์น พอยเมน ผูเ้ ป็ นนักคณิ ตศาสตร์ ิ เสนอแนวคิดการทาให้เครื่ องจักรทางานโดยอัตโนมัติภายใต้โปรแกรม ซึ่งเป็ นรากฐานของเครื่ อง คอมพิวเตอร์ จนถึงปั จจุบนเกมแห่งชีวตจึงเกิดขึ้น ั ิ ประยุกต์ ใช้ ในงานด้ านการสื่ อสารและโทรคมนาคม เทคโนโลยีของการสื่ อสารและโทรคมนาคมในปั จจุบนก้าวไกลไปมาก มีบริ การมากมายที่ ั ทันสมัยและตอบรับกับการนามาประยุกต์ใช้ในการดาเนินธุรกิจ ตัวอย่างการใช้โทรศัพท์ในปัจจุบนนี้กมิ ั ็ ไดมีไว้เพียงสาหรับคุยสนทนาเพียงอย่างเดียวอีกต่อไป แต่มนสามารถช่วยงานได้มากขึ้น โดยอ้างอิง ั ข้อมูลและการเปิ ดให้บริ การของบริ ษท มีติดต่อสื่ อสารผ่านดาวเทียมทั้งภาพและเสี ยง มีโทรศัพท์มือถือ ั รุ่ นต่าง ๆ ออกมามากมาย พัฒนาทั้งหน่วยงานของภาครัฐและเอกชน เช่นเทเลคอม เอเชีย คอร์ปอร์เรชัน ่ จากัด (มหาชน) ซึ่งเป็ นผูวางแผนการก่อสร้าง และติดตั้งขยายบริ การโทรศัพท์พ้ืนฐาน 2.6 ล้านเลขหมาย ้ ครอบคลุมพื้นที่ในเขตกรุ งเทพและปริ มณฑล รวมถึงการซ่อมบารุ งรักษาเป็ นระยะเวลา 25 ปี และเป็ น หนึ่งในผูให้บริ การในปั จจุบน ้ ั ประยุกต์ ใช้ ในงานด้ านการออกแบบผลิตภัณฑ์ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศด้านการออกแบบ ได้มีการนาคอมพิวเตอร์มาช่วยในการ ออกแบบ ( CAD : Computer Aided Design) ออกแบบผลิตภัณฑ์ ออกแบบสิ นค้า และสามารถใช้ คอมพิวเตอร์ช่วยควบคุมกระบวนการผลิต ( CAM : Computer Aided Menufacturing ) เช่นควบคุม อุณหภูมิ ควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ลดแรงงาน โดยใช้คอมพิวเตอร์ควบคุมหุ่นยนต์ทางาน
  • 7. ประยุกต์ ใช้ ในสานักงานภาครัฐและเอกชน ปัจจุบนได้มีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในหน่วยงานภาครัฐและเอกชนต่าง ๆ มากมาย ั เช่น การทาบัตรประจาตัวประชาชน การเกิด การตาย การเสี ยภาษีอากร การทาใบอนุญาตขับรถยนต์ การ จ่ายค่าสาธารณูปโภคต่างๆ การประมวลผลคะแนนเลือกตั้ง ฯลฯ เป็ นต้น งานเหล่านี้ได้มีการนาระบบ สานักงานอัตโนมัติเข้ามาใช้ เพื่อทาให้ได้ขอมูลข่าวสารที่รวดเร็ ว และยังตอบสนองกับการบริ หารยุคใหม่ ้ ที่ตองใช้ขอมูลเป็ นหลักในการบริ หารจัดการ ้ ้ กล่าวโดยสรุปคือ ได้มีการนาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในหน่วยงานต่าง ๆ ่ ่ เกือบทุกวงการ ทั้งภาครัฐและเอกชนไม่วาจะอยูในรู ปของบุคคลหรื อองค์กรใด ๆ ก็ตาม ฉะนั้นจึงจาเป็ น อย่างยิงที่จะต้องมีการศึกษาทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ในหน่วยงานด้านการศึกษาก็มีความตื่นตัว ่ และเปิ ดทาการเรี ยนการสอนในหลักสู ตรดังกล่าว ทั้งในระดับ อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา และเป็ น สาขาวิชาที่มีนกศึกษา ให้ความสนใจ กันมากเนื่องจากยังมีตลาดแรงงานรองรับมากนันเอง ั ่ http://forum.datatan.net/index.php/topic,126.msg126.html Yupparaj Wittayalai School, Chiang Mai Class 6/14 Kornkawin Auttawut Number 11 Pasida Wattanarat Number 17 Sureerat Kaewfoo Number 28