SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
สรุปสาระสําคัญ EA 734
                                        การบริหารสถานศึกษา ( Educational Administration )
                                                                                                                   โดย..นายอลงกรณ สุขสังข
                                                                                                              สาขาวิทยบริการ ฯ จังหวัดบุรีรัมย
ยุทธศาสตรการพัฒนาสถานศึกษาสูมาตรฐาน
    1. พัฒนาบุคลากร - ไดแก ผูบริหาร ครู ผูปกครอง กรรมการสถานศึกษา สรางความรูความเขาใจใหทุกคนตระหนักวาเปนภาระกิจที่ตองทํา
                                  
รวมกัน
   2. จัดโครงสรางขององคกร - ดูภาพรวม กําหนดพรรณางาน จัดบริหารวิชาการ ถาโครงสรางไมชัดเจนโรงเรียนจะมีปญหา กระบวนการจัด
โครงสรางเริ่มจากการศึกษาสภาพปจจุบน จัดทําคูมือการพรรณางาน คือกําหนดบทบาทหนาที่ของบุคลากรแตละฝายดูวาซ้ําซอน/ตกหลนหรือไม ให
                                      ั         
ควบคุมงานงาย
    3. พัฒนาระบบการบริหาร - ผูบริหารตองปรับเปลี่ยนกระบวนการบริหร ตองกระจายอํานาจใหบคลากรในโรงเรียนมีสวนรวม รวมทั้ง
                                                                                                    ุ
บุคคลภายนอก เชน ผูปกครอง ชุมชน มีสวนรวม
                      
    4. พัฒนาการจัดการเรียนรู - ผูบริหารตองทําความเขาใจกับครูเรื่องหลักสูตร ซึ่งเปนหัวใจสําคัญของการพัฒนา ทําความเขาใจเรื่องการจัดการ
เรียนรู การสอนแบบบูรณาการ การจัดการเรียนรูถอเปนมาตรฐานของครู ผูบริหาร นักเรียน และเปนมาตรฐานของการประเมินภายนอก ( ดู พรบ.42 ม.
                                                  ื
22 ) ผูบริหารตองมีความรู ความสามารถในกระบวนการนิเทศภายใน
   5. พัฒนาสือเทคโนโลยีและแหลงเรียนรู –การพัฒนาการจัดการเรียนรูจะสําเร็จตองมีสื่อการเรียนรูซึ่งอาจใชวัสดุ/เทคโนโลยี
              ่
การบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน
          การบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน ( SBM ) เปนรูปแบบการบริหารโรงเรียนที่สอดคลองกับแนวทางการบริหารตาม พรบ.การศึกษาแหงชาติ
พ.ศ. 2542 มีลักษณะสําคัญดังนี้
           1) เปนการเนนลักษณะเฉพาะตัวของแตละโรงเรียนที่มีความแตกตางกัน 2) เปนการกระจายอํานาจการบริหารจัดการไปยังโรงเรียนโดยตรง
3) เปนการบริหารแบบมีสวนรวม (Participation) เปนหลักสําคัญ 4) มีความเชื่อวาโรงเรียนบริหารจัดการตนเองได 5) ใหโรงเรียนมีอํานาจและความ
รับผิดชอบโดยตรงตอการดําเนินงานของโรงเรียนดวยตนเอง 6) มีความเชื่อวาโรงเรียนมิใชเพียงเปนหนวยปฏิบัติตามนโยบาย หรือตามแผนงานที่หนวย
เหนือกําหนดเทานั้น แตเปนหนวยปฏิบัติที่สามารถวิเคราะห ปญหา สามารถกําหนดนโยบาย วางแผน และบริหารจัดการไดดวยตนเอง 7) โรงเรียนจะมี
อํานาจมากขึ้นในการตัดสินใจ - การวางแผนพัฒนาโรงเรียน - การจัดการเรียนการสอนและการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน - การพัฒนาบุคลากร
- การจัดการเงินและการงบประมาณ
การบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน มีหลักการสําคัญ ดังนี้
  1. การกระจายอํานาจ คือ การบริหารจัดการไปยังโรงเรียนโดยตรง คณะกรรมการโรงเรียนมีสวนรวมในการตัดสินใจ
  2. การบริหารตนเอง สถานศึกษามีอิสระในการตัดสินใจดวยตนเองมากขึ้น ภายใตการบริหารแบบองคคณะบุคคล รูปแบบการบริหารโรงเรียนตาม
  สภาพความตองการและความจําเปนของโรงเรียน
  3) การบริหารแบบมีสวนรวม ผูมีสวนรวมสามารถกําหนดนโยบายและแผน กําหนดหลักสูตรทองถิน รวมคิดรวมทํา
                                                                                                 ่
  4) ภาวะผูนําแบบเกื้อหนุน เปนภาวะผูนําที่เนนการสนับสนุนและการอํานวยความสะดวก ไมใชสั่งการและชี้นํา
  5) การพัฒนาทั้งระบบ ปรับทั้งเรื่องโครงสรางและวัฒนธรรมองคการ
  6) ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได โรงเรียนตองพรอมรับการตรวจสอบมีองคกรอิสระทําหนาที่ตรวจสอบและถวงดุล
♣ บทบาทของผูบริหารสถานศึกษาที่มีการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน 1) การเปนผูนําทางวิชาการ 2) การบริหารงานแบบมีสวนรวม 3) การ
เปนผูอานวยความสะดวก 4) การประสานความสัมพันธ 5) การสงเสริมพัฒนาครูและบุคลากร 6) การสรางแรงจูงใจ 7) การประเมินผล 8) การ
        ํ
สงเสริมสนับสนุนการวิจัยและการพัฒนา 9) การเผยแพรประชาสัมพันธ 10) การสงเสริมเทคโนโลยี
♣ สมรรถนะที่จาเปนของผูบริหาร 1. สามารถสรางศรัทธาใหแกครูและผูรวมงาน 2. ทํางานเปนทีม 3. เปนผูนําทางวิชาการ 4. มีวิสัยทัศน 5. มี
                  ํ        
ความคิดริเริ่มสรางสรรค 6. มีมนุษยสัมพันธดี 7. มีความรูความสามารถในการบริหาร 8. กลาตัดสินใจกลารับผิดชอบ 9. ซื่อสัตยโปรงใส 10. เปนผู
ประสานงานที่ดี 11. เปนนักประชาธิปไตย 12. เปนผูอํานวยความสะดวกสนับสนุน 13. เปนแบบอยางทีดี  ่
♣ บทบาทของครู - เปนผูรวมงาน เปนผูตดสินใจ เปนผูริเริ่มและเปนผูปฏิบัติ
                                             ั                        
♣ บทบาทผูปกครอง - มีสวนรวมสนับสนุนโรงเรียนและเสนอแนวทางแกปญหา
              
2
                                บทบาทของผูบริหารสถานศึกษาที่มีการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน
       1. การเปนผูนําทางวิชาการ – โดยใหการสงเสริมและสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นนผูเรียนเปนสําคัญ มีการ
วางแผน มีนโยบายและยุทธศาสตรเพื่อการปฏิรปการเรียนรูของสถานศึกษาอยางชัดเจน
                                              ู
       2.การบริหารแบบมีสวนรวม – มีการบริหารอยางอิสระ บริหารงานในรูปแบบของคณะกรรมการสถานศึกษา เนนการมีสวนรวมทั้งครูและบุคลากร
ภายในโรงเรียน บุคคลและหนวยงานภายนอกโรงเรียน
       3. การเปนผูอํานวยความสะดวก - อํานวยความสะดวกใหแกบคลากร เชน หนังสือ ตํารา เทคโนโลยี การจัดสภาพแวดลอมแหงการเรียนรู จัด
                                                                 ุ
บรรยากาศของโรงเรียนใหอบอุนใหผูเรียนรักที่จะเรียนรู
       4.การประสานความสัมพันธ - มีการประสานงานและสรางความสัมพันธอนดีกับทุกฝายที่เกี่ยวของทั้งในและนอกสถานศึกษา เพือสรางเครือขาย
                                                                              ั                                                ่
การสนับสนุนในดานตาง ๆ
         5. การสงเสริมการพัฒนาครูและบุคลากร – โดยสงเสริมใหครูเขารับการฝกอบรม ประชุมสัมมนา ไปทัศนศึกษา
       6. การสรางแรงจูงใจ - มีทัศนคติในเชิงบวกกับผูรวมงานมีความยืดหยุนกับการทํางานใหความสําคัญของทีมงานและสรางแรงจูงใจในการทํางาน
ดวยวิธีตาง ๆ
        7.การประเมินผล - - สงเสริมการประเมินผลภายในสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาชาติ
        8. การสงเสริมสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา - โดนสงเสริมและสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเพือสรางกระบวน
                                                                                                ่
การเรียนรูในสถานศึกษาของครูและทีมงาน
      9. การเผยแพรประชาสัมพันธ - การเผยแพรขอมูลขาวสารของโรงเรียนใหชุมชนและสาธารณชนทราบดวยวิธีการที่หลากหลาย เพือสรางความเขาใจ
                                                                                                                             ่
ซึ่งกันและกันและสรางการมีสวนรวมมากขึ้น
     10. การสงเสริมเทคโนโลยี - สงเสริมการใชเทคโนโลยีเพื่อใหทนตอความเจริญกาวหนาทั้งในประเทศและตางประเทศ
                                                                   ั
โรงเรียนนิติบุคคล
ความเปนมา - การบัญญัติใหสถานศึกษาเปน นิตบคคล ในกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 ม.3 “ สถานศึกษาที่จด
                                                   ิ ุ                                                                                   ั
การศึกษาขั้นพืนฐาน ตามมาตรา34(2) เฉพาะที่เปนโรงเรียนมีฐานะเปนนิติบุคคล” นับเปนการปฏิรปการศึกษาครั้งสําคัญของประเทศไทย ซึ่งสอดคลองกับ
               ้                                                                         ู
พรบ. การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิมเติม(ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2545
                                                    ่
วัตถุประสงคของสถานศึกษานิติบคคล     ุ
   1. เพื่อใหสถานศึกษามีอิสระ คลองตัวใหสามารถจัดการศึกษาไดสะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพตามหลักการกระจายอํานาจ
   2. เพื่อใหการจัดการศึกษาเปนไปเพือพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรูและคุณธรรม มีจริยธรรมและ
                                          ่
        วัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข
                                                       
การบริหารจัดการของสถานศึกษา ซึ่งมีหนาที่ใหบริการการศึกษาแกประชาชนและเปนสถานศึกษาของรัฐ จึงตองนําหลักวาดวยการบริหารกิจการ
บานเมืองที่ดี ซึ่งเรียกกันทั่วไปวา “ ธรรมาภิบาล ” มาบูรณาการใชในการบริหารและจัดการศึกษา หลักการดังกลาว ไดแก หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม
หลักความโปรงใส หลักการมีสวนรวม หลักความรับผิดชอบ หลักความคุมคา
หลักธรรมาภิบาล ซึ่งมีหลักการสําคัญอยู 6 ประการ ดังนี้
1. หลักนิติธรรม – ใชกฎหมายเปนเครื่องมือในการปฏิบัติงาน โดยคํานึงถึงผลทีจะเกิดขึ้นตอนักเรียนและประชาชนเปนสําคัญ 2. หลักคุณธรรม - ยึด
                                                                           ่
มั่นในความถูกตองดีงามในการปฏิบัติหนาที่เปนตัวอยางแกสังคม มีความซื่อสัตย จริงใจ อดทน มีระเบียบวินัย ประกอบอาชีพที่สุจริต 3. หลักความ
โปรงใส - การทํางานทุกขั้นตอนตองยึดหลักโปรงใส เพื่อสรางความไววางใจซึ่งกันและกัน ตรวจสอบไดใหโอกาสประชาชนเขาถึงขอมูลขาวสารได
สะดวก 4. หลักการมีสวนรวม - เปดโอกาสใหประชาชนและผูเกี่ยวของทุกฝายเขามาและเสนอความเห็นในการตัดสินใจปญหาสําคัญในการบริหารและ
จัดการศึกษา        5. หลักความรับผิดชอบ - ตระหนักในสิทธิและหนาที่ของตนเองและผูอื่น สํานึกและรับผิดชอบในการตัดสินใจที่สงผลตอการพัฒนา
                                                                                      
คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ยอมรับผลจากการกระทําของตนเอง 6.หลักความคุมคา – มีการบริหารจัดการและใชทรัพยากรอยางประหยัดและเกิด
ประโยชนสูงสุดตอการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ลักษณะการบริหารตามแนวปฏิรูป พ.ร.บ.การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542
     1.   เปนการบริหารแบบมีสวนรวม / การบริหารโดยองคคณะบุคคล
     2.   เปนการบริหารที่เนนการดําเนินการจัดการศึกษา เพือพัฒนาคุณภาพการศึกษาองผูเรียน
                                                          ่
     3.   เปนการบริหารทีใชบุคลากรมืออาชีพ -วิสัยทัศนเปนผูนํามนุษยสัมพันธ – มีใบประกอบวิชาชีพ – มีการพัฒนาตนเองเสมอ
                          ่
     4.   เปนการบริหารทีตองมีการตรวจสอบและประเมินตามมาตรฐาน – ภายใน - ภายนอก
                            ่
3
      5. เปนการบริหารที่เนนเปนพิเศษที่สถานศึกษา ใชการกระจายอํานาจการบริหาร 4 ดาน –( การบริหารวิชาการ,การบริหารงบประมาณ,การบริหาร
          บุคลากร , การบริหารทั่วไป)
      6. เปนการบริหารที่เนนการกระจายอํานาจ ใหทองถิ่น ( เขตพื้นที่การศึกษา – สถานศึกษา )
                                                   
      7. เปนการบริหารทีตองอาศัยองคกรวิชาชีพ ( สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา , องคกรกลางบริหารงานบุคคล)
                           ่
      8. เนนคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพมากขึน    ้
      9. เปนการบริหารที่เนนความทัดเทียมกัน(ดานปริมาณ , งบประมาณ )
      10. เปนการบริหารทีตองประกันคุณภาพใหแกผูมีสวนไดเสีย ( ผูเรียน ผูปกครอง ชุมชน สังคม )
                         ่
คุณลักษณะของผูบริหารสถานศึกษามืออาชีพ
      ความเปนผูนําที่เขมแข็ง เปนผูนําการเปลี่ยนแปลง หมายถึง สามารถชักนําหรือสรางแรงจูงใจใหผูรวมงานเกิดการเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติงานทาง
                
การศึกษาใหเปนไปตามเปาหมาย เปนผูมีวิสัยทัศน มีเปาหมายทางศึกษา เปนแบบอยางที่ดีของบุคลากรในสถานศึกษา มีบุคลิกภาพทีดี มีปฏิภาณไหว
                                                                                                                              ่
พริบดี มีการตัดสินใจและแกปญหาไดดี มีมนุษยสัมพันธดี มีความรับผิดชอบสูง มีใจเปดกวางพรอมที่จะรับฟงผูอื่น มีความซื่อสัตยสุจริต ยุติธรรม มี
                                                                                                            
คุณธรรมจริยธรรม มีความวิริยะอุตสาหะ อดทน เสียสละ มีความสม่ําเสมอมั่นคง มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความสามารถในการสื่อสาร มีความกลา
ในการพูดและการปฏิบัติ มีความตื่นตัวอยูเสมอ มีสุขภาพดี เปนผูประสานงานทีดี เปนนักพัฒนาและนักบริการสังคม รูจักพึ่งพาตนเองและสังคม มี
                                                                           ่
ความเปนประชาธิปไตย มีความรักในสถาบันของชาติ และอนุรักษศานา ศิลปะ วัฒนธรรม ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
การประกันคุณภาพการศึกษา
     พรบ.การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ไดกําหนดใหมีการประกันคุณภาพการศึกษา ไวในมาตราตาง ๆ ดังนี้
      ม. 47 ระบุใหมีการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ประกอบดวย 1) ระบบการประกันคุณภาพภายใน
2) ระบบการประกันคุณภาพภายนอก
      ม. 48 ใหถือวาการประกันคุณภาพภายในเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาเพื่อที่สถานศึกษาตองดําเนินการอยางตอเนื่อง โดยมีการ
จัดทํารายงานประจําปเสนอตอหนวยงานตนสังกัด – หนวยงานที่เกี่ยวของ – เปดเผยตอสาธารณชน
      ม. 49 กําหนดใหสถานศึกษาทุกแหงตองไดรบการประเมินคุณภาพภายนอกอยางนอย 1 ครั้ง ในทุก 5 ป
                                                   ั
การประกันคุณภาพการศึกษา การประกันคุณภาพ มี 2 ประการ คือ
1. การประกันคุณภาพภายใน หมายถึง การประเมินผลและการดําเนินการตรวจสอบคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายใน โดย
บุคลากรของสถานศึกษาเอง หรือโดยหนวยงานตนสังกัด เชน เขตพืนที่ สพฐ. กระทรวง ก็ถอเปนหนวยงานภายในเชนกัน
                                                                 ้                      ื
กระบวนการประกันคุณภาพภายใน
 1. การเตรียมการ – 1) เตรียมความพรอมของบุคลากร – สรางความตระหนัก – สรางเสริมความรู - กําหนดความรับผิดชอบ
     2) ศึกษาขอมูลสารสนเทศ – ผลการดําเนินงานทีผานมา –นโยบายหนวยงานตนสังกัด –ขอมูลสารสนเทศโรงเรียนตนเอง - ฯลฯ
                                                     ่
2. การดําเนินการ – 1) Plan – จัดทําธรรมนูญโรงเรียน/แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2) Do – การปฏิบัตตามแผน – สนับสนุนสงเสริมอํานวยความสะดวก
                                                                                                 ิ
และนิเทศงานอยางตอเนื่อง 3) Check – การประเมินตนเอง – สรางจิตสํานึก – สรางทีมงาน - ประเมินอยางตอเนื่อง – ใหชุมชนมีสวนรวม ติดตาม
แลกเปลี่ยนประสบการณ – จัดสรรทรัพยากร 4) Action -การปรับปรุง/นําไปใช -ผูเรียนนําไปใชพัฒนาตนเอง –ครูนําไปพัฒนาการสอน – ผูบริหารนําไป
ควบคุมคุณภาพ– หนวยงานตนสังกัดนําไปวางแผน– ผูปกครอง/ชุมชนใหความรวมมือชวยเหลือ
3. การรายงานผลการปฏิบัติงาน – 1) ผูเรียน,ผูปกครอง 2) กรรมการสถานศึกษา/ชุมชน 3) ครูและหนวยงานที่เกี่ยวของ
2. การประกันคุณภาพภายนอก หมายถึง การประเมินผลและติดตามการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก โดย
สํานักงานรับรองมาตรฐานแบละประเมินคุณภาพการศึกษา ( สมศ. ) หรือบุคคล หรือ หนวยงานภายนอกที่ สมศ. รับรอง เพื่อเปนการประเมินคุณภาพ
และใหมีการพัฒนาคุณธรรมและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
กระบวนการประกันคุณภาพการศึกษา
1. การควบคุมคุณภาพการศึกษา ( Quality Control )
   - ใหความรูความเขาใจ สรางความตระหนักแกบคลากร - จัดทําขอมูลสารสนเทศของโรงเรียน
                                                       ุ
   - จัดทํามาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน ครูและผูบริหารตองแมนในมาตรฐาน
   - จัดทําคูมือดําเนินการประกันคุณภาพ เพื่อใหทกคนเขาใจตรงกัน - จัดทําธรรมนูญโรงเรียน จัดทําแผนปฏิบัติการประจําป
                                                 ุ
   - ดําเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
2. การตรวจสอบ ทบทวนและปรับปรุงคุณภาพ( Internal Quality Audit and Intervention )
    - กําหนดรูปแบบการประเมินตนเอง สรางเครื่องมือประเมินตนเอง ดําเนินการประเมินตนเอง
4 - สรุปและรายงานผลตอผูบริหารโรงเรียน
    - วิเคราะหผลการประเมินเพือปรับปรุงพัฒนา ดําเนินการปรับปรุงการพัฒนา
                              ่
    - จัดทํารายงานประจําป และพรอมรับการตรวจสอบจากหนวยงานตนสังกัด
 3. การประเมินและรับรองคุณภาพจากภายนอก ( Quality Accreditation ) โดยองคกรภายนอกที่รับรองโดย สมศ.
 จุดประสงคของการประกันคุณภาพการศึกษา
           1. เพื่อพัฒนาโรงเรียนใหมีคุณภาพมาตรฐาน 2. เพื่อใหครู ผูปกครอง ชุมชน สังคม เกิดความเชื่อมันวาโรงเรียนสามารถจัดการและ
                                                                                                       ่
               พัฒนาผูเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ และผูเรียนมีคณภาพตามมาตรฐานของหลักสูตร
                                                                ุ
 การดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษา ภาระงานของสถานศึกษาในการประกันคุณภาพการศึกษา มีดังนี้
        1. การศึกษาและเตรียมการ - ตั้งคณะทํางาน - การใหคําปรึกษา - การแตงตั้งคณะกรรมการ
       2. การวางแผนประกันคุณภาพการศึกษา - การจัดทําขอมูลพื้นฐาน - การจัดทํามาตรฐานคุณภาพของผูเรียน
     - การจัดทําธรรมนูญโรงเรียนที่มีแผนยุทธศาสตรในการพัฒนาโรงเรียน - การจัดทําแผนปฏิบัติการ - การจัดทํามาตรฐานการปฏิบัติงาน
      3. การดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษา - ทบทวนแผน - พัฒนาบุคลากร - จัดสิ่งอํานวยความสะดวก - ดําเนินการ - นิเทศ กํากับ
 ติดตาม และประเมินผล
     4. การตรวจสอบ ทบทวนคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน (ประเมินภายใน) - เตรียมการ - ตรวจสอบประเมิน - สรุปรายงาน
     5. การพัฒนาและปรับปรุง              6. การเตรียมการรับการประเมินจากหนวยงานภายนอกที่รับรองโดย สมศ.
                                                 การบริหารงานวิชาการ ( Academic Area )
       การบริหารงานวิชาการ หมายถึง การบริหารกิจกรรมทุกชนิดในสถานศึกษา ซึ่งเกี่ยวของกับการปรับปรุง พัฒนาการเรียนการสอนใหเกิดผลตาม
 เปาหมายของหลักสูตรอยางมีประสิทธิภาพ
      การบริหารงานวิชาการเปนหัวใจของการบริหารสถานศึกษา ที่ผบริหารตองใหความสําคัญ
                                                            ู
 กิจกรรมหลักของการบริหารงานวิชาการ
    1. หลักสูตรและการบริหารหลักสูตร 2. การจัดกระบวนการเรียนการสอน 3. การนิเทศภายใน
    4. การวัดและประเมินผลการศึกษา 5. การประกันคุณภาพการศึกษา
            งานวิชาการเปนงานหลัก ที่พรบ.การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิมเติม (ฉบับที่ 2 )พ.ศ. 2545 มุงกระจายอํานาจใหสถานศึกษามากที่สุด
                                                                                  ่
 ดวยเจตนาที่จะใหสถานศึกษามีความคลองตัว รวดเร็วและสอดคลองกับความตองการของผูเรียนสถานศึกษา ชุมชน ทองถิ่นและการมีสวนรวมจากผูมี
 สวนไดเสียทุกฝาย
 วัตถุประสงค 1) เพื่อใหสถานศึกษามีอิสระ คลองตัว รวดเร็วและสอดคลองกับความตองการของผูเรียน สถานศึกษา ชุมชน ทองถิน 2) เพื่อใหการ
                                                                                                                              ่
 บริหารและการจัดการศึกษาของสถานศึกษาไดมาตรฐานและมีคุณภาพสอดคลองกับระบบประกันคุณภาพการศึกษา และการประเมินคุณภาพภายในเพื่อ
 พัฒนาตนเอง และการประเมินจากหนวยงานภายนอก 3) เพื่อใหสถานศึกษาพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนรูตลอดจนปจจัยเกือหนุนการพัฒนาการ ้
 เรียนรูที่สนองตามความตองการของผูเรียนชุมชนและทองถินโดยยึดผูเรียนเปนสําคัญไดอยางมีคุณภาพและประสิทธิภาพ 4) เพื่อใหสถานศึกษาได
                                                        ่
 ประสานความรวมมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาและของบุคคล ครอบครัว องคกร หนวยงาน และสถาบันอื่น ๆ
 กระบวนการบริหารงานวิชาการ
       1. การวางแผนพัฒนา หรือการวางแผนเชิงกลยุทธ ประกอบดวย - การกําหนดวิสัยทัศน - การกําหนดภารกิจ หรือพันธกิจ - การกําหนด
 จุดมุงหมาย - การกําหนดกลยุทธ - การกําหนดแผนงาน/โครงการ
       2. การนําแผนไปปฏิบัติ ประกอบดวย - การจัดองคการ (กําหนดหัวหนางาน ผูดําเนินการ ผูรบผิดชอบ)
                                                                                                  ั
 - การสั่งการหรือมอบหมายงาน - การควบคุมงาน - การติดตามกํากับ - การประสานงาน - การนเทศงาน
       3. การประเมินผลการปฏิบัตตามแผน - ประเมินระหวางการดําเนินการ -ประเมินเมื่อสิ้นสุดงาน - การรายงาน
                                   ิ
 แนวคิดเพิ่มเติม
          1. การบริหารที่ดีคือ การมีสวนรวมของบุคลากรในสถานศึกษา 2. การดําเนินงานทุกงานตองมีทีมงานที่มประสิทธิภาพ มีความรูสึกรับผิดชอบ
                                                                                                                  ี
 รวมกัน 3. ผูบริหารงานตองมีความรูสึกวาตนมีบทบาทที่จะตองสงเสริมสนับสนุน การสรางความรูสึกที่ดี การสรางความศรัทธาตองาน
 ขอบขายการบริหารงานวิชาการ
        1. การบริหารหลักสูตร ไดแก - การวิเคราะหหลักสูตรแกนกลาง - การกําหนดมาตรฐานการเรียนรูและสาระการเรียนรูที่เกี่ยวของกับชุมชน
 ทองถิน - การจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา - การจัดทําหนวยการเรียนรู
        ่
2. การบริหารการเรียนการสอน ไดแก - การรวบรวม วิเคราะหและกําหนดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยคํานึงถึงผูเรียนเปนสําคัญ - การกําหนด
                                                                                                                                             5
การเตรียมการ และการจัดหาสื่อการเรียนการสอน - การกําหนดวิธีการประเมินผลการเรียน - การจัดทําแผนการจัดการเรียนรูของครูผูสอนแตละคน -
การควบคุมดูแลและสงเสริมใหมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนการสอน - การรวมกันแกปญหาที่เกิดขึ้น
       3. การบริหารการประเมินผลการเรียน ไดแก - การวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรู - การกําหนดวิธีการและเครื่องมือที่จะใชในการวัดและ
ประเมินผล - การควบคุมดูแลและสงเสริมใหมีการประเมินผลตามทีกําหนดไว -การจัดทําหลักฐาน -การกําหนดรูปแบบ ระยะเวลารายงาน
                                                                  ่
       4. การบริหารการนิเทศภายในสถานศึกษา ไดแก - การทําความเขาใจกับบุคลากรทุกคน - การกําหนดวิธีการและระยะเวลาการนิเทศภายใน -
การควบคุมดูแล สงเสริม - การรวมกันแกไขปญหาที่เกิดขึ้น
       5. การพัฒนาบุคลากรทางวิชาการ ไดแก การวิเคราะหปญหาเกี่ยวกับความรูความสามารถของบุคลากร - การกําหนดชวงเวลาของการพัฒนาเปน
ระยะ - การควบคุมดูแลใหมีการดําเนินการตามที่วางแผนไว
       6. การบริหารการวิจัยและพัฒนา ไดแก - การทําความเขาใจ - การรวมกันกําหนดประเด็นปญหา - การควบคุมดูแลและสงเสริม
       7. การบริหารโครงการทางวิชาการอื่น ๆ ไดแก - การกําหนดหัวขอเรื่องทางวิชาการที่เปนการสนับสนุน - การกําหนดวิธีการและระยะเวลา -
การควบคุมดูแลและสงเสริม
       8. การบริหารระบบขอมูลและสารสนเทศทางวิชาการ ไดแก - การกําหนดขอมูลสารสนเทศทางวิชาการ - การกําหนดเวลาในการรวบรวมขอมูล
- การควบคุมดูแลสงเสริม - การนําขอมูลสารสนเทศไปใช
       9. การบริหารการประเมินผลงานทางวิชาการของสถานศึกษา ไดแก - การกําหนดหัวขอประเมินผลงาน - การกําหนดวิธีการและเครื่องมือในการ
ประเมิน - การควบคุมดูแลสงเสริม - การสรุปผลและเขียนรายงานประจําป
การพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู
       การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา หมายถึง การจัดทําสาระของหลักสูตรในสวนที่เกี่ยวของกับสภาพปญหาในชุมชน สังคม ภูมปญญาทองถิน
                                                                                                                         ิ        ่
คุณลักษณะทีพึงประสงค เพื่อเปนสมาชิกทีดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ
             ่                             ่
ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรระดับสถานศึกษา
    1. ศึกษาองคประกอบของหลักสูตร วากําหนดสาระสําคัญไวอยางไรบาง สอดคลองสัมพันธกันอยางไร
   2. วิเคราะหขอบขายของการเรียนรูทั้งองคประกอบดานความรู ทักษะกระบวนการ คุณธรรม จริยธรรมและคานิยม
   3. ศึกษาสภาพปญหาของชุมชนและสังคม ภูมปญญาทองถิน ความตองการของชุมชนและสังคม
                                                  ิ       ่
   4. ปรับปรุงสาระการเรียนรูเพิ่มเติมในสวนที่ตองจัดใหสอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการของชุมชน
                                                
    5. ตรวจสอบความตองการของสาระการเรียนรูเพิ่มเติมกับมาตรฐานการเรียนรูกลุมวิชาและมาตรฐานหลักสูตรการศึกษาขั้นพืนฐาน
                                                                                                                   ้
 6. วางแผนการจัดการเรียนการสอนตามขอบขายสาระการเรียนรู มาตรฐานการเรียนรู สัดสวน เวลาและหนวยกิตตามทีหลักสูตรแกนกลางกําหนด
                                                                                                             ่
 7. พัฒนาแนวการจัดการเรียนการสอนเพื่อนําไปสูการจัดการเรียนรูในหองเรียน
                                                               
บทบาทของผูบริหารสถานศึกษากับการพัฒนาหลักสูตร
        1. ชี้แจงทําความเขาใจกับคณะครู สรางความตระหนักถึงความสําคัญ
        2. จัดใหมีการใหความรูเรื่องการพัฒนาหลักสูตร และการนําหลักสูตรไปใชจริง
        3. จัดใหครูไดศึกษาวิเคราะหหลักสูตร พ.ศ. 2544 จนเขาใจแลวรวมกันพัฒนาหลักสูตร
        4. สงเสริมและสนับสนุนใหครูพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใชกระบวนการจัดการเรียนรูที่หลากหลาย
ติดตาม ควบคุม กํากับ และประเมินผลการใชหลักสูตรของสถานศึกษา
การวิจัยในชั้นเรียน ( Classroom Research )
        เปนกระบวนการที่นาเชือถือและเปนระบบในการแสวงหาคําตอบ เพราะเปนการคิดคนและพัฒนาที่เปนการแกปญหา ( Problem Solving ) ใน
                               ่                                                                                
สภาพที่เปนจริงในชั้นเรียน เปนกระบวนการทางวิทยาศาสตรที่มุงแสวงหาคําตอบจากปญหาและขอสงสัยของครู เปนการคิดพัฒนานวัตกรรมเพื่อใชใน
การแกปญหาและการเรียนการสอน
     ลักษณะของการวิจัยในชั้นเรียนมีดังนี้
1. ปญหาการวิจัยเกิดจากการทํางานในชั้นเรียนที่เกี่ยวกับการเรียนการสอน 2. ผลจากการวิจัยเปนสิ่งที่ครูสามารถนําไปพัฒนาการเรียนการสอน
3. การวิจัยในชั้นเรียนดําเนินไปพรอมกับการเรียนการสอน
     การวิจัยมีคุณคาดังนี้ 1) ทําใหผูบริหารโรงเรียนและครูไดทราบขอเท็จจริง ซึ่งนํามาปรับปรุงหรือพัฒนาภารกิจทีรับผิดชอบ 2) เปดโอกาสให
                                                                                                                 ่
ไดศกษาคนควาวิทยาการใหม ๆ เปนการสงเสริมความกาวหนากวางขวางขึ้น 3) เปนการแกปญหาไดตรงจุด เปนการประหยัดเวลาและการลงทุน 4)
    ึ
ชวยในการวางแผนการดําเนินการแตละอยางไดอยางถูกตองและประสบความสําเร็จ 5) กระตุนความตระหนัก ความสนใจ ที่มีชวิตชีวา 6) สงเสริมการ
                                                                                                              ี
สรางผลงานเพื่อความกาวหนาของโรงเรียนและตนเอง
   6                                                   การนิเทศภายในสถานศึกษา
          หมายถึง ความพยายามทุกชนิดของผูบริหารในการที่จะปรับปรุง สงเสริมประสิทธิภาพการเรียนการสอนภายในสถานศึกษาใหดีขน เปนการเพิ่ม
                                                                                                                               ึ้
พลังการปฏิบัติงานของครู รวมทั้งใหความกาวหนาในวิชาชีพ ผลสุดทายคือ การศึกษาของเด็กกาวหนาไปอยางมีประสิทธิภาพ
          การนิเทศภายใน มีจดมุงหมายดังตอไปนี้
                             ุ
              1. เพื่อใหสถานศึกษามีศักยภาพในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานหลักสูตร
              2. เพื่อใหสถานศึกษาสามารถบริหารและจัดการเรียนรูไดอยางมีคุณภาพ
              3. เพื่อพัฒนาหลักสูตรและการเรียนรูใหมีประสิทธิภาพสอดคลองกับความตองการของชุมชน สังคม
              4. เพื่อใหบุคลากรไดพัฒนาความรูทกษะและประสบการณในการจัดกิจกรรมการเรียนรู และพัฒนาวิชาชีพ
                                                ั
              5. เพื่อใหสถานศึกษาปฏิรูประบบบริหาร โดยใหทุกคนมีสวนรวมในการคิดตัดสินใจรวมทํารวมรับผิดชอบ
              6. เพื่อใหเกิดการประสานงานและความรวมมือระหวางผูเกี่ยวของ
          ประโยชนของการนิเทศภายใน 1) ทําใหครูสอนไดตามเปาหมาย 2) ทําใหงานวิชาการเปนไปอยางมีระบบและตอเนือง 3) ทําใหบุคลากร
                                                                                                                      ่
มองเห็นความสําคัญของงานวิชาการ เนนคุณภาพของผูเรียน 4)ชวยแกปญหาที่เกิดขึ้นอันจะมีผลกระทบตอคุณภาพการเรียนการสอน
              การนิเทศภายใน เปนการดําเนินการโดยผูบริหารสถานศึกษาและครู ตลอดจนบุคลากรภายในสถานศึกษา รวมกันปรับปรุงงานดานตาง ๆ
เปนการสงเสริมและเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอน อันจะนํามาซึงคุณภาพของสถานศึกษาและของผูเ รียนใหอยูในระดับที่นาพึงพอใจ
                                                                     ่                                                  
การวัดและประเมินผลการศึกษา
    การวัดและประเมินผลการเรียนรู เปนกระบวนการที่ใหผูสอนใชพฒนาคุณภาพผูเรียน สถานศึกษาตองจัดทําหลักเกณฑและแนวปฏิบัติในการวัดและ
                                                                   ั
ประเมินผลการเรียนของสถานศึกษา เพื่อใหบุคลากรทุกฝายไดรวมปฏิบัติไปในแนวทางเดียวกัน
    1) การวัดและประเมินผลระดับชั้นเรียน - เพื่อมุงหาคําตอบวาผูเรียนมีความกาวหนาทั้งดานความรู ทักษะกระบวนการ คุณธรรม และคานิยมอันพึง
ประสงค เพียงใด
    2) การวัดและประเมินผลระดับสถานศึกษา - เปนการประเมินเพื่อตรวจสอบความกาวหนาดานการเรียนรูเปนรายชั้นป และชวงชั้น เพื่อสถานศึกษา
จะไดนําขอมูลทีไดไปใชเปนแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอนและคุณภาพของผูเรียนใหเปนไปตามมาตรฐานความรู รวมทั้งเพื่อตัดสินการ
                 ่
เลื่อนชวงชั้น
  3) การวัดและประเมินผลระดับชาติ - ในชั้น ป.3 ป.6 ม.3 และ ม. 6 ในกลุมสาระ ไทย คณิต วิทย สังคม ฯ อังกฤษ และอื่น ๆ ตามที่
กระทรวงศึกษาธิการกําหนด เพื่อนําขอมูลไปใชในการพัฒนาคุณภาพผูเรียน และคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
                                                    การบริหารงานธุรการในโรงเรียน
                                                    (School Business Management)
         งานธุรการ ไดแก งานที่เกี่ยวกับเอกสารตาง ๆ ทีจําเปนตองปฏิบัตทั้งนี้เปนงานภายในและงานติดตอกับบุคคลหรือหนวยงานภายนอกหรือ
                                                        ่                ิ
เรียกวางานภายนอก เพือใหสามารถดําเนินงานไปอยางมีประสิทธิภาพมากที่สุด
                       ่
ขอบขายงานธุรการ
รศ. ดร.สมพิศ โหงาม : งานธุรการ มี 3 ประเภทใหญ ๆ 1) งานสารบรรณ 2) งานการเงิน 3) งานบริการตาง ๆ
ลักษณะของงานสารบรรณที่ดี
  1. สามารถปฏิบัติไดรวดเร็วและประหยัดเวลา 2. กําหนดวิธีการราง โตตอบ รับ – สง เก็บ คน ทําลายหนังสือได รวดเร็วแมนยํา ชัดเจนถูกตอง
สมบูรณ ประณีต สะอาด มีมาตรฐาน 3. รับลงทะเบียนเก็บรักษาไดถกตองตามระเบียบ เปนระบบ สืบคนและเสนอตอผูบงคับบัญชาไดงาย 4. จัดทํา
                                                                 ู                                              ั
รูปแบบของหนังสือที่ตองจัดทําบอย ๆ เพื่อความรวดเร็ว 5. ใชเครื่องมือหรือเครื่องอํานวยสะดวกเพือความรวดเร็วและถูกตอง
                                                                                            ่
ลักษณะของเจาหนาที่งานสารบรรณที่ดี
1. รูระเบียบงานสารบรรณ 2. รูงานธุรการ 3. รูภาษาไทยเปนอยางดี 4. หัวหนางานสารบรรณตองรูจักปอนงานใหผูใตบังคับบัญชา
                             

                                              การจัดโครงสรางของสํานักงานที่พึงประสงค
จุดประสงคของการจัดสํานักงาน
         1. ใหบริการ สนับสนุน สงเสริม ประสานงาน และอํานวยการใหการปฏิบัติงานของสถานศึกษาใหเปนไปดวยความเรียบรอย มี
             ประสิทธิภาพและประสิทธิผล
2. ประชาสัมพันธ เผยแพรขอมูลขาวสารและผลงานของสถานศึกษาตอสาธารณชน ซึ่งจะกอใหเกิดความรู ความเขาใจ เจตคติที่ดี
                    เลื่อมใส ศรัทธา ไปสูการใหการสนับสนุนในการจัดการศึกษา
สํานักงานคุณภาพ ประกอบดวย
          ผูบริหารบริหารคุณภาพ - หลักธรรมาภิบาล - กระจายอํานาจ - การมีสวนรวม                                                                7
         บุคลากรคุณภาพ - ไดรับการพัฒนา - มีการปรับปรุงพัฒนางาน - มีเจตคติที่ดีตอการบริการ       
         การบริการคุณภาพ - ตอบสนองภารกิจ - บริการสาธารณะ - มีการประเมินผล
         รวดเร็วในการใหบริการ -- มีขอมูลประกอบการตัดสินใจ - โปรงใสตรวจสอบได - ถูกตองตามระเบียบกฎหมาย
             ประสิทธิภาพ ( E – OFFIC ) –สะดวก รวดเร็ว ประหยัด คุมคา กะทัดรัด ขั้นตอนนอย ใชคนนอย ใชเทคโนโลยี
   กระจายอํานาจและการตัดสินใจ - หลักความรับผิดชอบ(เจาภาพ) - ลดขั้นตอนใหสั้นลง - ONE STOP SERVIC
     - กําหนดเวลาแลวเสร็จของงาน - ถูกตองตามระเบียบ กฎหมาย
                                                                    การบริหารงบประมาณ
      การบริหารงบประมาณของสถานศึกษามุงเนนความเปนอิสระ ในการบริหารจัดการมีความคลองตัว โปรงใส ตรวจสอบได ยึดหลักการบริหาร
มุงเนนผลสัมฤทธิและบริหารงบประมาณแบบมุงเนนผลงาน ใหมีการจัดหาผลประโยชนจากทรัพยสินของสถานศึกษา รวมทั้งจัดหารายไดจากบริการมา
                      ์
ใชบริหารจัดการเพื่อประโยชนทางการศึกษา สงผลใหเกิดคุณภาพที่ดขึ้นแกผูเรียน
                                                                       ี
วัตถุประสงค 1) เพื่อใหสถานศึกษาบริหารงานดานงบประมาณมีความเปนอิสระ คลองตัว โปรงใสตรวจสอบได 2) เพื่อใหไดผลผลิต ผลลัพธเปนไป
ตามขอตกลงการใหบริการ 3) เพื่อสถานศึกษาสามารถบริหารจัดการทรัพยากรที่ไดอยางเพียงพอและมีประสิทธิภาพ
 ขอบขาย/ภารกิจ การบริหารงบประมาณ 1) การจัดทําและเสนอของบประมาณ 2) การจัดสรรงบประมาณ 3) การตรวจสอบ ติดตามประเมินผล
และรายงานผลการใชเงินและผลการดําเนินงาน 4) การระดมทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
 5) การบริหารการเงิน 6) การบริหารบัญชี 7) การบริหารพัสดุและสินทรัพยอนที่จัดการศึกษาื่
การบริหารงานงบประมาณและการเงินโรงเรียน ผูที่มีหนาที่เกี่ยวกับการเงินควรจะมีความรูเกี่ยวกับเรื่องตาง ๆ ดังนี้
                1) รูประเภทของเงินที่เกี่ยวของกับโรงเรียน        2) รูเกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวของกับเงินนั้น ๆ
                3) รูวิธีดําเนินการเบิกการรับจายเงินและการเก็บรักษาเงิน 4) รูจักทําการบัญชี ทะเบียน และการใชแบบพิมพตาง ๆ ที่เกี่ยวของ 5) รู
                วิธีการตรวจสอบและการควบคุมดูแลเกี่ยวกับการใชเงินของหนวยงาน
การจัดทํางบประมาณ
          ผูบริหารโรงเรียนควรพิจารณาจัดตั้งงบประมาณโดยยึดหลัก ดังนี้
        1. หลักความขาดแคลน โดยพิจารณาจาก - เกณฑมาตรฐาน - ปริมาณงานใหม
        2. หลักความรีบดวนของปญหา - เรียงลําดับตามความจําเปนเรงดวนของปญหา
          3. หลักการชดเชย - เพื่อชดเชยสิงที่ชํารุดทรุดโทรมที่ไมสามารถซอมแซมได
                                              ่
วิธีการจัดตั้งงบประมาณ
     1. แตงตั้งคณะกรรมการจัดทํางบประมาณ 2. สํารวจความตองการ 3. แยกความตองการออกเปนกิจกรรมตาง ๆ
     4. เรียงลําดับความสําคัญของงบประมารที่ตองการ
                                                 5. กําหนดเงินงบประมาณในแตละรายการ
กลยุทธของสถานศึกษาในการจัดทํางบประมาณ
      1. การศึกษาสภาพของสถานศึกษา - สํารวจวิเคราะหภารกิจหลัก สภาพแวดลอมทั้งภายในและภายนอก
      2. กําหนดทิศทางของสถานศึกษา - เพื่อใหทราบความคาดหวังของสถานศึกษาที่ตองการในอนาคต ดดยการกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ
เปาประสงค 3. กําหนดยุทธศาสตรของสถานศึกษา
ระบบบริหารแบบมุงเนนผลงาน (Performance Management System )
      ระบบการบริหารแบบมุงเนนผลงาน เปนระบบที่เนนการพัฒนาคนใหเพิ่มผลงานใหองคกรทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โดยอาศัยความรวมมือจาก
ทุกคนในองคกร ผลงานของทุกคนจะถูกผูกโยงใหไปสูเปาหมายเดียวกัน
      สํานักงบประมาณ ไดนําระบบงบประมาณแบบมุงเนนผลงานมาใช เพราะเปนระบบครบวงจร ตั้งแตการวางแผน การจัดสรรงบประมาณ การ
จัดการที่เนนผลผลิต (Outputs) และผลลัพธ (Outcomes) ที่เกิดขึ้น
      สิ่งสําคัญในการจัดทํางบประมาณแบบมุงเนนผลงานคือ การวัดการดําเนินการ (Performance measures) ที่เปนการกําหนดหนวยนับในการตรวจวัด
และประเมินผลการดําเนินงาน การวัดผลการดําเนินงานตองชัดเจน สมบูรณ สามารถนําไปใชไดจริงและเหมาะสมกับเวลา โดยใหครอบคลุมถึง -
ปริมาณ คุณภาพ คาใชจาย และประสิทธิผลและทันเวลาตามตองการ
8       หลักการของระบบงบประมาณแบบมุงเนนผลงาน
             1.   กําหนดภารกิจและผลผลิต ผลลัพธ การปฏิบัติงานอยางชัดเจน เปนเงือนไขการไดรบและใชจายเงิน
                                                                                  ่             ั
             2.   ผูบริหารมีอานาจในการดําเนินการตาง ๆ ตามความเหมาะสมและความจําเปน สอดคลองกับภารกิจ
                               ํ
             3.   เมื่อดําเนินการเสร็จสิ้นและประสบผลสําเร็จตามเปาหมายหากมีเงินเหลือใหเก็บไวใชปตอไป
             4.   มีการปรับปรุงระบบการจัดซื้อจัดจาง มีขั้นตอนรัดกุมและโปรงใส
             5.   ปรับปรุงระบบบัญชีและการเงินใหเชื่อมโยงกับการคํานวณความคุมคาเทียบกับผลผลิต
             6.   เนนการรายงานทางการเงินและผลการดําเนินการ เพือความโปรงใสมีประสิทธิภาพประสิทธิผล
                                                                      ่
             7.   กําหนดใหมีการบริหารสินทรัพยทมีอยูใหคุมคาที่สุด
                                                  ี่
แนวทางการจัดทํางบประมาณแบบมุงเนนผลงาน
        1. กําหนดพันธกิจ จุดมุงหมาย และวัตถุประสงคของแตละหนวยงานปฏิบตอยางชัดเจน โดยระบุ – บริการที่จะให - ลําดับความสําคัญของ
                                                                                 ัิ
บริการ - ประโยชนที่จะเกิดขึ้น - กลุมเปาหมายทีจะไดรบประโยชน
                                                    ่      ั
        1) . กําหนดจุดมุงหมายหรือเปาหมาย (Goal) เปนขอความกวางที่อธิบายผลลัพธที่ตองการ เพื่อชี้ทศทางในอนาคต โดยระบุ – ขอความที่เปดกวาง
                                                                                                       ิ
มุงใหเห็นความสําคัญที่แทจริง - กลุมเปาหมายที่จะใหบริการและคนอื่นเขาใจไดงาย - จํานวนทีพอประมาณ เพือกําหนดทิศทางและจุดหมายของ
                                                                                              ่              ่
แผนงาน
         2) . กําหนดวัตถุประสงค (Objective) เปนขอความทีตรวจวัดไดเกี่ยวกับผลสําเร็จของการบริการหรือแผนงานที่คาดวาจะทําภายในระยะเวลาที่
                                                             ่
กําหนด โดยมีลักษณะ -เปนขอความที่เจาะจง - ตรวจวัดได -อยูภายใตเงื่อนไขของเวลา- เปนขอความที่เกี่ยวของกับสิ่งทีไดกระทําเสร็จ
                                                                                                                   ่
        2. การวัดผลการดําเนินงาน - มีความสัมพันธกับวัตถุประสงคและเปาหมายของหนวยงาน - ควรตรวจวัดสิ่งเดี่ยวกันตลอดชวงเวลา - ใชขอมูลที่มี
อยูอยางตอเนือง
               ่
         1. กําหนดเกณฑการตรวจวัดผลการดําเนินงาน - ดานปริมาณ - ดานตนทุน - ดานคุณภาพ - ดานเวลา
         2. กําหนดการวัดผลลัพธ(Outcomes) ไดแกผลกระทบที่ตามมา ซึ่งตองใชเวลาที่ยาวนาน
         3. กําหนดการวัดผลผลิต เปนการวัดผลการดําเนินงานที่เกิดขึ้นจริง โดยเปรียบเทียบกับผลที่ตองการ 

                                                           การบริหารงานบุคคล
         การบริหารงานบุคคลในสถานศึกษาเปนภารกิจที่สําคัญที่มุงสงเสริมใหสถานศึกษาสามารถปฏิบัติงานเพือตอบสนองภารกิจของสถานศึกษาเพื่อ
                                                                                                      ่
ดําเนินการดานการบริหารงานบุคคลใหเกิดความคลองตัว อิสระภายใตกฎหมาย ระเบียบ ตามหลักธรรมาภิบาล ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ไดรับการพัฒนา มีความรู ความสามารถ มีขวัญกําลังใจ ไดรบการยกยองเชิดชูเกียรติ มีความมั่นคงและกาวหนาในวิชาชีพ ซึ่งจะสงผลตอการพัฒนา
                                                          ั
คุณภาพการศึกษาของผูเรียนเปนสําคัญ
ขอบขาย/ภารกิจ การบริหารงานบุคคล 1) การวางแผนอัตรากําลัง (ประเมินความตองการอัตรากําลัง – จัดทําแผนอัตรากําลังของสถานศึกษา -
เสนอแผนอัตรากําลังของสถานศึกษา ไปยังเขตพื้นที่ ) 2) การกําหนดตําแหนงและวิทยฐานะขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ( สํารวจและ
รวบรวมขอมูล – รวบรวมคําขอและผลงานการขอเลือนวิทยฐานะ – ขอกําหนดตําแหนงเพิ่มเติม - เสนอขอเปลี่ยนแปลงการกําหนดตําแหนง - ดําเนินการ
                                                  ่
ตามอํานาจหนาที่ ) 3) การเกลี่ยอัตรากําลังขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 4) การสรรหาและบรรจุแตงตั้ง
ระบบการบริหารงานบุคคล มี 2 ระบบ คือ
    1. ระบบอุปถัมภ - เปนระบบที่เรียกกันวา ระบบพรรคพวก ระบบชุบเลี้ยงชอบพอเปนพิเศษ มีทั้งผลดีและผลเสีย
    2. ระบบคุณธรรม - นิยมเรียก ระบบคุณความดี ระบบความรูความสามารถ ใชหลักการ 1) หลักความเสมอภาค 2) หลักความสามารถ 3) หลัก
ความมั่นคง 4) หลักความเปนกลางทางการเมือง
กระบวนการบริหารงานบุคคล 1. การกําหนดความตองการดานบุคลากร - 1) กําหนดความตองการดานอัตรากําลัง 2) การวิเคราะหงาน
3) การกําหนดลักษณะงาน 4) การกําหนดมาตรฐานความตองการดานกําลัง
  2. การสรรหาบุคลากรเขามาทํางาน - 1) การประกาศรับสมัคร 2) การรับสมัคร 3) การสัมภาษณเบืองตน
                                                                                        ้
   4) การสอบ 5) การสอบสัมภาษณ 6) การตรวจสอบภูมิหลัง 7) การคัดเลือกขั้นสุดทาย 8) การบรรจุแตงตั้ง
3. การจัดบุคคลเขามาทํางาน 1) การปฐมนิเทศ        2) การจัดใหทํางาน 3) การนิเทศงาน 4) การธํารงรักษา
     5) การประเมินผลการปฏิบัตงาน 6) การพิจารณาความดีความชอบ
                              ิ
  4.การพัฒนาบุคคล 1) การฝกอบรม 2) การศึกษาตอ 3) การศึกษาดูงาน 4) การสัมมนา 5) การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ
   5.การใหพนจากงาน 1) การโอนยาย 2) การลงโทษทางวินัย 3) การลาออก พักงาน 4) การลดจํานวนบุคลากร
      5)การเกษียณอายุราชการ 6) การทุพพลภาพ 7) การถึงแกกรรม
                                                                                                                                   9
การใชหลักการบริหาร POSDCORB และ MBO
    POSDCORB ของ Gulick ไดแก Planning –การวางแผน Organization - การจัดองคการ Staffing - การวางตัวบุคคล Directing – การ
อํานวยการ Co – ordinations - การประสานงาน Reporting - การรายงาน Budjeting – การจัดงบประมาณการเงิน
MBO เปนกระบวนการบริหารตามเปาหมาย โดยรวมเอาเทคนิคและปรัชญาของการบริหารเขาดวยกัน และเนนทางดานคุณภาพ
ประกอบดวยขั้นตอน ดังนี้ 1. ผูบริหารและผูใตบังคับบัญชารวมกันกําหนดขอบเขตความรับผิดชอบในผลงานของผูใตบงคับบัญชาทีตองการเจาะจงลงไป
                                                                                                          ั          ่
ขั้นตอนนี้ตองไดรับความยินยอมทังสองฝาย 2. ผูบริหารและผูใตบงคับบัญชาตองตกลงกันถึงมาตรฐานของผลการดําเนินงานสําหรับขอบเขตความ
                                ้                                ั
รับผิดชอบแตละอยาง 3. ผูบริหารและผูใตบังคับบัญชาตองตกลงกันถึงแผนงานที่จะตองสอดคลองกับเปาหมายรวมขององคการเสมอ
วิธีการปกครองบังคับบัญชาบุคลากรในเชิงสรางสรรค
     1.    ใหความยุติธรรมและความเปนธรรม 2. ตั้งอยูในพรหมวิหาร 4 คือ เมตตา กรุณา มุทิตตา อุเบกขา
     3.    ไมทําตัวเปนเจาขุนมูลนาย              4. รับฟงความคิดเห็นของผูใตบังคับบัญชา
     5.    ใหกําลังใจและสงเสริมความกาวหนาของผูนอย 6. ไมใชอารมณในการทํางาน วางตัวใหเหมาะสม
     7.    รูจักใหเกียรติรักษาผลประโยชนของผูนอย
                                                            8. วางมาตรฐานในการทํางานใหแนชัด 9. ปรับตัวใหเขากับงาน
การพัฒนาศักยภาพของบุคลากร อยูบนแนวคิดพื้นฐาน
          1. การพัฒนา ฯ จะตองดําเนินการอยางตอเนื่อง เปนระบบ สอดคลองกับความตองการของครู สถานศึกษา หนวยงาน
          2. การพัฒนา ฯ ควรมีเปาหมายสําคัญที่การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ใหครูนําหลักสูตรการศึกษา แไปสูการปฏิบัติจริง
      3. การพัฒนา ฯ เพื่อเสริมสรางความรูและทักษะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ควบคูไปกับการสรางแรงจูงใจ การเสริมแรงใน
           เวลาและโอกาสที่เหมาะสม
แนวทางการพัฒนาบุคลากรในสถานศึกษา
       1. จัดแหลงการเรียนรูใหครูไดศึกษาและพัฒนาตนเอง
       2. จัดระบบการนิเทศภายใน – ภายนอก
    3. สงเสริมใหครูกลาคิด กลาทํา กลาตัดสินใจ และมีเสรีภาพทางวิชาการ
    4. สงเสริมใหบุคลากรไดรวมกันทํางาน แลกเปลี่ยนความรูและประสบการณ
    5. สงเสริมใหบุคลากรเขารับการอบรม ประชุม สัมมนา ฝกปฏิบัติการ
        5. สงเสริมใหบุคลากรไดแลกเปลี่ยนเรียนรูและประสบการณกับบุคลากรสถานศึกษาอื่น
        6. สงเสริมใหบุคลากรไดพัฒนาตนเองตามมาตรฐานวิชาชีพครู
        7. สงสริมใหบุคลากรไดสะสมประสบการณเพื่อเลื่อนตําแหนงสูงขึ้น

                                                           การบริหารงานกิจการนักเรียน
หลักการบริหารกิจการนักเรียน
     1. หลักการวางแผน - ใหนักเรียนมีสวนรวมในการวางแผนจัดกิจกรรม 2. หลักการจัดองคการ - ผูบริหารเปนประธาน ผูชวย ฝายกิจการ
เปนรอง นอกนั้นจัดแบงงานตามสายงานเปนฝาย ตาง ๆ 3. หลักการจัดบุคลากร - จัดครูทําหนาที่เปนที่ปรึกษา โดยใหมีสวนรวม เพือใหเกิดความ
                                                                                                                           ่
พึงพอใจ 4. หลักวินิจฉัยสั่งการและการควบคุมดูแล - ผูบริหารตองใชภาวะผูนําในการวินิจฉัยสั่งการ ควบคุมดูแลและนิเทศงาน 5. หลักการ
                                                                       
ประสานงาน - ผูบริหารใชภาวะผูนําประสานงานใหทุกฝายปฏิบติงานใหสอดคลองกัน ไมซ้ําซอน 6. หลักการรายงาน - การายงานเปนระยะ เพือ
                                                          ั                                                                           ่
ทราบผลการปฏิบติงาน และการปรับปรุงงาน 7. หลักการงบประมาณ - กิจกรรมจะเปนตัวกําหนดงบ
               ั
การสรางระเบียบวินัยนักเรียน
    1. ปญหาของนักเรียน - ความไมเปนระเบียบเรียบรอยในสังคม - การละเลยไมปฏิบัติตามกฎหมาย - การแตงกายไมเปนระเบียบเรียบรอย
สรุป    E  734
สรุป    E  734
สรุป    E  734
สรุป    E  734
สรุป    E  734
สรุป    E  734
สรุป    E  734
สรุป    E  734

More Related Content

What's hot

วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรวิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรnakkee
 
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผลsasiton sangangam
 
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Brการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน BrProud N. Boonrak
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนTwatchai Tangutairuang
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...omsnooo
 

What's hot (10)

วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรวิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
 
กิจการนักเรียน
กิจการนักเรียนกิจการนักเรียน
กิจการนักเรียน
 
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
 
Sao 6
Sao 6Sao 6
Sao 6
 
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Brการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชน
 
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียนบทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
Sar5 255
Sar5 255Sar5 255
Sar5 255
 

Similar to สรุป E 734

คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55Montree Jareeyanuwat
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐานtassanee chaicharoen
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdockrupornpana55
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553Nattapon
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการWatcharasak Chantong
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554Nattapon
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7benty2443
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7nattawad147
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524gam030
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7wanneemayss
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554Nattapon
 
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม Sireetorn Buanak
 

Similar to สรุป E 734 (20)

ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
 
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
 
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
 

สรุป E 734

  • 1. สรุปสาระสําคัญ EA 734 การบริหารสถานศึกษา ( Educational Administration ) โดย..นายอลงกรณ สุขสังข สาขาวิทยบริการ ฯ จังหวัดบุรีรัมย ยุทธศาสตรการพัฒนาสถานศึกษาสูมาตรฐาน 1. พัฒนาบุคลากร - ไดแก ผูบริหาร ครู ผูปกครอง กรรมการสถานศึกษา สรางความรูความเขาใจใหทุกคนตระหนักวาเปนภาระกิจที่ตองทํา  รวมกัน 2. จัดโครงสรางขององคกร - ดูภาพรวม กําหนดพรรณางาน จัดบริหารวิชาการ ถาโครงสรางไมชัดเจนโรงเรียนจะมีปญหา กระบวนการจัด โครงสรางเริ่มจากการศึกษาสภาพปจจุบน จัดทําคูมือการพรรณางาน คือกําหนดบทบาทหนาที่ของบุคลากรแตละฝายดูวาซ้ําซอน/ตกหลนหรือไม ให ั  ควบคุมงานงาย 3. พัฒนาระบบการบริหาร - ผูบริหารตองปรับเปลี่ยนกระบวนการบริหร ตองกระจายอํานาจใหบคลากรในโรงเรียนมีสวนรวม รวมทั้ง ุ บุคคลภายนอก เชน ผูปกครอง ชุมชน มีสวนรวม  4. พัฒนาการจัดการเรียนรู - ผูบริหารตองทําความเขาใจกับครูเรื่องหลักสูตร ซึ่งเปนหัวใจสําคัญของการพัฒนา ทําความเขาใจเรื่องการจัดการ เรียนรู การสอนแบบบูรณาการ การจัดการเรียนรูถอเปนมาตรฐานของครู ผูบริหาร นักเรียน และเปนมาตรฐานของการประเมินภายนอก ( ดู พรบ.42 ม. ื 22 ) ผูบริหารตองมีความรู ความสามารถในกระบวนการนิเทศภายใน 5. พัฒนาสือเทคโนโลยีและแหลงเรียนรู –การพัฒนาการจัดการเรียนรูจะสําเร็จตองมีสื่อการเรียนรูซึ่งอาจใชวัสดุ/เทคโนโลยี ่ การบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน การบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน ( SBM ) เปนรูปแบบการบริหารโรงเรียนที่สอดคลองกับแนวทางการบริหารตาม พรบ.การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 มีลักษณะสําคัญดังนี้ 1) เปนการเนนลักษณะเฉพาะตัวของแตละโรงเรียนที่มีความแตกตางกัน 2) เปนการกระจายอํานาจการบริหารจัดการไปยังโรงเรียนโดยตรง 3) เปนการบริหารแบบมีสวนรวม (Participation) เปนหลักสําคัญ 4) มีความเชื่อวาโรงเรียนบริหารจัดการตนเองได 5) ใหโรงเรียนมีอํานาจและความ รับผิดชอบโดยตรงตอการดําเนินงานของโรงเรียนดวยตนเอง 6) มีความเชื่อวาโรงเรียนมิใชเพียงเปนหนวยปฏิบัติตามนโยบาย หรือตามแผนงานที่หนวย เหนือกําหนดเทานั้น แตเปนหนวยปฏิบัติที่สามารถวิเคราะห ปญหา สามารถกําหนดนโยบาย วางแผน และบริหารจัดการไดดวยตนเอง 7) โรงเรียนจะมี อํานาจมากขึ้นในการตัดสินใจ - การวางแผนพัฒนาโรงเรียน - การจัดการเรียนการสอนและการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน - การพัฒนาบุคลากร - การจัดการเงินและการงบประมาณ การบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน มีหลักการสําคัญ ดังนี้ 1. การกระจายอํานาจ คือ การบริหารจัดการไปยังโรงเรียนโดยตรง คณะกรรมการโรงเรียนมีสวนรวมในการตัดสินใจ 2. การบริหารตนเอง สถานศึกษามีอิสระในการตัดสินใจดวยตนเองมากขึ้น ภายใตการบริหารแบบองคคณะบุคคล รูปแบบการบริหารโรงเรียนตาม สภาพความตองการและความจําเปนของโรงเรียน 3) การบริหารแบบมีสวนรวม ผูมีสวนรวมสามารถกําหนดนโยบายและแผน กําหนดหลักสูตรทองถิน รวมคิดรวมทํา ่ 4) ภาวะผูนําแบบเกื้อหนุน เปนภาวะผูนําที่เนนการสนับสนุนและการอํานวยความสะดวก ไมใชสั่งการและชี้นํา 5) การพัฒนาทั้งระบบ ปรับทั้งเรื่องโครงสรางและวัฒนธรรมองคการ 6) ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได โรงเรียนตองพรอมรับการตรวจสอบมีองคกรอิสระทําหนาที่ตรวจสอบและถวงดุล ♣ บทบาทของผูบริหารสถานศึกษาที่มีการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน 1) การเปนผูนําทางวิชาการ 2) การบริหารงานแบบมีสวนรวม 3) การ เปนผูอานวยความสะดวก 4) การประสานความสัมพันธ 5) การสงเสริมพัฒนาครูและบุคลากร 6) การสรางแรงจูงใจ 7) การประเมินผล 8) การ ํ สงเสริมสนับสนุนการวิจัยและการพัฒนา 9) การเผยแพรประชาสัมพันธ 10) การสงเสริมเทคโนโลยี ♣ สมรรถนะที่จาเปนของผูบริหาร 1. สามารถสรางศรัทธาใหแกครูและผูรวมงาน 2. ทํางานเปนทีม 3. เปนผูนําทางวิชาการ 4. มีวิสัยทัศน 5. มี ํ  ความคิดริเริ่มสรางสรรค 6. มีมนุษยสัมพันธดี 7. มีความรูความสามารถในการบริหาร 8. กลาตัดสินใจกลารับผิดชอบ 9. ซื่อสัตยโปรงใส 10. เปนผู ประสานงานที่ดี 11. เปนนักประชาธิปไตย 12. เปนผูอํานวยความสะดวกสนับสนุน 13. เปนแบบอยางทีดี ่ ♣ บทบาทของครู - เปนผูรวมงาน เปนผูตดสินใจ เปนผูริเริ่มและเปนผูปฏิบัติ ั  ♣ บทบาทผูปกครอง - มีสวนรวมสนับสนุนโรงเรียนและเสนอแนวทางแกปญหา 
  • 2. 2 บทบาทของผูบริหารสถานศึกษาที่มีการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน 1. การเปนผูนําทางวิชาการ – โดยใหการสงเสริมและสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นนผูเรียนเปนสําคัญ มีการ วางแผน มีนโยบายและยุทธศาสตรเพื่อการปฏิรปการเรียนรูของสถานศึกษาอยางชัดเจน ู 2.การบริหารแบบมีสวนรวม – มีการบริหารอยางอิสระ บริหารงานในรูปแบบของคณะกรรมการสถานศึกษา เนนการมีสวนรวมทั้งครูและบุคลากร ภายในโรงเรียน บุคคลและหนวยงานภายนอกโรงเรียน 3. การเปนผูอํานวยความสะดวก - อํานวยความสะดวกใหแกบคลากร เชน หนังสือ ตํารา เทคโนโลยี การจัดสภาพแวดลอมแหงการเรียนรู จัด ุ บรรยากาศของโรงเรียนใหอบอุนใหผูเรียนรักที่จะเรียนรู 4.การประสานความสัมพันธ - มีการประสานงานและสรางความสัมพันธอนดีกับทุกฝายที่เกี่ยวของทั้งในและนอกสถานศึกษา เพือสรางเครือขาย ั ่ การสนับสนุนในดานตาง ๆ 5. การสงเสริมการพัฒนาครูและบุคลากร – โดยสงเสริมใหครูเขารับการฝกอบรม ประชุมสัมมนา ไปทัศนศึกษา 6. การสรางแรงจูงใจ - มีทัศนคติในเชิงบวกกับผูรวมงานมีความยืดหยุนกับการทํางานใหความสําคัญของทีมงานและสรางแรงจูงใจในการทํางาน ดวยวิธีตาง ๆ 7.การประเมินผล - - สงเสริมการประเมินผลภายในสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาชาติ 8. การสงเสริมสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา - โดนสงเสริมและสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเพือสรางกระบวน ่ การเรียนรูในสถานศึกษาของครูและทีมงาน 9. การเผยแพรประชาสัมพันธ - การเผยแพรขอมูลขาวสารของโรงเรียนใหชุมชนและสาธารณชนทราบดวยวิธีการที่หลากหลาย เพือสรางความเขาใจ ่ ซึ่งกันและกันและสรางการมีสวนรวมมากขึ้น 10. การสงเสริมเทคโนโลยี - สงเสริมการใชเทคโนโลยีเพื่อใหทนตอความเจริญกาวหนาทั้งในประเทศและตางประเทศ ั โรงเรียนนิติบุคคล ความเปนมา - การบัญญัติใหสถานศึกษาเปน นิตบคคล ในกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 ม.3 “ สถานศึกษาที่จด ิ ุ ั การศึกษาขั้นพืนฐาน ตามมาตรา34(2) เฉพาะที่เปนโรงเรียนมีฐานะเปนนิติบุคคล” นับเปนการปฏิรปการศึกษาครั้งสําคัญของประเทศไทย ซึ่งสอดคลองกับ ้ ู พรบ. การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิมเติม(ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2545 ่ วัตถุประสงคของสถานศึกษานิติบคคล ุ 1. เพื่อใหสถานศึกษามีอิสระ คลองตัวใหสามารถจัดการศึกษาไดสะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพตามหลักการกระจายอํานาจ 2. เพื่อใหการจัดการศึกษาเปนไปเพือพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรูและคุณธรรม มีจริยธรรมและ ่ วัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข  การบริหารจัดการของสถานศึกษา ซึ่งมีหนาที่ใหบริการการศึกษาแกประชาชนและเปนสถานศึกษาของรัฐ จึงตองนําหลักวาดวยการบริหารกิจการ บานเมืองที่ดี ซึ่งเรียกกันทั่วไปวา “ ธรรมาภิบาล ” มาบูรณาการใชในการบริหารและจัดการศึกษา หลักการดังกลาว ไดแก หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปรงใส หลักการมีสวนรวม หลักความรับผิดชอบ หลักความคุมคา หลักธรรมาภิบาล ซึ่งมีหลักการสําคัญอยู 6 ประการ ดังนี้ 1. หลักนิติธรรม – ใชกฎหมายเปนเครื่องมือในการปฏิบัติงาน โดยคํานึงถึงผลทีจะเกิดขึ้นตอนักเรียนและประชาชนเปนสําคัญ 2. หลักคุณธรรม - ยึด ่ มั่นในความถูกตองดีงามในการปฏิบัติหนาที่เปนตัวอยางแกสังคม มีความซื่อสัตย จริงใจ อดทน มีระเบียบวินัย ประกอบอาชีพที่สุจริต 3. หลักความ โปรงใส - การทํางานทุกขั้นตอนตองยึดหลักโปรงใส เพื่อสรางความไววางใจซึ่งกันและกัน ตรวจสอบไดใหโอกาสประชาชนเขาถึงขอมูลขาวสารได สะดวก 4. หลักการมีสวนรวม - เปดโอกาสใหประชาชนและผูเกี่ยวของทุกฝายเขามาและเสนอความเห็นในการตัดสินใจปญหาสําคัญในการบริหารและ จัดการศึกษา 5. หลักความรับผิดชอบ - ตระหนักในสิทธิและหนาที่ของตนเองและผูอื่น สํานึกและรับผิดชอบในการตัดสินใจที่สงผลตอการพัฒนา  คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ยอมรับผลจากการกระทําของตนเอง 6.หลักความคุมคา – มีการบริหารจัดการและใชทรัพยากรอยางประหยัดและเกิด ประโยชนสูงสุดตอการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ลักษณะการบริหารตามแนวปฏิรูป พ.ร.บ.การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 1. เปนการบริหารแบบมีสวนรวม / การบริหารโดยองคคณะบุคคล 2. เปนการบริหารที่เนนการดําเนินการจัดการศึกษา เพือพัฒนาคุณภาพการศึกษาองผูเรียน ่ 3. เปนการบริหารทีใชบุคลากรมืออาชีพ -วิสัยทัศนเปนผูนํามนุษยสัมพันธ – มีใบประกอบวิชาชีพ – มีการพัฒนาตนเองเสมอ ่ 4. เปนการบริหารทีตองมีการตรวจสอบและประเมินตามมาตรฐาน – ภายใน - ภายนอก ่
  • 3. 3 5. เปนการบริหารที่เนนเปนพิเศษที่สถานศึกษา ใชการกระจายอํานาจการบริหาร 4 ดาน –( การบริหารวิชาการ,การบริหารงบประมาณ,การบริหาร บุคลากร , การบริหารทั่วไป) 6. เปนการบริหารที่เนนการกระจายอํานาจ ใหทองถิ่น ( เขตพื้นที่การศึกษา – สถานศึกษา )  7. เปนการบริหารทีตองอาศัยองคกรวิชาชีพ ( สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา , องคกรกลางบริหารงานบุคคล) ่ 8. เนนคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพมากขึน ้ 9. เปนการบริหารที่เนนความทัดเทียมกัน(ดานปริมาณ , งบประมาณ ) 10. เปนการบริหารทีตองประกันคุณภาพใหแกผูมีสวนไดเสีย ( ผูเรียน ผูปกครอง ชุมชน สังคม ) ่ คุณลักษณะของผูบริหารสถานศึกษามืออาชีพ ความเปนผูนําที่เขมแข็ง เปนผูนําการเปลี่ยนแปลง หมายถึง สามารถชักนําหรือสรางแรงจูงใจใหผูรวมงานเกิดการเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติงานทาง  การศึกษาใหเปนไปตามเปาหมาย เปนผูมีวิสัยทัศน มีเปาหมายทางศึกษา เปนแบบอยางที่ดีของบุคลากรในสถานศึกษา มีบุคลิกภาพทีดี มีปฏิภาณไหว ่ พริบดี มีการตัดสินใจและแกปญหาไดดี มีมนุษยสัมพันธดี มีความรับผิดชอบสูง มีใจเปดกวางพรอมที่จะรับฟงผูอื่น มีความซื่อสัตยสุจริต ยุติธรรม มี  คุณธรรมจริยธรรม มีความวิริยะอุตสาหะ อดทน เสียสละ มีความสม่ําเสมอมั่นคง มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความสามารถในการสื่อสาร มีความกลา ในการพูดและการปฏิบัติ มีความตื่นตัวอยูเสมอ มีสุขภาพดี เปนผูประสานงานทีดี เปนนักพัฒนาและนักบริการสังคม รูจักพึ่งพาตนเองและสังคม มี  ่ ความเปนประชาธิปไตย มีความรักในสถาบันของชาติ และอนุรักษศานา ศิลปะ วัฒนธรรม ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การประกันคุณภาพการศึกษา พรบ.การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ไดกําหนดใหมีการประกันคุณภาพการศึกษา ไวในมาตราตาง ๆ ดังนี้ ม. 47 ระบุใหมีการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ประกอบดวย 1) ระบบการประกันคุณภาพภายใน 2) ระบบการประกันคุณภาพภายนอก ม. 48 ใหถือวาการประกันคุณภาพภายในเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาเพื่อที่สถานศึกษาตองดําเนินการอยางตอเนื่อง โดยมีการ จัดทํารายงานประจําปเสนอตอหนวยงานตนสังกัด – หนวยงานที่เกี่ยวของ – เปดเผยตอสาธารณชน ม. 49 กําหนดใหสถานศึกษาทุกแหงตองไดรบการประเมินคุณภาพภายนอกอยางนอย 1 ครั้ง ในทุก 5 ป ั การประกันคุณภาพการศึกษา การประกันคุณภาพ มี 2 ประการ คือ 1. การประกันคุณภาพภายใน หมายถึง การประเมินผลและการดําเนินการตรวจสอบคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายใน โดย บุคลากรของสถานศึกษาเอง หรือโดยหนวยงานตนสังกัด เชน เขตพืนที่ สพฐ. กระทรวง ก็ถอเปนหนวยงานภายในเชนกัน ้ ื กระบวนการประกันคุณภาพภายใน 1. การเตรียมการ – 1) เตรียมความพรอมของบุคลากร – สรางความตระหนัก – สรางเสริมความรู - กําหนดความรับผิดชอบ 2) ศึกษาขอมูลสารสนเทศ – ผลการดําเนินงานทีผานมา –นโยบายหนวยงานตนสังกัด –ขอมูลสารสนเทศโรงเรียนตนเอง - ฯลฯ ่ 2. การดําเนินการ – 1) Plan – จัดทําธรรมนูญโรงเรียน/แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2) Do – การปฏิบัตตามแผน – สนับสนุนสงเสริมอํานวยความสะดวก ิ และนิเทศงานอยางตอเนื่อง 3) Check – การประเมินตนเอง – สรางจิตสํานึก – สรางทีมงาน - ประเมินอยางตอเนื่อง – ใหชุมชนมีสวนรวม ติดตาม แลกเปลี่ยนประสบการณ – จัดสรรทรัพยากร 4) Action -การปรับปรุง/นําไปใช -ผูเรียนนําไปใชพัฒนาตนเอง –ครูนําไปพัฒนาการสอน – ผูบริหารนําไป ควบคุมคุณภาพ– หนวยงานตนสังกัดนําไปวางแผน– ผูปกครอง/ชุมชนใหความรวมมือชวยเหลือ 3. การรายงานผลการปฏิบัติงาน – 1) ผูเรียน,ผูปกครอง 2) กรรมการสถานศึกษา/ชุมชน 3) ครูและหนวยงานที่เกี่ยวของ 2. การประกันคุณภาพภายนอก หมายถึง การประเมินผลและติดตามการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก โดย สํานักงานรับรองมาตรฐานแบละประเมินคุณภาพการศึกษา ( สมศ. ) หรือบุคคล หรือ หนวยงานภายนอกที่ สมศ. รับรอง เพื่อเปนการประเมินคุณภาพ และใหมีการพัฒนาคุณธรรมและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา กระบวนการประกันคุณภาพการศึกษา 1. การควบคุมคุณภาพการศึกษา ( Quality Control ) - ใหความรูความเขาใจ สรางความตระหนักแกบคลากร - จัดทําขอมูลสารสนเทศของโรงเรียน ุ - จัดทํามาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน ครูและผูบริหารตองแมนในมาตรฐาน - จัดทําคูมือดําเนินการประกันคุณภาพ เพื่อใหทกคนเขาใจตรงกัน - จัดทําธรรมนูญโรงเรียน จัดทําแผนปฏิบัติการประจําป ุ - ดําเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 2. การตรวจสอบ ทบทวนและปรับปรุงคุณภาพ( Internal Quality Audit and Intervention ) - กําหนดรูปแบบการประเมินตนเอง สรางเครื่องมือประเมินตนเอง ดําเนินการประเมินตนเอง
  • 4. 4 - สรุปและรายงานผลตอผูบริหารโรงเรียน - วิเคราะหผลการประเมินเพือปรับปรุงพัฒนา ดําเนินการปรับปรุงการพัฒนา ่ - จัดทํารายงานประจําป และพรอมรับการตรวจสอบจากหนวยงานตนสังกัด 3. การประเมินและรับรองคุณภาพจากภายนอก ( Quality Accreditation ) โดยองคกรภายนอกที่รับรองโดย สมศ. จุดประสงคของการประกันคุณภาพการศึกษา 1. เพื่อพัฒนาโรงเรียนใหมีคุณภาพมาตรฐาน 2. เพื่อใหครู ผูปกครอง ชุมชน สังคม เกิดความเชื่อมันวาโรงเรียนสามารถจัดการและ ่ พัฒนาผูเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ และผูเรียนมีคณภาพตามมาตรฐานของหลักสูตร ุ การดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษา ภาระงานของสถานศึกษาในการประกันคุณภาพการศึกษา มีดังนี้ 1. การศึกษาและเตรียมการ - ตั้งคณะทํางาน - การใหคําปรึกษา - การแตงตั้งคณะกรรมการ 2. การวางแผนประกันคุณภาพการศึกษา - การจัดทําขอมูลพื้นฐาน - การจัดทํามาตรฐานคุณภาพของผูเรียน - การจัดทําธรรมนูญโรงเรียนที่มีแผนยุทธศาสตรในการพัฒนาโรงเรียน - การจัดทําแผนปฏิบัติการ - การจัดทํามาตรฐานการปฏิบัติงาน 3. การดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษา - ทบทวนแผน - พัฒนาบุคลากร - จัดสิ่งอํานวยความสะดวก - ดําเนินการ - นิเทศ กํากับ ติดตาม และประเมินผล 4. การตรวจสอบ ทบทวนคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน (ประเมินภายใน) - เตรียมการ - ตรวจสอบประเมิน - สรุปรายงาน 5. การพัฒนาและปรับปรุง 6. การเตรียมการรับการประเมินจากหนวยงานภายนอกที่รับรองโดย สมศ. การบริหารงานวิชาการ ( Academic Area ) การบริหารงานวิชาการ หมายถึง การบริหารกิจกรรมทุกชนิดในสถานศึกษา ซึ่งเกี่ยวของกับการปรับปรุง พัฒนาการเรียนการสอนใหเกิดผลตาม เปาหมายของหลักสูตรอยางมีประสิทธิภาพ การบริหารงานวิชาการเปนหัวใจของการบริหารสถานศึกษา ที่ผบริหารตองใหความสําคัญ ู กิจกรรมหลักของการบริหารงานวิชาการ 1. หลักสูตรและการบริหารหลักสูตร 2. การจัดกระบวนการเรียนการสอน 3. การนิเทศภายใน 4. การวัดและประเมินผลการศึกษา 5. การประกันคุณภาพการศึกษา งานวิชาการเปนงานหลัก ที่พรบ.การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิมเติม (ฉบับที่ 2 )พ.ศ. 2545 มุงกระจายอํานาจใหสถานศึกษามากที่สุด ่ ดวยเจตนาที่จะใหสถานศึกษามีความคลองตัว รวดเร็วและสอดคลองกับความตองการของผูเรียนสถานศึกษา ชุมชน ทองถิ่นและการมีสวนรวมจากผูมี สวนไดเสียทุกฝาย วัตถุประสงค 1) เพื่อใหสถานศึกษามีอิสระ คลองตัว รวดเร็วและสอดคลองกับความตองการของผูเรียน สถานศึกษา ชุมชน ทองถิน 2) เพื่อใหการ ่ บริหารและการจัดการศึกษาของสถานศึกษาไดมาตรฐานและมีคุณภาพสอดคลองกับระบบประกันคุณภาพการศึกษา และการประเมินคุณภาพภายในเพื่อ พัฒนาตนเอง และการประเมินจากหนวยงานภายนอก 3) เพื่อใหสถานศึกษาพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนรูตลอดจนปจจัยเกือหนุนการพัฒนาการ ้ เรียนรูที่สนองตามความตองการของผูเรียนชุมชนและทองถินโดยยึดผูเรียนเปนสําคัญไดอยางมีคุณภาพและประสิทธิภาพ 4) เพื่อใหสถานศึกษาได ่ ประสานความรวมมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาและของบุคคล ครอบครัว องคกร หนวยงาน และสถาบันอื่น ๆ กระบวนการบริหารงานวิชาการ 1. การวางแผนพัฒนา หรือการวางแผนเชิงกลยุทธ ประกอบดวย - การกําหนดวิสัยทัศน - การกําหนดภารกิจ หรือพันธกิจ - การกําหนด จุดมุงหมาย - การกําหนดกลยุทธ - การกําหนดแผนงาน/โครงการ 2. การนําแผนไปปฏิบัติ ประกอบดวย - การจัดองคการ (กําหนดหัวหนางาน ผูดําเนินการ ผูรบผิดชอบ) ั - การสั่งการหรือมอบหมายงาน - การควบคุมงาน - การติดตามกํากับ - การประสานงาน - การนเทศงาน 3. การประเมินผลการปฏิบัตตามแผน - ประเมินระหวางการดําเนินการ -ประเมินเมื่อสิ้นสุดงาน - การรายงาน ิ แนวคิดเพิ่มเติม 1. การบริหารที่ดีคือ การมีสวนรวมของบุคลากรในสถานศึกษา 2. การดําเนินงานทุกงานตองมีทีมงานที่มประสิทธิภาพ มีความรูสึกรับผิดชอบ ี รวมกัน 3. ผูบริหารงานตองมีความรูสึกวาตนมีบทบาทที่จะตองสงเสริมสนับสนุน การสรางความรูสึกที่ดี การสรางความศรัทธาตองาน ขอบขายการบริหารงานวิชาการ 1. การบริหารหลักสูตร ไดแก - การวิเคราะหหลักสูตรแกนกลาง - การกําหนดมาตรฐานการเรียนรูและสาระการเรียนรูที่เกี่ยวของกับชุมชน ทองถิน - การจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา - การจัดทําหนวยการเรียนรู ่
  • 5. 2. การบริหารการเรียนการสอน ไดแก - การรวบรวม วิเคราะหและกําหนดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยคํานึงถึงผูเรียนเปนสําคัญ - การกําหนด 5 การเตรียมการ และการจัดหาสื่อการเรียนการสอน - การกําหนดวิธีการประเมินผลการเรียน - การจัดทําแผนการจัดการเรียนรูของครูผูสอนแตละคน - การควบคุมดูแลและสงเสริมใหมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนการสอน - การรวมกันแกปญหาที่เกิดขึ้น 3. การบริหารการประเมินผลการเรียน ไดแก - การวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรู - การกําหนดวิธีการและเครื่องมือที่จะใชในการวัดและ ประเมินผล - การควบคุมดูแลและสงเสริมใหมีการประเมินผลตามทีกําหนดไว -การจัดทําหลักฐาน -การกําหนดรูปแบบ ระยะเวลารายงาน ่ 4. การบริหารการนิเทศภายในสถานศึกษา ไดแก - การทําความเขาใจกับบุคลากรทุกคน - การกําหนดวิธีการและระยะเวลาการนิเทศภายใน - การควบคุมดูแล สงเสริม - การรวมกันแกไขปญหาที่เกิดขึ้น 5. การพัฒนาบุคลากรทางวิชาการ ไดแก การวิเคราะหปญหาเกี่ยวกับความรูความสามารถของบุคลากร - การกําหนดชวงเวลาของการพัฒนาเปน ระยะ - การควบคุมดูแลใหมีการดําเนินการตามที่วางแผนไว 6. การบริหารการวิจัยและพัฒนา ไดแก - การทําความเขาใจ - การรวมกันกําหนดประเด็นปญหา - การควบคุมดูแลและสงเสริม 7. การบริหารโครงการทางวิชาการอื่น ๆ ไดแก - การกําหนดหัวขอเรื่องทางวิชาการที่เปนการสนับสนุน - การกําหนดวิธีการและระยะเวลา - การควบคุมดูแลและสงเสริม 8. การบริหารระบบขอมูลและสารสนเทศทางวิชาการ ไดแก - การกําหนดขอมูลสารสนเทศทางวิชาการ - การกําหนดเวลาในการรวบรวมขอมูล - การควบคุมดูแลสงเสริม - การนําขอมูลสารสนเทศไปใช 9. การบริหารการประเมินผลงานทางวิชาการของสถานศึกษา ไดแก - การกําหนดหัวขอประเมินผลงาน - การกําหนดวิธีการและเครื่องมือในการ ประเมิน - การควบคุมดูแลสงเสริม - การสรุปผลและเขียนรายงานประจําป การพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา หมายถึง การจัดทําสาระของหลักสูตรในสวนที่เกี่ยวของกับสภาพปญหาในชุมชน สังคม ภูมปญญาทองถิน ิ  ่ คุณลักษณะทีพึงประสงค เพื่อเปนสมาชิกทีดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ่ ่ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรระดับสถานศึกษา 1. ศึกษาองคประกอบของหลักสูตร วากําหนดสาระสําคัญไวอยางไรบาง สอดคลองสัมพันธกันอยางไร 2. วิเคราะหขอบขายของการเรียนรูทั้งองคประกอบดานความรู ทักษะกระบวนการ คุณธรรม จริยธรรมและคานิยม 3. ศึกษาสภาพปญหาของชุมชนและสังคม ภูมปญญาทองถิน ความตองการของชุมชนและสังคม ิ  ่ 4. ปรับปรุงสาระการเรียนรูเพิ่มเติมในสวนที่ตองจัดใหสอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการของชุมชน  5. ตรวจสอบความตองการของสาระการเรียนรูเพิ่มเติมกับมาตรฐานการเรียนรูกลุมวิชาและมาตรฐานหลักสูตรการศึกษาขั้นพืนฐาน ้ 6. วางแผนการจัดการเรียนการสอนตามขอบขายสาระการเรียนรู มาตรฐานการเรียนรู สัดสวน เวลาและหนวยกิตตามทีหลักสูตรแกนกลางกําหนด ่ 7. พัฒนาแนวการจัดการเรียนการสอนเพื่อนําไปสูการจัดการเรียนรูในหองเรียน   บทบาทของผูบริหารสถานศึกษากับการพัฒนาหลักสูตร 1. ชี้แจงทําความเขาใจกับคณะครู สรางความตระหนักถึงความสําคัญ 2. จัดใหมีการใหความรูเรื่องการพัฒนาหลักสูตร และการนําหลักสูตรไปใชจริง 3. จัดใหครูไดศึกษาวิเคราะหหลักสูตร พ.ศ. 2544 จนเขาใจแลวรวมกันพัฒนาหลักสูตร 4. สงเสริมและสนับสนุนใหครูพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใชกระบวนการจัดการเรียนรูที่หลากหลาย ติดตาม ควบคุม กํากับ และประเมินผลการใชหลักสูตรของสถานศึกษา การวิจัยในชั้นเรียน ( Classroom Research ) เปนกระบวนการที่นาเชือถือและเปนระบบในการแสวงหาคําตอบ เพราะเปนการคิดคนและพัฒนาที่เปนการแกปญหา ( Problem Solving ) ใน ่  สภาพที่เปนจริงในชั้นเรียน เปนกระบวนการทางวิทยาศาสตรที่มุงแสวงหาคําตอบจากปญหาและขอสงสัยของครู เปนการคิดพัฒนานวัตกรรมเพื่อใชใน การแกปญหาและการเรียนการสอน ลักษณะของการวิจัยในชั้นเรียนมีดังนี้ 1. ปญหาการวิจัยเกิดจากการทํางานในชั้นเรียนที่เกี่ยวกับการเรียนการสอน 2. ผลจากการวิจัยเปนสิ่งที่ครูสามารถนําไปพัฒนาการเรียนการสอน 3. การวิจัยในชั้นเรียนดําเนินไปพรอมกับการเรียนการสอน การวิจัยมีคุณคาดังนี้ 1) ทําใหผูบริหารโรงเรียนและครูไดทราบขอเท็จจริง ซึ่งนํามาปรับปรุงหรือพัฒนาภารกิจทีรับผิดชอบ 2) เปดโอกาสให ่ ไดศกษาคนควาวิทยาการใหม ๆ เปนการสงเสริมความกาวหนากวางขวางขึ้น 3) เปนการแกปญหาไดตรงจุด เปนการประหยัดเวลาและการลงทุน 4) ึ
  • 6. ชวยในการวางแผนการดําเนินการแตละอยางไดอยางถูกตองและประสบความสําเร็จ 5) กระตุนความตระหนัก ความสนใจ ที่มีชวิตชีวา 6) สงเสริมการ ี สรางผลงานเพื่อความกาวหนาของโรงเรียนและตนเอง 6 การนิเทศภายในสถานศึกษา หมายถึง ความพยายามทุกชนิดของผูบริหารในการที่จะปรับปรุง สงเสริมประสิทธิภาพการเรียนการสอนภายในสถานศึกษาใหดีขน เปนการเพิ่ม ึ้ พลังการปฏิบัติงานของครู รวมทั้งใหความกาวหนาในวิชาชีพ ผลสุดทายคือ การศึกษาของเด็กกาวหนาไปอยางมีประสิทธิภาพ การนิเทศภายใน มีจดมุงหมายดังตอไปนี้ ุ 1. เพื่อใหสถานศึกษามีศักยภาพในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานหลักสูตร 2. เพื่อใหสถานศึกษาสามารถบริหารและจัดการเรียนรูไดอยางมีคุณภาพ 3. เพื่อพัฒนาหลักสูตรและการเรียนรูใหมีประสิทธิภาพสอดคลองกับความตองการของชุมชน สังคม 4. เพื่อใหบุคลากรไดพัฒนาความรูทกษะและประสบการณในการจัดกิจกรรมการเรียนรู และพัฒนาวิชาชีพ ั 5. เพื่อใหสถานศึกษาปฏิรูประบบบริหาร โดยใหทุกคนมีสวนรวมในการคิดตัดสินใจรวมทํารวมรับผิดชอบ 6. เพื่อใหเกิดการประสานงานและความรวมมือระหวางผูเกี่ยวของ ประโยชนของการนิเทศภายใน 1) ทําใหครูสอนไดตามเปาหมาย 2) ทําใหงานวิชาการเปนไปอยางมีระบบและตอเนือง 3) ทําใหบุคลากร ่ มองเห็นความสําคัญของงานวิชาการ เนนคุณภาพของผูเรียน 4)ชวยแกปญหาที่เกิดขึ้นอันจะมีผลกระทบตอคุณภาพการเรียนการสอน การนิเทศภายใน เปนการดําเนินการโดยผูบริหารสถานศึกษาและครู ตลอดจนบุคลากรภายในสถานศึกษา รวมกันปรับปรุงงานดานตาง ๆ เปนการสงเสริมและเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอน อันจะนํามาซึงคุณภาพของสถานศึกษาและของผูเ รียนใหอยูในระดับที่นาพึงพอใจ ่  การวัดและประเมินผลการศึกษา การวัดและประเมินผลการเรียนรู เปนกระบวนการที่ใหผูสอนใชพฒนาคุณภาพผูเรียน สถานศึกษาตองจัดทําหลักเกณฑและแนวปฏิบัติในการวัดและ ั ประเมินผลการเรียนของสถานศึกษา เพื่อใหบุคลากรทุกฝายไดรวมปฏิบัติไปในแนวทางเดียวกัน 1) การวัดและประเมินผลระดับชั้นเรียน - เพื่อมุงหาคําตอบวาผูเรียนมีความกาวหนาทั้งดานความรู ทักษะกระบวนการ คุณธรรม และคานิยมอันพึง ประสงค เพียงใด 2) การวัดและประเมินผลระดับสถานศึกษา - เปนการประเมินเพื่อตรวจสอบความกาวหนาดานการเรียนรูเปนรายชั้นป และชวงชั้น เพื่อสถานศึกษา จะไดนําขอมูลทีไดไปใชเปนแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอนและคุณภาพของผูเรียนใหเปนไปตามมาตรฐานความรู รวมทั้งเพื่อตัดสินการ ่ เลื่อนชวงชั้น 3) การวัดและประเมินผลระดับชาติ - ในชั้น ป.3 ป.6 ม.3 และ ม. 6 ในกลุมสาระ ไทย คณิต วิทย สังคม ฯ อังกฤษ และอื่น ๆ ตามที่ กระทรวงศึกษาธิการกําหนด เพื่อนําขอมูลไปใชในการพัฒนาคุณภาพผูเรียน และคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา การบริหารงานธุรการในโรงเรียน (School Business Management) งานธุรการ ไดแก งานที่เกี่ยวกับเอกสารตาง ๆ ทีจําเปนตองปฏิบัตทั้งนี้เปนงานภายในและงานติดตอกับบุคคลหรือหนวยงานภายนอกหรือ ่ ิ เรียกวางานภายนอก เพือใหสามารถดําเนินงานไปอยางมีประสิทธิภาพมากที่สุด ่ ขอบขายงานธุรการ รศ. ดร.สมพิศ โหงาม : งานธุรการ มี 3 ประเภทใหญ ๆ 1) งานสารบรรณ 2) งานการเงิน 3) งานบริการตาง ๆ ลักษณะของงานสารบรรณที่ดี 1. สามารถปฏิบัติไดรวดเร็วและประหยัดเวลา 2. กําหนดวิธีการราง โตตอบ รับ – สง เก็บ คน ทําลายหนังสือได รวดเร็วแมนยํา ชัดเจนถูกตอง สมบูรณ ประณีต สะอาด มีมาตรฐาน 3. รับลงทะเบียนเก็บรักษาไดถกตองตามระเบียบ เปนระบบ สืบคนและเสนอตอผูบงคับบัญชาไดงาย 4. จัดทํา ู ั รูปแบบของหนังสือที่ตองจัดทําบอย ๆ เพื่อความรวดเร็ว 5. ใชเครื่องมือหรือเครื่องอํานวยสะดวกเพือความรวดเร็วและถูกตอง  ่ ลักษณะของเจาหนาที่งานสารบรรณที่ดี 1. รูระเบียบงานสารบรรณ 2. รูงานธุรการ 3. รูภาษาไทยเปนอยางดี 4. หัวหนางานสารบรรณตองรูจักปอนงานใหผูใตบังคับบัญชา  การจัดโครงสรางของสํานักงานที่พึงประสงค จุดประสงคของการจัดสํานักงาน 1. ใหบริการ สนับสนุน สงเสริม ประสานงาน และอํานวยการใหการปฏิบัติงานของสถานศึกษาใหเปนไปดวยความเรียบรอย มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล
  • 7. 2. ประชาสัมพันธ เผยแพรขอมูลขาวสารและผลงานของสถานศึกษาตอสาธารณชน ซึ่งจะกอใหเกิดความรู ความเขาใจ เจตคติที่ดี เลื่อมใส ศรัทธา ไปสูการใหการสนับสนุนในการจัดการศึกษา สํานักงานคุณภาพ ประกอบดวย ผูบริหารบริหารคุณภาพ - หลักธรรมาภิบาล - กระจายอํานาจ - การมีสวนรวม 7 บุคลากรคุณภาพ - ไดรับการพัฒนา - มีการปรับปรุงพัฒนางาน - มีเจตคติที่ดีตอการบริการ  การบริการคุณภาพ - ตอบสนองภารกิจ - บริการสาธารณะ - มีการประเมินผล รวดเร็วในการใหบริการ -- มีขอมูลประกอบการตัดสินใจ - โปรงใสตรวจสอบได - ถูกตองตามระเบียบกฎหมาย ประสิทธิภาพ ( E – OFFIC ) –สะดวก รวดเร็ว ประหยัด คุมคา กะทัดรัด ขั้นตอนนอย ใชคนนอย ใชเทคโนโลยี กระจายอํานาจและการตัดสินใจ - หลักความรับผิดชอบ(เจาภาพ) - ลดขั้นตอนใหสั้นลง - ONE STOP SERVIC - กําหนดเวลาแลวเสร็จของงาน - ถูกตองตามระเบียบ กฎหมาย การบริหารงบประมาณ การบริหารงบประมาณของสถานศึกษามุงเนนความเปนอิสระ ในการบริหารจัดการมีความคลองตัว โปรงใส ตรวจสอบได ยึดหลักการบริหาร มุงเนนผลสัมฤทธิและบริหารงบประมาณแบบมุงเนนผลงาน ใหมีการจัดหาผลประโยชนจากทรัพยสินของสถานศึกษา รวมทั้งจัดหารายไดจากบริการมา ์ ใชบริหารจัดการเพื่อประโยชนทางการศึกษา สงผลใหเกิดคุณภาพที่ดขึ้นแกผูเรียน ี วัตถุประสงค 1) เพื่อใหสถานศึกษาบริหารงานดานงบประมาณมีความเปนอิสระ คลองตัว โปรงใสตรวจสอบได 2) เพื่อใหไดผลผลิต ผลลัพธเปนไป ตามขอตกลงการใหบริการ 3) เพื่อสถานศึกษาสามารถบริหารจัดการทรัพยากรที่ไดอยางเพียงพอและมีประสิทธิภาพ ขอบขาย/ภารกิจ การบริหารงบประมาณ 1) การจัดทําและเสนอของบประมาณ 2) การจัดสรรงบประมาณ 3) การตรวจสอบ ติดตามประเมินผล และรายงานผลการใชเงินและผลการดําเนินงาน 4) การระดมทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา 5) การบริหารการเงิน 6) การบริหารบัญชี 7) การบริหารพัสดุและสินทรัพยอนที่จัดการศึกษาื่ การบริหารงานงบประมาณและการเงินโรงเรียน ผูที่มีหนาที่เกี่ยวกับการเงินควรจะมีความรูเกี่ยวกับเรื่องตาง ๆ ดังนี้ 1) รูประเภทของเงินที่เกี่ยวของกับโรงเรียน 2) รูเกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวของกับเงินนั้น ๆ 3) รูวิธีดําเนินการเบิกการรับจายเงินและการเก็บรักษาเงิน 4) รูจักทําการบัญชี ทะเบียน และการใชแบบพิมพตาง ๆ ที่เกี่ยวของ 5) รู วิธีการตรวจสอบและการควบคุมดูแลเกี่ยวกับการใชเงินของหนวยงาน การจัดทํางบประมาณ ผูบริหารโรงเรียนควรพิจารณาจัดตั้งงบประมาณโดยยึดหลัก ดังนี้ 1. หลักความขาดแคลน โดยพิจารณาจาก - เกณฑมาตรฐาน - ปริมาณงานใหม 2. หลักความรีบดวนของปญหา - เรียงลําดับตามความจําเปนเรงดวนของปญหา 3. หลักการชดเชย - เพื่อชดเชยสิงที่ชํารุดทรุดโทรมที่ไมสามารถซอมแซมได ่ วิธีการจัดตั้งงบประมาณ 1. แตงตั้งคณะกรรมการจัดทํางบประมาณ 2. สํารวจความตองการ 3. แยกความตองการออกเปนกิจกรรมตาง ๆ 4. เรียงลําดับความสําคัญของงบประมารที่ตองการ  5. กําหนดเงินงบประมาณในแตละรายการ กลยุทธของสถานศึกษาในการจัดทํางบประมาณ 1. การศึกษาสภาพของสถานศึกษา - สํารวจวิเคราะหภารกิจหลัก สภาพแวดลอมทั้งภายในและภายนอก 2. กําหนดทิศทางของสถานศึกษา - เพื่อใหทราบความคาดหวังของสถานศึกษาที่ตองการในอนาคต ดดยการกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค 3. กําหนดยุทธศาสตรของสถานศึกษา ระบบบริหารแบบมุงเนนผลงาน (Performance Management System ) ระบบการบริหารแบบมุงเนนผลงาน เปนระบบที่เนนการพัฒนาคนใหเพิ่มผลงานใหองคกรทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โดยอาศัยความรวมมือจาก ทุกคนในองคกร ผลงานของทุกคนจะถูกผูกโยงใหไปสูเปาหมายเดียวกัน สํานักงบประมาณ ไดนําระบบงบประมาณแบบมุงเนนผลงานมาใช เพราะเปนระบบครบวงจร ตั้งแตการวางแผน การจัดสรรงบประมาณ การ จัดการที่เนนผลผลิต (Outputs) และผลลัพธ (Outcomes) ที่เกิดขึ้น สิ่งสําคัญในการจัดทํางบประมาณแบบมุงเนนผลงานคือ การวัดการดําเนินการ (Performance measures) ที่เปนการกําหนดหนวยนับในการตรวจวัด และประเมินผลการดําเนินงาน การวัดผลการดําเนินงานตองชัดเจน สมบูรณ สามารถนําไปใชไดจริงและเหมาะสมกับเวลา โดยใหครอบคลุมถึง - ปริมาณ คุณภาพ คาใชจาย และประสิทธิผลและทันเวลาตามตองการ
  • 8. 8 หลักการของระบบงบประมาณแบบมุงเนนผลงาน 1. กําหนดภารกิจและผลผลิต ผลลัพธ การปฏิบัติงานอยางชัดเจน เปนเงือนไขการไดรบและใชจายเงิน ่ ั 2. ผูบริหารมีอานาจในการดําเนินการตาง ๆ ตามความเหมาะสมและความจําเปน สอดคลองกับภารกิจ ํ 3. เมื่อดําเนินการเสร็จสิ้นและประสบผลสําเร็จตามเปาหมายหากมีเงินเหลือใหเก็บไวใชปตอไป 4. มีการปรับปรุงระบบการจัดซื้อจัดจาง มีขั้นตอนรัดกุมและโปรงใส 5. ปรับปรุงระบบบัญชีและการเงินใหเชื่อมโยงกับการคํานวณความคุมคาเทียบกับผลผลิต 6. เนนการรายงานทางการเงินและผลการดําเนินการ เพือความโปรงใสมีประสิทธิภาพประสิทธิผล ่ 7. กําหนดใหมีการบริหารสินทรัพยทมีอยูใหคุมคาที่สุด ี่ แนวทางการจัดทํางบประมาณแบบมุงเนนผลงาน 1. กําหนดพันธกิจ จุดมุงหมาย และวัตถุประสงคของแตละหนวยงานปฏิบตอยางชัดเจน โดยระบุ – บริการที่จะให - ลําดับความสําคัญของ ัิ บริการ - ประโยชนที่จะเกิดขึ้น - กลุมเปาหมายทีจะไดรบประโยชน ่ ั 1) . กําหนดจุดมุงหมายหรือเปาหมาย (Goal) เปนขอความกวางที่อธิบายผลลัพธที่ตองการ เพื่อชี้ทศทางในอนาคต โดยระบุ – ขอความที่เปดกวาง ิ มุงใหเห็นความสําคัญที่แทจริง - กลุมเปาหมายที่จะใหบริการและคนอื่นเขาใจไดงาย - จํานวนทีพอประมาณ เพือกําหนดทิศทางและจุดหมายของ ่ ่ แผนงาน 2) . กําหนดวัตถุประสงค (Objective) เปนขอความทีตรวจวัดไดเกี่ยวกับผลสําเร็จของการบริการหรือแผนงานที่คาดวาจะทําภายในระยะเวลาที่ ่ กําหนด โดยมีลักษณะ -เปนขอความที่เจาะจง - ตรวจวัดได -อยูภายใตเงื่อนไขของเวลา- เปนขอความที่เกี่ยวของกับสิ่งทีไดกระทําเสร็จ ่ 2. การวัดผลการดําเนินงาน - มีความสัมพันธกับวัตถุประสงคและเปาหมายของหนวยงาน - ควรตรวจวัดสิ่งเดี่ยวกันตลอดชวงเวลา - ใชขอมูลที่มี อยูอยางตอเนือง ่ 1. กําหนดเกณฑการตรวจวัดผลการดําเนินงาน - ดานปริมาณ - ดานตนทุน - ดานคุณภาพ - ดานเวลา 2. กําหนดการวัดผลลัพธ(Outcomes) ไดแกผลกระทบที่ตามมา ซึ่งตองใชเวลาที่ยาวนาน 3. กําหนดการวัดผลผลิต เปนการวัดผลการดําเนินงานที่เกิดขึ้นจริง โดยเปรียบเทียบกับผลที่ตองการ  การบริหารงานบุคคล การบริหารงานบุคคลในสถานศึกษาเปนภารกิจที่สําคัญที่มุงสงเสริมใหสถานศึกษาสามารถปฏิบัติงานเพือตอบสนองภารกิจของสถานศึกษาเพื่อ ่ ดําเนินการดานการบริหารงานบุคคลใหเกิดความคลองตัว อิสระภายใตกฎหมาย ระเบียบ ตามหลักธรรมาภิบาล ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ไดรับการพัฒนา มีความรู ความสามารถ มีขวัญกําลังใจ ไดรบการยกยองเชิดชูเกียรติ มีความมั่นคงและกาวหนาในวิชาชีพ ซึ่งจะสงผลตอการพัฒนา ั คุณภาพการศึกษาของผูเรียนเปนสําคัญ ขอบขาย/ภารกิจ การบริหารงานบุคคล 1) การวางแผนอัตรากําลัง (ประเมินความตองการอัตรากําลัง – จัดทําแผนอัตรากําลังของสถานศึกษา - เสนอแผนอัตรากําลังของสถานศึกษา ไปยังเขตพื้นที่ ) 2) การกําหนดตําแหนงและวิทยฐานะขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ( สํารวจและ รวบรวมขอมูล – รวบรวมคําขอและผลงานการขอเลือนวิทยฐานะ – ขอกําหนดตําแหนงเพิ่มเติม - เสนอขอเปลี่ยนแปลงการกําหนดตําแหนง - ดําเนินการ ่ ตามอํานาจหนาที่ ) 3) การเกลี่ยอัตรากําลังขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 4) การสรรหาและบรรจุแตงตั้ง ระบบการบริหารงานบุคคล มี 2 ระบบ คือ 1. ระบบอุปถัมภ - เปนระบบที่เรียกกันวา ระบบพรรคพวก ระบบชุบเลี้ยงชอบพอเปนพิเศษ มีทั้งผลดีและผลเสีย 2. ระบบคุณธรรม - นิยมเรียก ระบบคุณความดี ระบบความรูความสามารถ ใชหลักการ 1) หลักความเสมอภาค 2) หลักความสามารถ 3) หลัก ความมั่นคง 4) หลักความเปนกลางทางการเมือง กระบวนการบริหารงานบุคคล 1. การกําหนดความตองการดานบุคลากร - 1) กําหนดความตองการดานอัตรากําลัง 2) การวิเคราะหงาน 3) การกําหนดลักษณะงาน 4) การกําหนดมาตรฐานความตองการดานกําลัง 2. การสรรหาบุคลากรเขามาทํางาน - 1) การประกาศรับสมัคร 2) การรับสมัคร 3) การสัมภาษณเบืองตน ้ 4) การสอบ 5) การสอบสัมภาษณ 6) การตรวจสอบภูมิหลัง 7) การคัดเลือกขั้นสุดทาย 8) การบรรจุแตงตั้ง
  • 9. 3. การจัดบุคคลเขามาทํางาน 1) การปฐมนิเทศ 2) การจัดใหทํางาน 3) การนิเทศงาน 4) การธํารงรักษา 5) การประเมินผลการปฏิบัตงาน 6) การพิจารณาความดีความชอบ ิ 4.การพัฒนาบุคคล 1) การฝกอบรม 2) การศึกษาตอ 3) การศึกษาดูงาน 4) การสัมมนา 5) การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ 5.การใหพนจากงาน 1) การโอนยาย 2) การลงโทษทางวินัย 3) การลาออก พักงาน 4) การลดจํานวนบุคลากร 5)การเกษียณอายุราชการ 6) การทุพพลภาพ 7) การถึงแกกรรม 9 การใชหลักการบริหาร POSDCORB และ MBO POSDCORB ของ Gulick ไดแก Planning –การวางแผน Organization - การจัดองคการ Staffing - การวางตัวบุคคล Directing – การ อํานวยการ Co – ordinations - การประสานงาน Reporting - การรายงาน Budjeting – การจัดงบประมาณการเงิน MBO เปนกระบวนการบริหารตามเปาหมาย โดยรวมเอาเทคนิคและปรัชญาของการบริหารเขาดวยกัน และเนนทางดานคุณภาพ ประกอบดวยขั้นตอน ดังนี้ 1. ผูบริหารและผูใตบังคับบัญชารวมกันกําหนดขอบเขตความรับผิดชอบในผลงานของผูใตบงคับบัญชาทีตองการเจาะจงลงไป ั ่ ขั้นตอนนี้ตองไดรับความยินยอมทังสองฝาย 2. ผูบริหารและผูใตบงคับบัญชาตองตกลงกันถึงมาตรฐานของผลการดําเนินงานสําหรับขอบเขตความ ้ ั รับผิดชอบแตละอยาง 3. ผูบริหารและผูใตบังคับบัญชาตองตกลงกันถึงแผนงานที่จะตองสอดคลองกับเปาหมายรวมขององคการเสมอ วิธีการปกครองบังคับบัญชาบุคลากรในเชิงสรางสรรค 1. ใหความยุติธรรมและความเปนธรรม 2. ตั้งอยูในพรหมวิหาร 4 คือ เมตตา กรุณา มุทิตตา อุเบกขา 3. ไมทําตัวเปนเจาขุนมูลนาย 4. รับฟงความคิดเห็นของผูใตบังคับบัญชา 5. ใหกําลังใจและสงเสริมความกาวหนาของผูนอย 6. ไมใชอารมณในการทํางาน วางตัวใหเหมาะสม 7. รูจักใหเกียรติรักษาผลประโยชนของผูนอย  8. วางมาตรฐานในการทํางานใหแนชัด 9. ปรับตัวใหเขากับงาน การพัฒนาศักยภาพของบุคลากร อยูบนแนวคิดพื้นฐาน 1. การพัฒนา ฯ จะตองดําเนินการอยางตอเนื่อง เปนระบบ สอดคลองกับความตองการของครู สถานศึกษา หนวยงาน 2. การพัฒนา ฯ ควรมีเปาหมายสําคัญที่การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ใหครูนําหลักสูตรการศึกษา แไปสูการปฏิบัติจริง 3. การพัฒนา ฯ เพื่อเสริมสรางความรูและทักษะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ควบคูไปกับการสรางแรงจูงใจ การเสริมแรงใน เวลาและโอกาสที่เหมาะสม แนวทางการพัฒนาบุคลากรในสถานศึกษา 1. จัดแหลงการเรียนรูใหครูไดศึกษาและพัฒนาตนเอง 2. จัดระบบการนิเทศภายใน – ภายนอก 3. สงเสริมใหครูกลาคิด กลาทํา กลาตัดสินใจ และมีเสรีภาพทางวิชาการ 4. สงเสริมใหบุคลากรไดรวมกันทํางาน แลกเปลี่ยนความรูและประสบการณ 5. สงเสริมใหบุคลากรเขารับการอบรม ประชุม สัมมนา ฝกปฏิบัติการ 5. สงเสริมใหบุคลากรไดแลกเปลี่ยนเรียนรูและประสบการณกับบุคลากรสถานศึกษาอื่น 6. สงเสริมใหบุคลากรไดพัฒนาตนเองตามมาตรฐานวิชาชีพครู 7. สงสริมใหบุคลากรไดสะสมประสบการณเพื่อเลื่อนตําแหนงสูงขึ้น การบริหารงานกิจการนักเรียน หลักการบริหารกิจการนักเรียน 1. หลักการวางแผน - ใหนักเรียนมีสวนรวมในการวางแผนจัดกิจกรรม 2. หลักการจัดองคการ - ผูบริหารเปนประธาน ผูชวย ฝายกิจการ เปนรอง นอกนั้นจัดแบงงานตามสายงานเปนฝาย ตาง ๆ 3. หลักการจัดบุคลากร - จัดครูทําหนาที่เปนที่ปรึกษา โดยใหมีสวนรวม เพือใหเกิดความ ่ พึงพอใจ 4. หลักวินิจฉัยสั่งการและการควบคุมดูแล - ผูบริหารตองใชภาวะผูนําในการวินิจฉัยสั่งการ ควบคุมดูแลและนิเทศงาน 5. หลักการ  ประสานงาน - ผูบริหารใชภาวะผูนําประสานงานใหทุกฝายปฏิบติงานใหสอดคลองกัน ไมซ้ําซอน 6. หลักการรายงาน - การายงานเปนระยะ เพือ ั ่ ทราบผลการปฏิบติงาน และการปรับปรุงงาน 7. หลักการงบประมาณ - กิจกรรมจะเปนตัวกําหนดงบ ั การสรางระเบียบวินัยนักเรียน 1. ปญหาของนักเรียน - ความไมเปนระเบียบเรียบรอยในสังคม - การละเลยไมปฏิบัติตามกฎหมาย - การแตงกายไมเปนระเบียบเรียบรอย