SlideShare a Scribd company logo
1 of 83
ERP
Enterprise Resource Planning
Tanapat Limsaiprom
ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
โครงสร้างของ ERP
โครงสร้างของ ERP
โครงสร้างของ ERP แบ่งออกเป็น 5 กลุ่มคือ
• Material Resource Planning (MRP) หมายถึง ระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการจัดทาแผนความต้องการวัสดุ โดยมีองค์ประกอบ
ของข้อมูลนาเข้าที่สาคัญ 3 รายการคือ ตารางการผลิตหลัก แฟ้มข้อมูลบัญชีรายการวัสดุ (Bill of Material File) และ แฟ้มข้อมูล
สถานะคงคลัง (Inventory Status File)
• Customer Resource Management (CRM) หมายถึง ระบบสารสนเทศเพื่อบริหารความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรและลูกค้า
เพื่อให้เป็นความสัมพันธ์ระยะยาว โดยระบบนี้จะศึกษาพฤติกรรมการซื้อของลูกค้า ความสนใจ ความต้องการ เพื่อให้องค์กรนาข้อมูล
เหล่านั้นมาวิเคราะห์และนาสินค้าเสนอต่อลูกค้าให้ใกล้เคียงกับที่ลูกค้าสนใจ และการบริการหลังการขายแก่ลูกค้า ลดการสูญเสียลูกค้า
ลดต้นทุนการตลาด เพิ่มรายได้จากการที่ลูกค้าซื้อและแนะนาให้คนรู้จักซื้นสินค้าขององค์กร
• Finance Resource Management (FRM) หมายถึง ระบบสารสนเทศที่เน้นให้บริการเกี่ยวกับการเงินและบัญชี โดยอิงตามกฏ
ระเบียบและข้อบังคับตามที่ประเทศนั้นๆ กาหนด FRM ถือเป็นส่วนประกอบหลักของโครงสร้าง ERP ทั้งหมด โดยผลลัพธ์จากการ
ประมวลผลของ FRM มักจะออกมาในรูปแบบรายงาน ทั้งรายงานสาหรับระดับปฏิบัติการ รายงานสาหรับผู้บริหาร และรายงานสาหรับ
หน่วยงานภายนอก เช่น กรมบัญชีกลาง กรมสรรพากร เป็นต้น
• Human Resource Management (HRM) หมายถึงระบบสารสนเทศเพื่อการบริการงานทางบุคคล จัดประกอบด้วยข้อมูล
พื้นฐานของพนักงานในองค์กร ข้อมูลพื้นฐานของโครงสร้างองค์กร การประมวลผลเกี่ยวกับเงินเดือน เป็นต้น
• Supply Chain Management (SCM) หมายถึง ระบบสารสนเทศเพื่อจัดการกระบวนการไหลของวัสดุ สินค้าตลอดจนข้อมูลและ
ธุรกรรมต่างๆ ผ่านองค์กรที่เป็นผู้ส่งมอบ ผู้จัดจาหน่าย ไปจนถึงลูกค้า โดยที่องค์กรต่างๆ มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจต่อกัน
คุณสมบัติของ ERP ที่สาคัญ คือ
• ควรมีความยืดหยุ่น (Flexible) ควรมีความยืดหยุ่น รองรับองค์กร หากมีการปรับเปลี่ยนในอนาคตได้
อีกทั้งการเก็บข้อมูลควรใช้ฐานข้อมูลกลางเดียวกัน เพื่อให้สามารถบูรณาการข้อมูลได้
• โมดูลควรอิสระจากกัน (Modular) ประกอบด้วยหลายฟังก์ชันการทางาน หรือหลายโมดูลดังนั้นควร
มีการทางานที่แตกต่างกันอย่างชัดเจน และอิสระต่อกัน เพื่อป้องกันการเปลี่ยนแปลงจะได้ไม่กระทบกับ
โมดูลอื่นๆ และต้องรองรับการทางานได้หลากหลายแพลตฟอร์ม (Platform)
• ครอบคลุม (Comprehensive) สามารถรองรับการทางานได้หลากหลายฟังก์ชัน เนื่องจากแต่ละ
องค์กรมีลักษณะการทางานที่แตกต่างกัน ดังนั้นต้องหลากหลายและครอบคลุม
• นอกเหนือจากองค์กร (Beyond the Company) สามารถเชื่อมต่อกับระบบสารสนเทศอื่นๆ ของ
องค์กรได้ ไม่จากัดเพียง ERP เท่านั้น
• Belong to the Best Business Practices มีกระบวนการทางานที่เป็นมาตรฐาน โดยนา
กิจกรรมหรือกระบวนการทางานที่จัดว่าเป็นสิ่งที่ดีที่องค์กรพึ่งมีไว้ในระบบ หากแต่องค์กรสามารถ
ปรับแต่งได้ตามความเหมาะสมกับองค์กรนั้นๆ
ความเป็นมาของแนวคิด ERP
แนวคิด ERP เริ่มในยุคปี ค.ศ. 1990 ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา จุดกาเนิดเริ่มแรก
ของ ERP มาจากแนวคิดของการพัฒนาระบบการบริหารการผลิตรวม
(Material Requirement Resource Planning /
Manufacturing Resource Planning, MRP System) ของ
อุตสาหกรรมการผลิตในอเมริกา โดยคาว่า ERP และแนวคิดของ ERP นั้นก็
พัฒนามาจาก MRP นั่นเอง
ในที่นี้จะทาการอธิบาย ความเป็นมาของ MRP โดยย่อว่ามีความเป็นมาอย่างไร
และทาไมจึงพัฒนามาเป็น ERP ได้ ซึ่งจะช่วยให้สามารถเข้าใจความหมายของ
ERP ได้ดียิ่งขึ้นและตัวแนวคิด ERP เองก็ยังมีวิวัฒนาการอยู่ จาก ERP ก็จะ
เป็น Extended ERP และจะพัฒนาไปเป็น Next Generation ERP
ต่อไปในอนาคต
ความเป็นมาของแนวคิด ERP
พัฒนาการจาก MRP สู่ ERP
ความเป็นมาของแนวคิด ERP
• แนวคิดMRPเกิดขึ้นครั้งแรกที่อเมริกาในยุคต้นของ ทศวรรษ 1960 ในช่วงแรก MRP ย่อมาจาก
Material Requirement Planning (การวางแผนความต้องการวัสดุ) เป็นวิธีการในการหา
ชนิดและจานวนวัสดุที่ต้องใช้ในการผลิตตามตารางเวลาและจานวนสินค้าที่ได้วางแผนโดย MPS
(Master Production Schedule)
วิธี MRP เป็นเทคนิคในการจัดการ ที่สามารถหารายการวัสดุที่ต้องใช้ในการผลิตสินค้าสาเร็จรูป ตาม
แผนการผลิตหลักที่ได้วางไว้ โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย สามารถสร้างใบรายการวัสดุ
(bill of material)ได้อย่างรวดเร็ว และสามารถบอกชนิดของวัสดุ จานวนที่ต้องการ และเวลาที่
ต้องการได้อย่างแม่นยา
แต่วิธี MRP นี้ไม่มีความสามารถในการตรวจสอบหาข้อแตกต่างระหว่างแผนการผลิตกับสภาพการ
ผลิตจริงที่ shop floor เนื่องจากไม่มีฟังก์ชั่นเกี่ยวกับการป้อนกลับข้อมูลกลับมาปรับแผนใหม่
อย่างไรก็ตาม วิธี MRP ก็ยังดีกว่าวิธีการควบคุมสินค้าคงคลังแบบเดิม ช่วยให้สามารถลดจานวนวัสดุ
คงคลัง และยกประสิทธิภาพการวางแผนการผลิตและการสั่งซื้อวัตถุดิบได้เป็นอย่างดี
ความเป็นมาของแนวคิด ERP
Closed Loop MRP
ย่างเข้ายุคปี ค.ศ. 1970 MRP ได้รับการพัฒนาให้มีความสามารถในการป้อนกลับข้อมูล
การผลิตจริงใน shop floor นอกจากนั้นยังเพิ่มแนวคิดเรื่อง การวางแผนความต้องการ
กาลังการผลิต (Capacity Requirement Planning)
ระบบ MRP ที่ได้วิวัฒนาการโดยรวมเอาความสามารถรับ feed back จากฝ่ายการ
ผลิต และ CRP เข้าไปนี้ต่อมาถูกเรียกว่า MRP แบบวงปิด (Closed Loop MRP)
ในขั้นตอนนี้ของวิวัฒนาการเราจะเห็นว่ามีการรวมเอางานการวางแผนการผลิต และการ
บริหารการผลิตเข้าเชื่อมโยงกัน จากที่ก่อนหน้านั้นทางานแยกกัน
Closed Loop MRP นี้ประสบความสาเร็จอย่างมากในอุตสาหกรรมการผลิตใน
ปัจจุบัน MRP ที่ใช้ในทุกธูรกิจการผลิตก็คือ Closed Loop MRP นี้เอง
ความเป็นมาของแนวคิด ERP
• การพัฒนาไปสู่ MRP II
จากความสาเร็จของ Closed Loop MRP ก็เกิดการพัฒนาต่อยอดขึ้นเป็น
MRP II ในยุคปี ค.ศ. 1980 (โดย MRP ใหม่นี้ย่อมาจาก Manufacturing
Resource Planning) ซึ่งได้รวมการวางแผนและบริหารทรัพยากรการผลิต
อื่นๆ นอกจากการวางแผนและควบคุมกาลังการผลิต และวัตถุดิบการผลิต เข้าไปใน
ระบบด้วย
MRP II ได้วิวัฒนาการถึงขั้นที่รวมหน้าที่ต่างๆ ซึ่งประกอบด้วย การวางแผนงบการ
จัดซื้อวัตถุดิบ การวางแผนต้นทุนสินค้าคงคลังของระบบบริหารสินค้าคงคลัง การ
วางแผนกาลังคนที่สัมพันธ์กับกาลังการผลิต ซึ่งเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับต้นทุนการ
ผลิต เข้าอยู่ในระบบ MRP II
ความเป็นมาของแนวคิด ERP
ด้วยความสามารถนี้ทาให้ MRP II เป็นระบบที่สามารถส่งข้อมูลทุกชนิด ที่
ระบบบัญชีต้องการให้แก่ระบบบัญชีได้ นั่นคือ MRP II เป็นระบบที่รวม
เอา Closed loop MRP , ระบบบัญชี และระบบซิมูเลชั่น เข้าด้วยกัน
เป็นการขยายขอบเขตของสิ่งที่สามารถวางแผนและบริหารให้กว้างขวาง
ออกไปยิ่งขึ้นกว่าเดิม
โดยการใช้ระบบ MRP II ธุรกิจการผลิตสามารถที่จะวางแผนและบริหาร
ระบบงานต่างๆ คือ การขาย บัญชี บุคคล การผลิต และสินค้าคงคลัง เข้า
ด้วยกัน ได้อย่างบูรณาการ ด้วยความสามารถนี้ทาให้ MRP II เริ่มถูก
เรียกว่า BRP (=Business Resource Planning) และเริ่มเป็น
แนวคิดหลักของระบบ CIM (=Computer Integrated
Manufacturing)
ความเป็นมาของแนวคิด ERP
จาก MRP II ไปเป็น ERP
MRP II เป็นแนวคิดที่ใช้ในอุตสาหกรรมการผลิต ERP ได้ขยายแนวคิด
ของ MRP II ให้สามารถใช้ได้ทั้งองค์กรของธุรกิจที่หลากหลาย โดยการ
รวมระบบงานหลักทุกอย่างในองค์กรเข้ามาเป็นระบบเดียวกัน
นั่นคือ ERP เกิดขึ้นจากความต้องการที่จะสามารถตัดสินใจในด้านธุรกิจ
อย่างมีประสิทธิภาพ และแบบเรียลไทม์ โดยอาศัยข้อมูลทุกชนิดจากทุก
ระบบงานในองค์กรที่ระบบนามาบันทึกเก็บไว้ในฐานข้อมูลรวมเดียวกัน
ความเป็นมาของแนวคิด ERP
การพัฒนาต่อจาก ERP
แนวคิด ERP เกิดจากการขยาย MRP II ซึ่งเป็นระบบที่
optimize ในส่วนการผลิต ให้เป็นระบบที่ optimize ทั้งบริษัท
ในปัจจุบันมีการพัฒนา E-Business อย่างรวดเร็ว และทาให้
ขอบเขตของการ optimize ต้องมองให้กว้างมากขึ้นไปกว่าเดิมเป็น
global optimize นั่นหมายความว่า ERP ก็จะมีวิวัฒนาการ
ต่อไปอีก
ERP
ERP ย่อมาจาก Enterprise Resource Planning หมายถึง การ
วางแผนทรัพยากรทางธุรกิจขององค์กรโดยรวม เพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์อย่าง
สูงสุดของทรัพยากรทางธุรกิจขององค์กร ระบบ ERP เป็นระบบสารสนเทศของ
องค์กรที่นาแนวคิดและวิธีการบริหารของ ERP มาทาให้เกิดเป็นระบบเชิงปฏิบัติ
ในองค์กร ระบบ ERP สามารถบูรณาการ (integrate) รวมงานหลัก (core
business process) ต่างๆ ในบริษัททั้งหมด ได้แก่ การจัดจ้าง การผลิต
การขาย การบัญชี และการบริหารบุคคล เข้าด้วยกันเป็นระบบที่สัมพันธ์กันและ
สามารถเชื่อมโยงกันอย่าง real time
ลักษณะสาคัญของระบบ ERP
1. การบูรณาการระบบงานต่างๆ ของระบบ ERP
จุดเด่นของ ERP คือ การบูรณาการระบบงานต่างๆ เข้าด้วยกัน ตั้งแต่การ
จัดซื้อ จัดจ้าง การผลิต การขาย บัญชีการเงิน และการบริหารบุคคล ซึ่งแต่ละส่วน
งานจะมีความเชื่อมโยงในด้าน การไหลของวัตถุดิบสินค้า (material flow)
และการไหลของข้อมูล (information flow) ERP ทาหน้าที่เป็นระบบการ
จัดการข้อมูล ซึ่งจะทาให้การบริหารจัดการงานในกิจกรรมต่างๆ ที่เชื่อมโยงกันให้
ผลลัพธ์ออกมาดีที่สุด พร้อมกับสามารถรับรู้สถานการณ์และปัญหาของงานต่างๆ
ได้ทันที ทาให้สามารถ ตัดสินใจแก้ปัญหาองค์กรได้อย่างรวดเร็ว
ลักษณะสาคัญของระบบ ERP
2. รวมระบบงานแบบ real time ของระบบ ERP
การรวมระบบงานต่างๆ ของระบบ ERP จะเกิดขึ้นในเวลาจริง
(real time) อย่างทันที เมื่อมีการใช้ระบบ ERPช่วยให้สามารถทาการปิด
บัญชีได้ทุกวัน เป็นรายวัน คานวณ ต้นทุนและกาไรขาดทุนของบริษัทเป็นรายวัน
ลักษณะสาคัญของระบบ ERP
3. ระบบ ERP มีฐานข้อมูล(database) แบบสมุดลงบัญชี
การที่ระบบ ERP สามารถรวมระบบงานต่าง ๆ เข้าเป็นระบบงานเดียว แบบ
Real time ได้นั้น ก็เนื่องมาจากระบบ ERP มี database แบบสมุด
ลงบัญชี ซึ่งมีจุดเด่น คือ คุณสมบัติของการเป็น 1 Fact 1 Place ซึ่งต่างจาก
ระบบแบบเดิมที่มีลักษณะ 1 Fact Several Places ทาให้ระบบซ้าซ้อน
ขาดประสิทธิภาพ เกิดความผิดพลาดและขัดแย้งของข้อมูลได้ง่าย
ERP PACKAGE
ERP package เป็น application software package ซึ่งผลิตและ
จาหน่ายโดยบริษัทผู้จาหน่าย ERP package (Vendor หรือ
Software Vendor) เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการสร้างและบริหารงานระบบ
ERP โดยจะใช้ ERP package ในการสร้างระบบงานการจัดซื้อจัดจ้าง การ
ผลิต การขาย การบัญชี และการบริหารบุคคล ซึ่งเป็นระบบงานหลักขององค์กร
ขึ้นเป็นระบบสารสนเทศรวมขององค์กร โดยรวมระบบงานทุกอย่างไว้ใน
ฐานข้อมูลเดียวกัน
จุดเด่นของ ERP package
1. เป็น Application Software ที่รวมระบบงานหลักอันเป็นพื้นฐาน
ของการสร้างระบบ ERP ขององค์กร
ERP package จะต่างจาก software package ที่ใช้ในงานแต่ละ
ส่วนในองค์กร เช่น production control software,
accounting software ฯลฯ แต่ละ software ดังกล่าวจะเป็น
application software เฉพาะสาหรับแต่ละระบบงานและใช้งาน
แยกกันขณะที่ ERP package นั้นจะรวมระบบงานหลักต่างๆ ขององค์กร
เข้าเป็นระบบอยู่ใน package เดียวกัน ซึ่งเป็นพื้นฐานสาคัญของการสร้าง
ระบบ ERP ขององค์กร
จุดเด่นของ ERP package
2. สามารถเสนอ business scenario และ business
process ซึ่งถูกสร้างเป็น pattern ไว้ได้
ERP package ได้รวบรวมเอาความต้องการสาคัญขององค์กรเข้า
ไว้ เป็นระบบในรูปแบบของ business process มากมาย ทาให้
ผู้ใช้สามารถนาเอารูปแบบต่างๆ ของ business process ที่
เตรียมไว้มาผสมผสานให้เกิดเป็น business scenario ที่
เหมาะสมกับลักษณะทางธุรกิจขององค์กรของผู้ใช้ได้
จุดเด่นของ ERP package
3. สามารถจัดทาและเสนอรูปแบบ business process ที่เป็น
มาตรฐานสาหรับองค์กรได้
การจัดทา business process ในรูปแบบต่างๆ นั้นสามารถจัดให้
เป็นรูปแบบมาตรฐานของ business process ได้ด้วย ทาให้บาง
กรณีเราเรียก ERP ว่า standard application software
package
สาเหตุที่ต้องนา ERP package มาใช้ในการสร้างระบบ
1. ใช้เวลานานมากในการพัฒนา software
การที่จะพัฒนา ERP software ขึ้นมาเองนั้น มักต้องใช้เวลานาน
มากในการพัฒนา และจะต้องพัฒนาทุกระบบงานหลักขององค์กรไป
พร้อมๆ กันทั้งหมด จึงจะสามารถรวมระบบงานได้ ตามแนวคิดของ
ERP ซึ่งจะกินเวลา 5-10 ปี แต่ในแง่ของการบริหารองค์กร ถ้าต้องการ
ใช้ ระบบ ERP ฝ่ายบริหารไม่สามารถจะรอคอยได้เพราะ
สภาพแวดล้อมในการบริหารมีการเปลี่ยนแปลงตลอด ระบบที่
พัฒนาขึ้นอาจใช้งานไม่ได้ ดังนั้นผู้บริหารจึงไม่เลือกวิธีการพัฒนา
ERP software เองในองค์กร
สาเหตุที่ต้องนา ERP package มาใช้ในการสร้างระบบ
2. ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาสูงมาก
การพัฒนา business software ที่รวมระบบงานต่างๆเข้ามาอยู่
ใน package เดียวกัน จะมีขอบเขตของงานกว้างใหญ่มาก
ครอบคลุมทุกประเภทงาน ต้องใช้เวลานานมากในการพัฒนาและ
ค่าใช้จ่ายก็สูงมากตามไปด้วย หรือถ้าให้บริษัทที่รับพัฒนา
software ประเมินราคาค่าพัฒนา ERP software ให้องค์กร ก็
จะได้ในราคาที่สูงมาก ไม่สามารถยอมรับได้อีกเช่นกัน
สาเหตุที่ต้องนา ERP package มาใช้ในการสร้างระบบ
3. ค่าดูแลระบบและบารุงรักษาสูง
เมื่อพัฒนา business software ขึ้นมาใช้เอง ก็ต้องดูแลและบารุงรักษา
และถ้ามีการเขียนโปรแกรมเพิ่มหรือแก้ไขโปรแกรม การบารุงรักษาจะต้องทาอยู่
อย่างยาวนานตลอดอายุการใช้งาน เมื่อรวมค่าบารุงรักษาในระยะยาวต้องใช้เงิน
สูงมาก อีกทั้งกรณีที่มีการปรับเปลี่ยน Software ไปตาม platform หรือ
network ระบบต่างๆ ที่เปลี่ยนไปหรือเกิดขึ้นใหม่ ก็เป็นงานใหญ่ ถ้าเลือกที่จะ
ดูแลระบบเองก็ต้องรับภาระค่าใช้จ่ายในการบารุงรักษานี้พร้อมกับรักษา
บุคลากรด้าน IT นี้ไว้ตลอดด้วย
โครงสร้างของ ERP package
• 1. Business Application Software Module
ประกอบด้วย Module ที่ทาหน้าที่ในงานหลักขององค์กร คือ การบริหารการขาย การบริหาร
การผลิต การบริหารการจัดซื้อ บัญชี การเงิน บัญชีบริหาร ฯลฯ แต่ละ Module สามารถ
ทางานอย่างโดดๆ ได้ แต่ก็มีการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่าง Module กัน เมื่อกาหนด
parameter ให้กับ module จะสามารถทาการเลือกรูปแบบ business process
หรือ business rule ให้ตอบสนองเป้าหมายขององค์กรตาม business scenario
โดยมี business process ที่ปรับให้เข้ากับแต่ละองค์กรได้
• ERP package ที่ต่างกันจะมีเนื้อหา และน้าหนักการเน้นความสามารถของแต่ละ
Module ไม่เหมือนกัน และเหมาะกับการนาไปใช้งานในธุรกิจที่ต่างกัน ในการเลือกจึงต้อง
พิจารณาจุดนี้ด้วย
โครงสร้างของ ERP package
• 2. ฐานข้อมูลรวม (Integrated database)
Business application module จะ share ฐานข้อมูลชนิด
Relational database (RDBMS) หรืออาจจะเป็น database
เฉพาะของแต่ละ ERP package ก็ได้ Software Module จะ
ประมวลผลทุก transaction แบบเวลาจริง และบันทึกผลลงในฐานข้อมูลรวม
โดยฐานข้อมูลรวมนี้สามารถถูก access จากทุก Software Module ได้
โดยตรงโดยไม่จาเป็นต้องทา batch processing หรือ File transfer
ระหว่าง Software Module เหมือนในอดีต และทาให้ข้อมูลนั้นมีอยู่ “ที่
เดียว” ได้
โครงสร้างของ ERP package
3. System Administration Utility
Utility กาหนดการใช้งานต่างๆ ได้แก่ การลงทะเบียนผู้ใช้งาน, การกาหนดสิทธิ
การใช้, การรักษาความปลอดภัยข้อมูล, การบริหารระบบ LAN และ
network ของ terminal, การบริหารจัดการ database เป็นต้น
โครงสร้างของ ERP package
4. Development and Customize Utility
ERP สามารถออกแบบระบบการทางานใน business process ของ
องค์กรได้อย่างหลากหลาย ตาม business scenario แต่บางครั้งอาจจะไม่
สามารถสร้างรูปแบบอย่างที่ต้องการได้ หรือมีความต้องการที่จะ Customize
บางงานให้เข้ากับการทางานของบริษัท ERP package จึงได้เตรียม Utility
ที่จะสนับสนุนการพัฒนาโปรแกรมส่วนนี้ไว้ด้วย โดยจะมีระบบพัฒนาโปรแกรม
ภาษา 4GL (Fourth Generation Language) ให้มาด้วย
Function ของ ERP package
ERP module
ERP package โดยทั่วไปจะจัดเตรียม Software module
สาหรับงานหลักของธุรกิจต่าง ๆ ไว้ดังนี้
• 1. ระบบบัญชี
• บัญชีการเงิน – General, Account Receivable, Account
Payable, Credit/Debit, Fixed Asset, Financial,
Consolidated Accounts, Payroll, Currency
Control(multi-currency)
• บัญชีบริหาร – Budget Control, Cost Control, Profit
Control, Profitability Analysis, ABC Cost Control,
Management Analysis, Business Plan
ERP module
• 2. ระบบการผลิต
• ควบคุมการผลิต – Bill of Material, Production Control, MRP,
Scheduling, Production Cost Control, Production Operation
Control, Quality Control, Equipment Control, Multi-location
Production Supporting System
• ควบคุมสินค้าคงคลัง – Receipt/Shipment Control, Parts Supply
Control, Raw Material, Stocktaking
• การออกแบบ – Technical Information Control, Parts Structure
Control, Drawing Control, Design Revision Support System
• การจัดซื้อ – Outsourcing/Purchasing, Procurement,
Acceptance, การคืนสินค้า, ใบเสนอราคา, ใบสัญญา
• ควบคุมโครงการ – Budget, Planning, Project Control
ERP module
• 3. ระบบบริหารการขาย – Demand/Sales Forecasting ,
Purchase Order, Sales Planning/Analysis, Customer
Management, Inquiry Management, Quotation
Management, Shipment Control, Marketing, Sale
Agreement, Sale Support, Invoice/Sales Control
ERP module
• 4. Logistics – Logistic Requirement Planning ,
Shipment/Transport Control, Export/Import Control,
Warehouse management, Logistics Support
ERP module
• 5. ระบบการบารุงรักษา – Equipment Management,
Maintenance Control, Maintenance Planning
ERP module
• 6. ระบบบริหารบุคคล – Personnel Management,
Labor Management, Work Record Evaluation,
Employment, Training & HRD, Payroll, Welfare
Management
คุณสมบัติที่ดีของ ERP package
• มีคุณสมบัติ online transaction system เพื่อให้สามารถใช้งานแบบ real time ได้
• รวมข้อมูลและ information ต่างๆ เข้ามาที่จุดเดียว และใช้งานร่วมกันโดยใช้ integrated database
• มี application software module ที่มีความสามารถสูงสาหรับงานหลักๆ ของธุรกิจได้ อย่าง
หลากหลาย
• มีความสามารถในการใช้งานในหลายประเทศ ข้ามประเทศ จึงสนับสนุนหลายภาษา หลายสกุลตรา
• มีความยืดหยุ่น และสามารถปรับเปลี่ยนขยายงานได้ง่าย เมื่อระบบงานหรือโครงสร้างองค์ กรมีการเปลี่ยนแปลง
• มีขั้นตอนและวิธีการในการติดตั้งสร้างระบบ ERP ในองค์กรที่พร้อมและชัดเจน
• เตรียมสภาพแวดล้อม(ระบบสนับสนุน) สาหรับการพัฒนาฟังก์ชันที่ยังขาดอยู่เพิ่มเติมได้
• สามารถใช้กับเทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ๆ
• ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เป็นมาตรฐานระดับโลก มีความเป็นระบบเปิด (open system)
• สามารถ interface หรือเชื่อมโยงข้อมูลกับระบบงานที่มีอยู่แล้วในบริษัทได้
• มีระบบการอบรมบุคลากรในขั้นตอนการติดตั้งระบบ
• มีระบบสนับสนุนการดูแลและบารุงรักษาระบบ
ชนิดของ ERP package
1. ERP ชนิดที่ใช้กับทุกธุรกิจหรือเฉพาะบางธุรกิจ
ERP package โดยทั่วไปส่วนมากถูกออกแบบให้สามารถใช้ได้กับงานแทบ
ทุกประเภทธุรกิจ แต่งานหลักของธุรกิจซึ่งได้แก่ การผลิต การขาย Logistics
ฯลฯ มักจะมีความแตกต่างกันตามประเภทของธุรกิจ ดังนั้นจึงมี ERP
package ประเภทที่เจาะจงเฉพาะบางธุรกิจอยู่ในตลาดด้วย เช่น ERP
package สาหรับอุตสาหกรรมเคมี อุตสาหกรรมกระดาษ อุตสาหกรรมยา เป็น
ต้น
ชนิดของ ERP package
2. ERP สาหรับธุรกิจขนาดใหญ่หรือสาหรับ SMEs
แต่เดิมนั้น ERP package ได้รับการพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในธุรกิจขนาดใหญ่อย่างแพร่หลาย ต่อมาตลาด
เริ่มอิ่มตัว ผู้ผลิตจึงได้เริ่มหันเป้ามาสู่บริษัทขนาดกลางและขนาดย่อมมากขึ้นเรื่อยๆ ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจ
ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง หรือขนาดย่อม ระบบและเนื้อหาของระบบงานหลักต่างๆจะไม่แตกต่างกันมาก
เพียงแต่ในธุรกิจขนาดใหญ่จะมีปริมาณของเนื้องานมากขึ้น ปัจจุบันมี ERP package ที่ออกแบบ
โดยเน้นสาหรับการใช้งานในธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมโดยเฉพาะ ออกมาจาหน่ายมากขึ้น เช่น
- Oracle Application/Oracle
- People Soft
- SAP
- MS Navision
- J.D. Edwards
- MFG/PRO
ERPและการเชื่อมโยงไปสู่กิจกรรมการปฏิรูปองค์กร
1. ริเริ่มกิจกรรมปฏิรูปองค์กรโดยการนา ERP มาใช้
การนา ERP มาใช้นั้น ไม่ได้หมายถึงเพียงแค่การสร้างระบบข้อมูลสารสนเทศองค์กรใหม่ทั้งระบบโดยใช้ระบบ
ERP เท่านั้น ก่อนอื่นต้องเริ่มจากกิจกรรมเพื่อเปลี่ยนแปลงจิตสานึกให้เห็นความสาคัญของการปฏิรูปองค์กร
ซึ่งเป็นการปฏิรูปในชั้นรากฐานขององค์กร เพื่อทาให้เกิดความเข้าใจในแนวคิดของ ERP ทั่วทั้งองค์กร
ต่อจากนั้นต้องทบทวนห่วงโซ่กิจกรรม(ห่วงโซ่ของมูลค่า) เดิมและสร้างระบบใหม่ขึ้น ให้สามารถสร้างมูลค่าเพิ่ม
เพื่อสนองตอบความต้องการของลูกค้าได้ดียิ่งขึ้น และนี่ก็คือการปฏิรูปกระบวนการทางธุรกิจ จากนั้นจะใช้
กระบวนการทางธุรกิจเป็นฐาน เพื่อสร้างระบบ ERP ขึ้นมาใหม่เป็นระบบสารสนเทศขององค์กร ซึ่งถือว่าเกิด
การปฏิรูปในชั้นระบบสารสนเทศขององค์กรจากการนา ERP มาใช้
พลังขับเคลื่อนของกิจกรรมการปฏิรูป
องค์กรจากการนา ERP มาใช้
ERPและการเชื่อมโยงไปสู่กิจกรรมการปฏิรูปองค์กร
2. การฝังลึกของกิจกรรมปฏิรูปองค์กรที่เกิดจากการนา ERP มาใช้
เมื่อมีการปฏิรูปชั้นรากฐานขององค์กรฝังลึกขึ้น จะทาให้เกิดแรงผลักดันเพื่อการปฏิรูปองค์กร
อย่างต่อเนื่องและสามารถส่งผลให้เกิดความสามารถ ที่จะผลิตสินค้าและบริการใหม่ๆ ที่
สร้างสรรค์ได้อย่างรวดเร็วตรงตามความต้องการของตลาด การสร้างผลิตภัณฑ์หรือบริการ
ใหม่ๆ นี้จะส่งผลเรียกร้องให้เกิดการปฏิรูปใหม่ๆ ในชั้นระบบสารสนเทศองค์กรด้วย เช่น เกิด
ความคิดว่าแนวคิด ERP นั้นน่าจะขยายขอบเขตให้ใหญ่ขึ้น ซึ่งจะเป็นผลทาให้เกิดการปฏิรูป
อย่างต่อเนื่องของระบบ ERP
การนา ERPมาใช้ส่งผลให้เกิดการปฏิรูปด้านต่าง
1. การปฏิรูปการทางาน
การนา ERP มาใช้นั้น จะทาให้เกิดการทบทวนกระบวนการทางธุรกิจของห่วงโซ่
ของกิจกรรมที่มีอยู่เดิมว่า เป็นไปตามแนวคิดของ ERP หรือไม่ ผลที่เกิดขึ้นก็คือ
การนา ERP มาใช้ จะทาให้เกิดการปฏิรูประบบการทางานที่มีอยู่เดิมโดยปริยาย
การปฏิรูปการทางานส่งผลกระทบต่อการบริหารธุรกิจด้าน
- การเพิ่มประสิทธิภาพและความเหมาะสมให้กับกระบวนการทางธุรกิจ
- การทาให้การบริการรวดเร็ว ไวต่อเหตุการณ์
- การลดลงของค่าใช้จ่าย
การนา ERPมาใช้ส่งผลให้เกิดการปฏิรูปด้านต่าง
2. การปฏิรูปการบริหารธุรกิจ
การนา ERP มาใช้นั้น จะทาให้สามารถรวมศูนย์งานทั้งหมดในห่วงโซ่
กิจกรรม (ห่วงโซ่ของมูลค่า) ได้ และสามารถรู้ถึงกิจกรรมในห่วงโซ่
กิจกรรมได้แบบ real time เมื่อสามารถรับรู้ถึงสภาพการณ์โดยรวม
ของการบริหารอย่างแจ่มแจ้ง ก็จะทาให้สามารถดูแลบริหารและลงทุน
ทรัพยากรทางการบริหารต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การนา ERPมาใช้ส่งผลให้เกิดการปฏิรูปด้านต่าง
3. การปฏิรูปวัฒนธรรมและวิถีขององค์กร
ในการปฏิรูปการทางาน มีความจาเป็นต้องแก้ไขรูปแบบโครงสร้างองค์กร
แบบดั้งเดิมที่แบ่งแยกในแนวตั้งตาม function และมีชั้นมากมาย โดย
จะต้องปฏิรูปโครงสร้างให้เป็นแบบแนวราบ (flat) ซึ่งสามารถควบคุมห่วง
โซ่ของกิจกรรมเพิ่มมูลค่าตลอดตามแนวนอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ การ
เปลี่ยนแปลงโครงสร้างองค์กรแบบนี้จะส่งผลให้เกิดการปฏิรูปวัฒนธรรมและ
วิถี ขององค์กรในด้าน
- การเป็นตัวเองและความกระตือรือร้นของพนักงาน
- การใช้ความสามารถของพนักงานให้เกิดผล (empowerment)
- การใช้ความคิดสร้างสรรค์ในฐานะขององค์กรให้เกิดผล
ปัจจัยต่าง ที่ควรพิจารณาเมื่อนา ERP มาใช้ในองค์กร
1. ปัจจัยด้านต้นทุน (Cost)
2. ปัจจัยด้านเทคโนโลยี (Technology)
3. ปัจจัยด้านเทคนิค (Technical)
4. ปัจจัยด้านการวางแผนกลยุทธ์ (Strategy)
5. ปัจจัยด้านการปรับเปลี่ยนกระบวนการทางธุรกิจ (Business Process Re-
engineering-BPR)
6. ปัจจัยด้านการเปลี่ยนแปลงการจัดการ (Change Management)
7. ปัจจัยด้านการจัดการโครงการ (Project Management)
8. ปัจจัยด้านบุคลากร (Human Resource)
9. ปัจจัยด้านการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร (Chang Culture Organization)
ความเป็นผู้นา(leadership) ของผู้บริหารต่อการนา ERP มาใช้
ผู้บริหารและการนา ERP มาใช้
1. การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสภาวะแวดล้อมการบริหาร
สภาวะแวดล้อมการบริหารในปัจจุบันนั้นเปลี่ยนแปลงรวดเร็วมาก
เนื่องจากเป็นยุคของการเปิดสู่โลกกว้าง การเข้ายุคการแข่งขันอย่าง
รุนแรง และยุคที่การเปลี่ยนแปลงเป็นเรื่องปกติ
ผู้บริหารและการนา ERP มาใช้
2. การเสริมความแกร่งด้านการแข่งขันโดยการปฏิรูปองค์กร
การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมการบริหารดังกล่าว ทาให้การ
ปฏิรูปองค์กร เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ จึงทาให้มีความจาเป็นต้องปฏิรูป
การทางาน ปฏิรูปการบริหาร และปฏิรูปวัฒนธรรม และวิถีขององค์กร
ด้วย
ผู้บริหารและการนา ERP มาใช้
3. การสร้างรากฐานของการปฏิรูปองค์กรโดยใช้ระบบ ERP
เพื่อที่จะสามารถปฏิรูปองค์กรให้ได้รวดเร็ว ทันต่อสภาพแวดล้อมการ
บริหารที่เปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว จาเป็นต้องปฏิรูประบบเทคโนโลยี
สารสนเทศขององค์กร โดยการนาระบบ ERP มา ใช้เป็นรากฐานของ
ระบบข้อมูลสารสนเทศขององค์กร
ผู้บริหารและการนา ERP มาใช้
4. ความเป็นผู้นาของผู้บริหาร
การนา ERP มาใช้ ไม่ได้หมายถึงเพียงแค่การสร้างระบบข้อมูล
สารสนเทศใหม่เท่านั้น แต่เป็นการนาเครื่องจักรขับเคลื่อนการปฏิรูป
องค์กรเข้ามาใช้ และการที่จะปฏิรูปองค์กรนั้น คนที่สามารถผลักดันได้
ก็มีเพียงแต่ผู้บริหารเท่านั้น ดังนั้นในการนา ERP มาใช้ ความเป็นผู้นา
ของผู้บริหาร จึงเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้
บทบาทของผู้บริหารที่ต้องปฏิบัติในการนา ERP มาใช้
• 1. การเป็นหัวหอกในการปฏิรูปจิตสานึก
ก่อนที่จะนา ERP มาใช้ ผู้บริหารจะต้องไม่มองข้ามสภาพปัจจุบันขององค์กร แต่
จะต้องเป็นหัวหอกในการปฏิรูปจิตสานึกต่อความสาคัญของการปฏิรูปองค์กร
และจะต้องรับบทบาทในการผลักดันเรื่องการปฏิรูปจิตสานึกขององค์กรโดยรวม
ผู้บริหารจะต้องเป็นผู้อธิบายให้พนักงานเข้าใจ โดยบางครั้งจะต้องวนไปรอบๆ
องค์กรด้วยตัวเอง และพูดคุยกับพนักงานแต่ละคนๆ ให้ร่วมแรงกันปฏิบัติ
บทบาทของผู้บริหารที่ต้องปฏิบัติในการนา ERP มาใช้
2. ร่วมในการออกแบบและการตัดสินใจในการนา ERP มาใช้
การนา ERP มาใช้ต่างกับการทาโครงการเพียงเพื่อสร้างระบบ
สารสนเทศใหม่เป็นอย่างมาก เพราะการสร้างระบบ ERP คือการสร้าง
ระบบสารสนเทศใหม่ที่รวมศูนย์ และมีความสามารถทาให้เกิดการ
บริหารที่ก่อให้เกิดการปฏิรูปการทางาน การปฏิรูปการบริหาร การ
ปฏิรูปวัฒนธรรมและวิถีขององค์กรอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้องค์กรโดยรวม
ได้รับประสิทธิภาพสูงสุด
บทบาทของผู้บริหารที่ต้องปฏิบัติในการนา ERP มาใช้
3. การเป็นผู้นาอย่างต่อเนื่องในการนา ERP มาใช้
ผู้บริหารไม่ใช่แค่เป็นผู้เริ่มต้นเท่านั้น ผู้บริหารจะต้องไม่ปล่อยให้เป็น
หน้าที่ของผู้ใต้บังคับ บัญชาในการดาเนินการผลักดันการนา ERP มา
ใช้ เพราะถ้าเป็นเช่นนั้นจะไม่ประสบผลสาเร็จ ผู้บริหารจะต้องเป็นผู้นา
อย่างต่อเนื่องในการนา ERP มาใช้ในองค์กร
ขั้นตอนการนา ERP มาใช้
การนา ERP มาใช้นั้น มีความจาเป็นที่จะต้องแบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอนใหญ่
ขั้นตอนการวางแนวความคิดการนา ERP มาใช้
กระบวนการของขั้นตอนการวางแนวคิด
ขั้นตอนการวางแนวความคิดการนา ERP มาใช้
1. จัดตั้งทีมแกนกลาง (core team)
เป็นการจัดตั้งทีมงานแกนกลาง เพื่อผลักดันการนา ERP มาใช้รวมทั้ง
จัดทาแผนการวางแนวคิด การทา ERP มาใช้ และควรมีที่ปรึกษาที่มี
ประสบการณ์ด้าน ERP ซึ่งควรมาจากบริษัทที่ปรึกษาที่เป็นกลาง เพื่อ
จะได้ให้คาปรึกษาที่น่าเชื่อถือแก่ผู้บริหารได้
ขั้นตอนการวางแนวความคิดการนา ERP มาใช้
2. การทาความเข้าใจและวินิจฉัยสถานภาพปัจจุบันของรูปทาง
ธุรกิจ(business scenario) และกระบวนการทางธุรกิจ
(business process)
ทีมงานแกนกลางจะทางานในการรับฟังข้อมูลจากทั้งผู้บริหาร และจาก
แต่ละหน่วยงานภายในบริษัทในประเด็นเกี่ยวกับสถานภาพปัจจุบันของ
กระบวนการทางธุรกิจ และทาการวินิจฉัยวิเคราะห์
ขั้นตอนการวางแนวความคิดการนา ERP มาใช้
3. การทาประเด็นปัญหาปัจจุบันของรูปแบบทางธุรกิจและ
กระบวนการทางธุรกิจให้ชัดเจนเป็นรูปธรรม
จากนั้นจะต้องทาการสรุปสถานภาพและประเด็นปัญหาปัจจุบันของ
รูปแบบธุรกิจ และกระบวนการทางธุรกิจให้ชัดเจนเป็นรูปธรรม
ขั้นตอนการวางแนวความคิดการนา ERP มาใช้
4. การกาหนดรูปแบบที่ควรจะเป็น
โดยการออกแบบระบบการทางานขององค์กรไปสู่ภาพลักษณ์ที่ต้องการ
ในอนาคต โดยให้มีการเข้าร่วมของผู้บริหารในขั้นตอนนี้ด้วย และโดย
การเปรียบเทียบภาพอนาคตกับสถานภาพปัจจุบัน จะทาให้สามารถ
มองเห็นแนวว่า ควรจะทาการปฏิรูปองค์กรอย่างไร แล้วสรุปแนวทาง
หลักๆ ในการทากิจกรรมเพื่อปฏิรูปองค์กรโดยนา ERP มาใช้
ขั้นตอนการวางแนวความคิดการนา ERP มาใช้
5. การรณรงค์ปฏิรูปจิตสานึก
ต้องมีการปฏิรูปจิตสานึกให้คนทั้งองค์กรเห็นพ้องร่วมกันในสถานภาพ
ปัจจุบันไปสู่สภาพที่ควรจะเป็น เปิดโอกาสให้บุคลากรจากหน่วยงาน
ภายในองค์กรเข้าร่วม เพื่อแสวงหาภาพของ องค์กรที่ควรจะเป็นร่วมกัน
ขั้นตอนการวางแนวความคิดการนา ERP มาใช้
6. แผนการวางแนวคิดสาหรับการปฏิรูปวิสาหกิจ
เป็นการวางแผนแนวความคิดเพื่อการปฏิรูปองค์กร เพื่อกาจัดช่องว่าง
ระหว่างประเด็นปัญหาของการบริหารธุรกิจในปัจจุบันกับภาพที่
ต้องการจะให้เป็นในอนาคต
7. แผนการวางแนวคิดการนา ERP มาใช้
ให้วางแผนแนวคิดการนา ERP มาใช้ โดยยึดตามแนวคิดของการ
ปฏิรูปองค์กร โดนเน้นว่าการนา ERP มาใช้นั้นเป็นการนาเครื่องจักร
ขับเคลื่อนการปฏิรูปองค์กรเข้ามาใช้
8. การตัดสินใจในการนา ERP มาใช้โดยผู้บริหาร
ซึ่งเป็นขั้นตอนสุดท้าย เพื่อขออนุมัติการตัดสินของผู้บริหารเพื่อนา
ERP มาใช้โดยยึดหลักแนวคิดที่วางไว้ และหลังจากได้รับคาอนุมัติ
จากผู้บริหารแล้ว ก็จะเริ่มต้นการวางแผนการนา ERP มาใช้ต่อไป
ขั้นตอนการวางแผนการนา ERP มาใช้
งานสาหรับขั้นตอนการวางแผน
ขั้นตอนการวางแผนการนา ERP มาใช้
1. จัดตั้งคณะกรรมการกาหนดแนวทาง
จัดตั้งคณะกรรมการกาหนดแนวทางโดยให้ผู้บริหารเป็นประธาน คณะกรรมการชุดนี้ไม่
เพียงแต่มีบทบาทในการวางแผนโครงการนา ERP มาใช้เท่านั้น แต่ยังมีบทบาทจนกระทั่ง
สิ้นสุดโครงการ เช่น ติดตาม ความก้าวหน้าของโครงการ, ปัญหาที่เกิดขึ้น รวมทั้งปัญหา
ต่างๆที่จาเป็นต้องอาศัยมุมมองจากการบริหารจัดการในการแก้ไขอย่างรวดเร็ว โดยจะเป็น
หน่วยงานที่มีอานาจตัดสินใจสูงสุดในการแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวกับโครงการนา ERP มาใช้
ดังนั้นสมาชิกของคณะกรรมการกาหนดแนวทางจึงต้องประกอบด้วย ผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบ
ของหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องภายในองค์กร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการตัดสินใจเกี่ยวกับ
กระบวน การทางธุรกิจ จะต้องมีผู้รับผิดชอบที่เป็นตัวแทนมาจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ
กระบวนการทางธุรกิจ (process owner) และมีอานาจตัดสินใจเข้าร่วมด้วย
ขั้นตอนการวางแผนการนา ERP มาใช้
2. จัดตั้งระบบและโครงสร้างขององค์กร
คณะกรรมการกาหนดแนวทาง จะต้องตั้งทีมปฏิบัติงานโครงการนา ERP มาใช้ งานของ
โครงการนา ERP มาใช้คือ การกาหนดลาดับขั้นตอนของกระบวนการทางธุรกิจใหม่โดย
อ้างอิงจากรูปแบบธุรกิจที่วางแผนไว้ และทาการสร้างระบบ ERP โดยการกาหนด
parameter ต่างๆ เข้าไปใน ERP Package
ดังนั้น จึงจาเป็นที่จะต้องคัดเลือกบุคลากรต่างๆ ที่มีความคุ้นเคยกับกระบวนการทางธุรกิจ
ในปัจจุบัน จากหน่วยงาน ที่มีอานาจในการตัดสิน กาหนดกระบวนการทางธุรกิจใหม่
(เจ้าของ กระบวนการ) เพื่อร่วมประสานงานในการตัดสินกาหนดกระบวนการทางธุรกิจ โดย
ต้องให้ บุคคลากรหลัก (key person) ของแต่ละหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้เข้าร่วมในการ
ตัดสินกาหนดกระบวนการทางธุรกิจ นอกจากนี้โครงการนา ERP มาใช้ ต้องดาเนินการ
สร้างระบบสารสนเทศ ที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศล่าสุดอย่างเต็มที่ให้เกิดเป็นโครงสร้าง
พื้นฐานด้านสารสนเทศขึ้นมา อีกทั้งจะต้องเกี่ยวข้องกับการปรับโอนระบบเก่าสู่ระบบใหม่
ดังนั้นจึงมีความจาเป็นที่จะต้องมีสมาชิก จากฝ่ายระบบสารสนเทศเข้าร่วมในโครงการด้วย
ขั้นตอนการวางแผนการนา ERP มาใช้
3. ทาวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการนา ERP มาใช้ให้มีความชัดเจน
การเริ่มต้นโครงการนา ERP มาใช้แรกสุด จะต้องทาให้วัตถุประสงค์ของการนา
ERP มาใช้ให้มีความชัดเจน เป็นรูปธรรม พึงนึกเสมอว่า การปฏิรูปที่คิดไว้ในการ
วางแผนนั้น คือ การปฏิรูปอะไร อย่างไร และจาเป็นจะต้องสร้างระบบ ERP
อย่างไร ซึ่งต้องกาหนดให้ชัดเจน อีกทั้งต้องกาหนดเป้าหมายของผลลัพธ์ที่
คาดหวังจากการปฏิรูปด้วย
ขั้นตอนการวางแผนการนา ERP มาใช้
4. กาหนดขอบข่ายและวิธีการนา ERP มาใช้
ซึ่งมี 2 รูปแบบคือ
1. ใช้โครงสร้างระบบ ERP ในการปรับเปลี่ยนทุกๆ ส่วนของธุรกิจในครั้งเดียวเลย(big
bang approach)
2. เริ่มต้นด้วยบางส่วนของธุรกิจก่อน แล้วค่อยๆขยายขอบข่ายออกไปเป็นขั้นเป็นตอน
(phasing approach) ซึ่งจะต้องพิจารณาลาดับก่อนหลังของส่วนที่ธุรกิจที่เป็น
เป้าหมายด้วย
ในกรณีที่มีฐานของธุรกิจมากหลายแหล่ง จะเลือกแบ่งออกเป็นขั้นๆ ในการขยายฐานออกไป
หรือจะนา ERP มาใช้สาหรับทุกฐานในครั้งเดียวกัน เป็นสิ่งสาคัญที่จะต้องตัดสินใจ
ขั้นตอนการวางแผนการนา ERP มาใช้
5. ตรวจสอบให้แน่ใจเกี่ยวกับการใช้ ERP package
ในการสร้างระบบ ERP นั้น การใช้ ERP package เป็นสิ่งที่ขาด
ไม่ได้ จาเป็นที่จะต้องได้รับความเห็นพ้องกันว่า จะใช้ ERP
package ในการสร้างระบบ ERP
ขั้นตอนการวางแผนการนา ERP มาใช้
6. คัดเลือก ERP package ที่จะใช้
การคัดเลือกบริษัทผู้ผลิต ERP package ที่จะใช้ในการสร้างระบบ ERP การ
คัดเลือก ERP package นี้จุดสาคัญคือต้องมองภาพอนาคตที่คาดหวังของ
องค์กร และพิจารณาว่าสิ่งที่จะเลือกนั้นสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการนา ERP
มาใช้ตามที่วางแนวคิดไว้หรือไม่ ในกรณีที่เลือกผู้จาหน่าย ERP package จาก
ต่างประเทศ ให้ดาเนินการสารวจกรณีตัวอย่างของบริษัทภายในประเทศ เกี่ยวกับผล
ในการนา ERP มาใช้ภายในประเทศ และพิจารณาระดับความสามารถ ความ
จริงจังที่จะเข้ามาทาตลาดในประเทศด้วย ตลอดจนความมั่นคงของการบริหาร
จัดการและสถานภาพการลงทุนในการพัฒนา สถานภาพความต่อเนื่องของการ
Upgrade Software นั้นรวมทั้งการปรับแต่งสาหรับการใช้ภายในประเทศ
(localization) และความรวดเร็วในการทาการ localization version
ใหม่ๆ สาหรับตลาดในประเทศนั้นเร็วมากน้อยอย่างไร
ขั้นตอนการวางแผนการนา ERP มาใช้
7. คัดเลือกพันธมิตรที่ให้การสนับสนุน
เมื่อตัดสินใจเลือก ERP package ได้แล้ว ขั้นต่อไปเป็นการ
ตัดสินใจเลือกพันธมิตรที่จะให้การ สนับสนุนในการสร้างระบบ ERP
ระยะเวลาและค่าใช้จ่ายในการนา ETP มาใช้จะเป็นอย่างไร ขึ้นอยู่กับ
ฝีมือของพันธมิตรที่จะเข้ามาทางานจริง
ขั้นตอนการวางแผนการนา ERP มาใช้
8. กาหนดกรอบของการปฏิรูปการทางานและการปฏิรูปการบริหาร
พิจารณารูปแบบธุรกิจ (scenario) ของการบริหารธุรกิจโดยรวม
และพิจารณาตัดสินว่าจะต้องทา อะไรบ้างในการปฏิรูปการทางานและ
การบริหารงาน ส่วนรายละเอียดของรูปแบบทางธุรกิจ และ
กระบวนการทางธุรกิจนั้น จะทากันอีกครั้งในขั้นตอนของการพัฒนา
ระบบ โดยพิจารณาจาก Function การใช้งานและส่วนอื่น ๆ ที่มา
กับ ERP package ที่นามาใช้ประกอบกันด้วย
ขั้นตอนการวางแผนการนา ERP มาใช้
9. จัดตั้งเป้าหมายเวลาและงบประมาณในการนา ERP มาใช้
ควรจัดทาหมายกาหมดการคร่าวๆ สาหรับการนา ERP มาใช้และ
เป้าหมาย (milestone) หลักๆ ในแต่ละช่วง รวมถึงการพิจารณา
ตัดสินใจถึงงบประมาณค่าใช้จ่ายโดยคร่าวๆ
ขั้นตอนการวางแผนการนา ERP มาใช้
10. อนุมัติแผนการนา ERP มาใช้
ในขั้นท้ายสุด จะเป็นการจัดทาเอกสารแผนงานซึ่งจะรวบรวม
แผนปฏิบัติงานต่างๆในการนา ERP มาใช้ จากนั้นจะต้องจัดให้มีการ
ประชุมของผู้บริหารระดับสูงขององค์กรทั้งหมด เพื่อให้มีมติเห็นชอบใน
การเริ่มโครงการการนา ERP มาใช้อย่างเป็นรูปธรรม และท้ายสุด
จะต้องได้รับการอนุมัติเห็นชอบจากผู้บริหารระดับสูงสุดด้วย
ขั้นตอนการพัฒนาการนา ERP มาใช้
ขั้นตอนการพัฒนาการนา ERP มาใช้
• 1. การจัดทาแผนโครงการการพัฒนา
ควรทาการวางแผนโครงการโดยละเอียด สาหรับการนา ERP มาใช้
โดยการกาหนดงานที่ จาเป็นต้องปฏิบัติเพื่อให้โครงการดาเนินไปได้
แล้วแบ่งงานนั้นออกเป็นหน่วยย่อย และระบุเวลา และเป้าหมาย
(milestone) ที่จะได้รับของแต่ละขั้นตอน โดยจาเป็นที่จะต้องใส่
เป้าหมายของแต่ละช่วงที่ถูกแบ่งเอาไว้ในแผนด้วย
ขั้นตอนการพัฒนาการนา ERP มาใช้
• 2. การสารวจสภาวะของระบบงานปัจจุบัน
การที่พิจารณาปรับปรุงกระบวนการทางธุรกิจ (business
process) ที่สร้างจากรูปแบบธุรกิจ(business scenario) นั้น
จะเริ่มต้นจากการสารวจสภาวะของระบบงานปัจจุบัน
ขั้นตอนการพัฒนาการนา ERP มาใช้
• 3. การกาหนดรูปแบบธุรกิจและกระบวนการทางธุรกิจที่น่าจะเป็น
เป็นการกาหนดรูปแบบของการดาเนินธุรกิจ (business scenario) ที่
จะดาเนินต่อจากนี้ไป สาหรับในแต่ละธุรกิจรายสาขาที่อยู่ในแผนการปฏิรูป
หลังจากนั้นจะทาการทบทวนกระบวนการทางธุรกิจ (business
process) ที่ผ่านมา ว่าจะต้องทาการปฏิรูป ปรับปรุง รวบลัดตัดแต่ง
ระบบงานเก่าอย่างไร ให้เกิดเป็นกระบวนการทางธุรกิจใหม่ และสอดคล้อง
ตามรูปแบบธุรกิจใหม่ ที่ได้กาหนดขึ้น โดยกระบวนการทางธุรกิจที่น่าจะเป็น
นี้สามารถที่จะทาการเปลี่ยนแปลงหรือหันไปใช้แผน(สารอง)อื่นๆได้ ขึ้นอยู่
กับผลการประเมินความเหมาะสมสอดคล้องของ ERP package
ขั้นตอนการพัฒนาการนา ERP มาใช้
• 4. การประเมินความเหมาะสมสอดคล้องกัน
เป็นการประเมินความเหมาะสมสอดคล้องกัน ระหว่างกระบวนการทาง
ธุรกิจที่น่าจะเป็น กับ กระบวนการทางธุรกิจที่มีให้เลือกใช้จาก ERP
package
ขั้นตอนการพัฒนาการนา ERP มาใช้
• 5. การใช้ ERP package อย่างมีประสิทธิภาพ
การตัดสินใจขั้นสุดท้ายเกี่ยวกับกระบวนการทางธุรกิจว่าจะกาหนด
อย่างไรรวมถึงการจะหัน ไปเลือกใช้แผนสารองอื่นหรือไม่นั้น จุดสาคัญ
ที่สุดคือ ต้องพิจารณาว่าจะสามารถใช้กระบวนการทางธุรกิจ ที่มีให้
เลือกจาก ERP package ให้เป็นประโยชน์ได้อย่างเต็มที่หรือไม่
ขั้นตอนการพัฒนาการนา ERP มาใช้
• 6. การพัฒนา ERP package เพิ่มเติม
ในกรณีที่สรุปได้ว่า ไม่สามารถที่จะสร้างกระบวนการทางธุรกิจ ที่น่าจะ
เป็นขึ้นมาได้จากการ ผสมผสานของกระบวนการทางธุรกิจที่มีให้เลือก
จาก ERP package แม้ว่าจะพิจารณาเรื่องการใช้แผนสารองแล้วก็
ตาม ก็มีความจาเป็นที่จะต้องพิจารณาทางเลือกอื่นๆ เพื่อแก้ปัญหา
เช่น การพัฒนา Software เพิ่มเติม(add on) เพื่อใช้ร่วมกับ
ERP package หรือการใช้ระบบอื่นๆ ภายนอกเข้ามาช่วย โดยมี
การประสานกันกับ ERP package ซึ่งก่อนที่จะตัดสินใจใช้แนวทาง
นี้ทางที่ดีควรจะต้องให้ผู้จาหน่าย ERP package ได้ทราบและมี
ส่วนร่วมจะดีที่สุด
ขั้นตอนการพัฒนาการนา ERP มาใช้
• 7. ความร่วมมือของเจ้าของกระบวนการและการทาให้เห็นพ้อง
เพื่อให้การกาหนดกระบวนการทางธุรกิจเป็นไปอย่างราบรื่น จะต้อง
ได้รับความร่วมมือจาก ส่วนที่มีอานาจในการตัดสินใจเกี่ยวกับ
กระบวนการทางธุรกิจ และให้สมาชิกในส่วนนั้นมีความเห็นพ้องต้องกัน
ด้วย
ขั้นตอนการพัฒนาการนา ERP มาใช้
• 8. การตัดสินใจเพื่อการปฏิรูปการบริหาร
การตัดสินใจได้ดีจะต้องมีระบบข้อมูลที่จาเป็นและวิธีการเพื่อการ
ตัดสินใจทางธุรกิจของผู้บริหารในการปฏิรูปการบริหาร เช่น การ
พิจารณากาหนดมาตรการลดระยะเวลาของรอบการดาเนินการจาก
เดือนเป็นวัน รวมทั้งมาตรการที่จะทาให้สามารถปิดบัญชีได้เป็นรายวัน
ขั้นตอนการพัฒนาการนา ERP มาใช้
• 9. การตัดสินใจเพื่อการปฏิรูปวัฒนธรรมและวิถีขององค์กร
ทาการกาหนดขอบข่ายของการเปิดข้อมูลที่ได้รับจากระบบ ERP
กาหนดขอบข่ายของข้อมูลที่สามารถใช้ร่วมกัน รวมทั้งพิจารณาการ
สร้างสิ่งแวดล้อมและระบบการทางานที่ช่วยเสริมสร้างความร่วมมือกัน
ขั้นตอนการพัฒนาการนา ERP มาใช้
• 10. การสนับสนุนของผู้บริหารและการตัดสินใจอย่างรวดเร็ว
ในการสร้างกระบวนการทางานที่น่าจะเป็นนั้น บางครั้งต้องมีการ
ตัดสินใจปฏิรูปการทางานที่ ข้ามหรือเกี่ยวข้องกับหลายฝ่าย ผู้บริหารจึง
ต้องเป็นผู้ชี้แนะในการปรึกษาหารือกับฝ่ายงานที่เกี่ยวข้อง โดยผ่านทาง
คณะกรรมการกาหนดแนวทาง (steering committee) แต่ถ้า
หากไม่สามารถหาข้อสรุปได้ผู้บริหารก็จะต้องทาการตัดสินใจขั้นสุดท้าย
เพื่อให้โครงการดาเนินไปได้อย่างแน่วแน่
ขอบคุณครับ
• เบอร์โทร: 081-625-2606
• อีเมล: tanapat.l@hotmail.com
• LineID : tanapat_lim

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 การจัดการการผลิต และการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืน
บทที่ 1การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืนบทที่ 1การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืน
บทที่ 1 การจัดการการผลิต และการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืนคนป่า เถื่อนๆ
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing  การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing Aor's Sometime
 
Waste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvementWaste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvementTeetut Tresirichod
 
5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการpop Jaturong
 
Organizational management concepts 4M
Organizational management concepts 4MOrganizational management concepts 4M
Organizational management concepts 4MiamthesisTH
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)Nattakorn Sunkdon
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพTeetut Tresirichod
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordpeter dontoom
 
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์Nawaponch
 
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementTeetut Tresirichod
 
1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการpop Jaturong
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมบทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักTeetut Tresirichod
 
การวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planningการวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planningJirasap Kijakarnsangworn
 

What's hot (20)

บทที่ 1 การจัดการการผลิต และการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืน
บทที่ 1การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืนบทที่ 1การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืน
บทที่ 1 การจัดการการผลิต และการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืน
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
 
การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing  การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing
 
Waste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvementWaste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvement
 
5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ
 
Organizational management concepts 4M
Organizational management concepts 4MOrganizational management concepts 4M
Organizational management concepts 4M
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
 
OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
 
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
 
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
 
Kpi
KpiKpi
Kpi
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
 
1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
ทฤษฎีองค์การ
 ทฤษฎีองค์การ  ทฤษฎีองค์การ
ทฤษฎีองค์การ
 
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมบทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
 
การวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planningการวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planning
 

Similar to ERP

บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศPrakaywan Tumsangwan
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
อรณี มารดาวงค์
อรณี  มารดาวงค์ อรณี  มารดาวงค์
อรณี มารดาวงค์ orathai
 
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศsiriyapa
 
ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]orathai
 
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารบทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารPrakaywan Tumsangwan
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศjureeratlove
 
Business, erp and sap overview for acc
Business, erp and sap overview for accBusiness, erp and sap overview for acc
Business, erp and sap overview for accMayuree Srikulwong
 

Similar to ERP (20)

ERP101 Chapter 1
ERP101 Chapter 1ERP101 Chapter 1
ERP101 Chapter 1
 
Erp present
Erp presentErp present
Erp present
 
Erp
ErpErp
Erp
 
Chapter 3 benefits of erp
Chapter 3 benefits of erpChapter 3 benefits of erp
Chapter 3 benefits of erp
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
Sap System
Sap SystemSap System
Sap System
 
อรณี มารดาวงค์
อรณี  มารดาวงค์ อรณี  มารดาวงค์
อรณี มารดาวงค์
 
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
 
ณัฐชา ม.201 เลขที่20
ณัฐชา ม.201 เลขที่20ณัฐชา ม.201 เลขที่20
ณัฐชา ม.201 เลขที่20
 
วรกานต์ ต๋าตุ๋น
วรกานต์ ต๋าตุ๋น วรกานต์ ต๋าตุ๋น
วรกานต์ ต๋าตุ๋น
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]
 
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารบทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
Business, erp and sap overview for acc
Business, erp and sap overview for accBusiness, erp and sap overview for acc
Business, erp and sap overview for acc
 
Erp present
Erp presentErp present
Erp present
 
Erp present
Erp presentErp present
Erp present
 
E R P2 Meaning
E R P2 MeaningE R P2 Meaning
E R P2 Meaning
 

More from ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม

More from ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม (20)

Tanapat-AWS-Certifacate-6-10.pdf
Tanapat-AWS-Certifacate-6-10.pdfTanapat-AWS-Certifacate-6-10.pdf
Tanapat-AWS-Certifacate-6-10.pdf
 
Tanapat-AWS-certificate-1-5.pdf
Tanapat-AWS-certificate-1-5.pdfTanapat-AWS-certificate-1-5.pdf
Tanapat-AWS-certificate-1-5.pdf
 
AWS Identity and access management , tanapat limsaiprom
AWS Identity and access management , tanapat limsaipromAWS Identity and access management , tanapat limsaiprom
AWS Identity and access management , tanapat limsaiprom
 
AWS Technical Essential , Tanapat Limsaiprom
AWS Technical Essential , Tanapat LimsaipromAWS Technical Essential , Tanapat Limsaiprom
AWS Technical Essential , Tanapat Limsaiprom
 
AWS Amazon DynamoDB
AWS Amazon DynamoDB AWS Amazon DynamoDB
AWS Amazon DynamoDB
 
Hr clinic2
Hr clinic2Hr clinic2
Hr clinic2
 
ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2
ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2
ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2
 
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
 
Mt60307 ch7-data visulization
Mt60307 ch7-data visulizationMt60307 ch7-data visulization
Mt60307 ch7-data visulization
 
Chapter 6 predictive Analytics
Chapter 6 predictive AnalyticsChapter 6 predictive Analytics
Chapter 6 predictive Analytics
 
Ch4 e retailing strategy v62-a4
Ch4 e retailing strategy v62-a4Ch4 e retailing strategy v62-a4
Ch4 e retailing strategy v62-a4
 
Chapter5 descriptive statistic
Chapter5 descriptive statisticChapter5 descriptive statistic
Chapter5 descriptive statistic
 
Ch2 bi gdata
Ch2 bi gdataCh2 bi gdata
Ch2 bi gdata
 
Chapter 2 : Data Management
Chapter 2 : Data ManagementChapter 2 : Data Management
Chapter 2 : Data Management
 
Ch1 Business Information foundation concept
Ch1 Business Information foundation conceptCh1 Business Information foundation concept
Ch1 Business Information foundation concept
 
Chapter2 e-retailing
Chapter2 e-retailingChapter2 e-retailing
Chapter2 e-retailing
 
Chapter2 module 4 Peopleware
Chapter2 module 4 PeoplewareChapter2 module 4 Peopleware
Chapter2 module 4 Peopleware
 
Chapter 2 Module 2 Hardware
Chapter 2 Module 2 HardwareChapter 2 Module 2 Hardware
Chapter 2 Module 2 Hardware
 
Chapter2 M1-foundation concepts-thai-62 feb
Chapter2 M1-foundation concepts-thai-62 febChapter2 M1-foundation concepts-thai-62 feb
Chapter2 M1-foundation concepts-thai-62 feb
 
Tv Rating
Tv RatingTv Rating
Tv Rating
 

ERP

  • 1. ERP Enterprise Resource Planning Tanapat Limsaiprom ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
  • 3. โครงสร้างของ ERP โครงสร้างของ ERP แบ่งออกเป็น 5 กลุ่มคือ • Material Resource Planning (MRP) หมายถึง ระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการจัดทาแผนความต้องการวัสดุ โดยมีองค์ประกอบ ของข้อมูลนาเข้าที่สาคัญ 3 รายการคือ ตารางการผลิตหลัก แฟ้มข้อมูลบัญชีรายการวัสดุ (Bill of Material File) และ แฟ้มข้อมูล สถานะคงคลัง (Inventory Status File) • Customer Resource Management (CRM) หมายถึง ระบบสารสนเทศเพื่อบริหารความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรและลูกค้า เพื่อให้เป็นความสัมพันธ์ระยะยาว โดยระบบนี้จะศึกษาพฤติกรรมการซื้อของลูกค้า ความสนใจ ความต้องการ เพื่อให้องค์กรนาข้อมูล เหล่านั้นมาวิเคราะห์และนาสินค้าเสนอต่อลูกค้าให้ใกล้เคียงกับที่ลูกค้าสนใจ และการบริการหลังการขายแก่ลูกค้า ลดการสูญเสียลูกค้า ลดต้นทุนการตลาด เพิ่มรายได้จากการที่ลูกค้าซื้อและแนะนาให้คนรู้จักซื้นสินค้าขององค์กร • Finance Resource Management (FRM) หมายถึง ระบบสารสนเทศที่เน้นให้บริการเกี่ยวกับการเงินและบัญชี โดยอิงตามกฏ ระเบียบและข้อบังคับตามที่ประเทศนั้นๆ กาหนด FRM ถือเป็นส่วนประกอบหลักของโครงสร้าง ERP ทั้งหมด โดยผลลัพธ์จากการ ประมวลผลของ FRM มักจะออกมาในรูปแบบรายงาน ทั้งรายงานสาหรับระดับปฏิบัติการ รายงานสาหรับผู้บริหาร และรายงานสาหรับ หน่วยงานภายนอก เช่น กรมบัญชีกลาง กรมสรรพากร เป็นต้น • Human Resource Management (HRM) หมายถึงระบบสารสนเทศเพื่อการบริการงานทางบุคคล จัดประกอบด้วยข้อมูล พื้นฐานของพนักงานในองค์กร ข้อมูลพื้นฐานของโครงสร้างองค์กร การประมวลผลเกี่ยวกับเงินเดือน เป็นต้น • Supply Chain Management (SCM) หมายถึง ระบบสารสนเทศเพื่อจัดการกระบวนการไหลของวัสดุ สินค้าตลอดจนข้อมูลและ ธุรกรรมต่างๆ ผ่านองค์กรที่เป็นผู้ส่งมอบ ผู้จัดจาหน่าย ไปจนถึงลูกค้า โดยที่องค์กรต่างๆ มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจต่อกัน
  • 4. คุณสมบัติของ ERP ที่สาคัญ คือ • ควรมีความยืดหยุ่น (Flexible) ควรมีความยืดหยุ่น รองรับองค์กร หากมีการปรับเปลี่ยนในอนาคตได้ อีกทั้งการเก็บข้อมูลควรใช้ฐานข้อมูลกลางเดียวกัน เพื่อให้สามารถบูรณาการข้อมูลได้ • โมดูลควรอิสระจากกัน (Modular) ประกอบด้วยหลายฟังก์ชันการทางาน หรือหลายโมดูลดังนั้นควร มีการทางานที่แตกต่างกันอย่างชัดเจน และอิสระต่อกัน เพื่อป้องกันการเปลี่ยนแปลงจะได้ไม่กระทบกับ โมดูลอื่นๆ และต้องรองรับการทางานได้หลากหลายแพลตฟอร์ม (Platform) • ครอบคลุม (Comprehensive) สามารถรองรับการทางานได้หลากหลายฟังก์ชัน เนื่องจากแต่ละ องค์กรมีลักษณะการทางานที่แตกต่างกัน ดังนั้นต้องหลากหลายและครอบคลุม • นอกเหนือจากองค์กร (Beyond the Company) สามารถเชื่อมต่อกับระบบสารสนเทศอื่นๆ ของ องค์กรได้ ไม่จากัดเพียง ERP เท่านั้น • Belong to the Best Business Practices มีกระบวนการทางานที่เป็นมาตรฐาน โดยนา กิจกรรมหรือกระบวนการทางานที่จัดว่าเป็นสิ่งที่ดีที่องค์กรพึ่งมีไว้ในระบบ หากแต่องค์กรสามารถ ปรับแต่งได้ตามความเหมาะสมกับองค์กรนั้นๆ
  • 5. ความเป็นมาของแนวคิด ERP แนวคิด ERP เริ่มในยุคปี ค.ศ. 1990 ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา จุดกาเนิดเริ่มแรก ของ ERP มาจากแนวคิดของการพัฒนาระบบการบริหารการผลิตรวม (Material Requirement Resource Planning / Manufacturing Resource Planning, MRP System) ของ อุตสาหกรรมการผลิตในอเมริกา โดยคาว่า ERP และแนวคิดของ ERP นั้นก็ พัฒนามาจาก MRP นั่นเอง ในที่นี้จะทาการอธิบาย ความเป็นมาของ MRP โดยย่อว่ามีความเป็นมาอย่างไร และทาไมจึงพัฒนามาเป็น ERP ได้ ซึ่งจะช่วยให้สามารถเข้าใจความหมายของ ERP ได้ดียิ่งขึ้นและตัวแนวคิด ERP เองก็ยังมีวิวัฒนาการอยู่ จาก ERP ก็จะ เป็น Extended ERP และจะพัฒนาไปเป็น Next Generation ERP ต่อไปในอนาคต
  • 7. ความเป็นมาของแนวคิด ERP • แนวคิดMRPเกิดขึ้นครั้งแรกที่อเมริกาในยุคต้นของ ทศวรรษ 1960 ในช่วงแรก MRP ย่อมาจาก Material Requirement Planning (การวางแผนความต้องการวัสดุ) เป็นวิธีการในการหา ชนิดและจานวนวัสดุที่ต้องใช้ในการผลิตตามตารางเวลาและจานวนสินค้าที่ได้วางแผนโดย MPS (Master Production Schedule) วิธี MRP เป็นเทคนิคในการจัดการ ที่สามารถหารายการวัสดุที่ต้องใช้ในการผลิตสินค้าสาเร็จรูป ตาม แผนการผลิตหลักที่ได้วางไว้ โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย สามารถสร้างใบรายการวัสดุ (bill of material)ได้อย่างรวดเร็ว และสามารถบอกชนิดของวัสดุ จานวนที่ต้องการ และเวลาที่ ต้องการได้อย่างแม่นยา แต่วิธี MRP นี้ไม่มีความสามารถในการตรวจสอบหาข้อแตกต่างระหว่างแผนการผลิตกับสภาพการ ผลิตจริงที่ shop floor เนื่องจากไม่มีฟังก์ชั่นเกี่ยวกับการป้อนกลับข้อมูลกลับมาปรับแผนใหม่ อย่างไรก็ตาม วิธี MRP ก็ยังดีกว่าวิธีการควบคุมสินค้าคงคลังแบบเดิม ช่วยให้สามารถลดจานวนวัสดุ คงคลัง และยกประสิทธิภาพการวางแผนการผลิตและการสั่งซื้อวัตถุดิบได้เป็นอย่างดี
  • 8. ความเป็นมาของแนวคิด ERP Closed Loop MRP ย่างเข้ายุคปี ค.ศ. 1970 MRP ได้รับการพัฒนาให้มีความสามารถในการป้อนกลับข้อมูล การผลิตจริงใน shop floor นอกจากนั้นยังเพิ่มแนวคิดเรื่อง การวางแผนความต้องการ กาลังการผลิต (Capacity Requirement Planning) ระบบ MRP ที่ได้วิวัฒนาการโดยรวมเอาความสามารถรับ feed back จากฝ่ายการ ผลิต และ CRP เข้าไปนี้ต่อมาถูกเรียกว่า MRP แบบวงปิด (Closed Loop MRP) ในขั้นตอนนี้ของวิวัฒนาการเราจะเห็นว่ามีการรวมเอางานการวางแผนการผลิต และการ บริหารการผลิตเข้าเชื่อมโยงกัน จากที่ก่อนหน้านั้นทางานแยกกัน Closed Loop MRP นี้ประสบความสาเร็จอย่างมากในอุตสาหกรรมการผลิตใน ปัจจุบัน MRP ที่ใช้ในทุกธูรกิจการผลิตก็คือ Closed Loop MRP นี้เอง
  • 9. ความเป็นมาของแนวคิด ERP • การพัฒนาไปสู่ MRP II จากความสาเร็จของ Closed Loop MRP ก็เกิดการพัฒนาต่อยอดขึ้นเป็น MRP II ในยุคปี ค.ศ. 1980 (โดย MRP ใหม่นี้ย่อมาจาก Manufacturing Resource Planning) ซึ่งได้รวมการวางแผนและบริหารทรัพยากรการผลิต อื่นๆ นอกจากการวางแผนและควบคุมกาลังการผลิต และวัตถุดิบการผลิต เข้าไปใน ระบบด้วย MRP II ได้วิวัฒนาการถึงขั้นที่รวมหน้าที่ต่างๆ ซึ่งประกอบด้วย การวางแผนงบการ จัดซื้อวัตถุดิบ การวางแผนต้นทุนสินค้าคงคลังของระบบบริหารสินค้าคงคลัง การ วางแผนกาลังคนที่สัมพันธ์กับกาลังการผลิต ซึ่งเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับต้นทุนการ ผลิต เข้าอยู่ในระบบ MRP II
  • 10. ความเป็นมาของแนวคิด ERP ด้วยความสามารถนี้ทาให้ MRP II เป็นระบบที่สามารถส่งข้อมูลทุกชนิด ที่ ระบบบัญชีต้องการให้แก่ระบบบัญชีได้ นั่นคือ MRP II เป็นระบบที่รวม เอา Closed loop MRP , ระบบบัญชี และระบบซิมูเลชั่น เข้าด้วยกัน เป็นการขยายขอบเขตของสิ่งที่สามารถวางแผนและบริหารให้กว้างขวาง ออกไปยิ่งขึ้นกว่าเดิม โดยการใช้ระบบ MRP II ธุรกิจการผลิตสามารถที่จะวางแผนและบริหาร ระบบงานต่างๆ คือ การขาย บัญชี บุคคล การผลิต และสินค้าคงคลัง เข้า ด้วยกัน ได้อย่างบูรณาการ ด้วยความสามารถนี้ทาให้ MRP II เริ่มถูก เรียกว่า BRP (=Business Resource Planning) และเริ่มเป็น แนวคิดหลักของระบบ CIM (=Computer Integrated Manufacturing)
  • 11. ความเป็นมาของแนวคิด ERP จาก MRP II ไปเป็น ERP MRP II เป็นแนวคิดที่ใช้ในอุตสาหกรรมการผลิต ERP ได้ขยายแนวคิด ของ MRP II ให้สามารถใช้ได้ทั้งองค์กรของธุรกิจที่หลากหลาย โดยการ รวมระบบงานหลักทุกอย่างในองค์กรเข้ามาเป็นระบบเดียวกัน นั่นคือ ERP เกิดขึ้นจากความต้องการที่จะสามารถตัดสินใจในด้านธุรกิจ อย่างมีประสิทธิภาพ และแบบเรียลไทม์ โดยอาศัยข้อมูลทุกชนิดจากทุก ระบบงานในองค์กรที่ระบบนามาบันทึกเก็บไว้ในฐานข้อมูลรวมเดียวกัน
  • 12. ความเป็นมาของแนวคิด ERP การพัฒนาต่อจาก ERP แนวคิด ERP เกิดจากการขยาย MRP II ซึ่งเป็นระบบที่ optimize ในส่วนการผลิต ให้เป็นระบบที่ optimize ทั้งบริษัท ในปัจจุบันมีการพัฒนา E-Business อย่างรวดเร็ว และทาให้ ขอบเขตของการ optimize ต้องมองให้กว้างมากขึ้นไปกว่าเดิมเป็น global optimize นั่นหมายความว่า ERP ก็จะมีวิวัฒนาการ ต่อไปอีก
  • 13. ERP ERP ย่อมาจาก Enterprise Resource Planning หมายถึง การ วางแผนทรัพยากรทางธุรกิจขององค์กรโดยรวม เพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์อย่าง สูงสุดของทรัพยากรทางธุรกิจขององค์กร ระบบ ERP เป็นระบบสารสนเทศของ องค์กรที่นาแนวคิดและวิธีการบริหารของ ERP มาทาให้เกิดเป็นระบบเชิงปฏิบัติ ในองค์กร ระบบ ERP สามารถบูรณาการ (integrate) รวมงานหลัก (core business process) ต่างๆ ในบริษัททั้งหมด ได้แก่ การจัดจ้าง การผลิต การขาย การบัญชี และการบริหารบุคคล เข้าด้วยกันเป็นระบบที่สัมพันธ์กันและ สามารถเชื่อมโยงกันอย่าง real time
  • 14. ลักษณะสาคัญของระบบ ERP 1. การบูรณาการระบบงานต่างๆ ของระบบ ERP จุดเด่นของ ERP คือ การบูรณาการระบบงานต่างๆ เข้าด้วยกัน ตั้งแต่การ จัดซื้อ จัดจ้าง การผลิต การขาย บัญชีการเงิน และการบริหารบุคคล ซึ่งแต่ละส่วน งานจะมีความเชื่อมโยงในด้าน การไหลของวัตถุดิบสินค้า (material flow) และการไหลของข้อมูล (information flow) ERP ทาหน้าที่เป็นระบบการ จัดการข้อมูล ซึ่งจะทาให้การบริหารจัดการงานในกิจกรรมต่างๆ ที่เชื่อมโยงกันให้ ผลลัพธ์ออกมาดีที่สุด พร้อมกับสามารถรับรู้สถานการณ์และปัญหาของงานต่างๆ ได้ทันที ทาให้สามารถ ตัดสินใจแก้ปัญหาองค์กรได้อย่างรวดเร็ว
  • 15. ลักษณะสาคัญของระบบ ERP 2. รวมระบบงานแบบ real time ของระบบ ERP การรวมระบบงานต่างๆ ของระบบ ERP จะเกิดขึ้นในเวลาจริง (real time) อย่างทันที เมื่อมีการใช้ระบบ ERPช่วยให้สามารถทาการปิด บัญชีได้ทุกวัน เป็นรายวัน คานวณ ต้นทุนและกาไรขาดทุนของบริษัทเป็นรายวัน
  • 16. ลักษณะสาคัญของระบบ ERP 3. ระบบ ERP มีฐานข้อมูล(database) แบบสมุดลงบัญชี การที่ระบบ ERP สามารถรวมระบบงานต่าง ๆ เข้าเป็นระบบงานเดียว แบบ Real time ได้นั้น ก็เนื่องมาจากระบบ ERP มี database แบบสมุด ลงบัญชี ซึ่งมีจุดเด่น คือ คุณสมบัติของการเป็น 1 Fact 1 Place ซึ่งต่างจาก ระบบแบบเดิมที่มีลักษณะ 1 Fact Several Places ทาให้ระบบซ้าซ้อน ขาดประสิทธิภาพ เกิดความผิดพลาดและขัดแย้งของข้อมูลได้ง่าย
  • 17. ERP PACKAGE ERP package เป็น application software package ซึ่งผลิตและ จาหน่ายโดยบริษัทผู้จาหน่าย ERP package (Vendor หรือ Software Vendor) เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการสร้างและบริหารงานระบบ ERP โดยจะใช้ ERP package ในการสร้างระบบงานการจัดซื้อจัดจ้าง การ ผลิต การขาย การบัญชี และการบริหารบุคคล ซึ่งเป็นระบบงานหลักขององค์กร ขึ้นเป็นระบบสารสนเทศรวมขององค์กร โดยรวมระบบงานทุกอย่างไว้ใน ฐานข้อมูลเดียวกัน
  • 18. จุดเด่นของ ERP package 1. เป็น Application Software ที่รวมระบบงานหลักอันเป็นพื้นฐาน ของการสร้างระบบ ERP ขององค์กร ERP package จะต่างจาก software package ที่ใช้ในงานแต่ละ ส่วนในองค์กร เช่น production control software, accounting software ฯลฯ แต่ละ software ดังกล่าวจะเป็น application software เฉพาะสาหรับแต่ละระบบงานและใช้งาน แยกกันขณะที่ ERP package นั้นจะรวมระบบงานหลักต่างๆ ขององค์กร เข้าเป็นระบบอยู่ใน package เดียวกัน ซึ่งเป็นพื้นฐานสาคัญของการสร้าง ระบบ ERP ขององค์กร
  • 19. จุดเด่นของ ERP package 2. สามารถเสนอ business scenario และ business process ซึ่งถูกสร้างเป็น pattern ไว้ได้ ERP package ได้รวบรวมเอาความต้องการสาคัญขององค์กรเข้า ไว้ เป็นระบบในรูปแบบของ business process มากมาย ทาให้ ผู้ใช้สามารถนาเอารูปแบบต่างๆ ของ business process ที่ เตรียมไว้มาผสมผสานให้เกิดเป็น business scenario ที่ เหมาะสมกับลักษณะทางธุรกิจขององค์กรของผู้ใช้ได้
  • 20. จุดเด่นของ ERP package 3. สามารถจัดทาและเสนอรูปแบบ business process ที่เป็น มาตรฐานสาหรับองค์กรได้ การจัดทา business process ในรูปแบบต่างๆ นั้นสามารถจัดให้ เป็นรูปแบบมาตรฐานของ business process ได้ด้วย ทาให้บาง กรณีเราเรียก ERP ว่า standard application software package
  • 21. สาเหตุที่ต้องนา ERP package มาใช้ในการสร้างระบบ 1. ใช้เวลานานมากในการพัฒนา software การที่จะพัฒนา ERP software ขึ้นมาเองนั้น มักต้องใช้เวลานาน มากในการพัฒนา และจะต้องพัฒนาทุกระบบงานหลักขององค์กรไป พร้อมๆ กันทั้งหมด จึงจะสามารถรวมระบบงานได้ ตามแนวคิดของ ERP ซึ่งจะกินเวลา 5-10 ปี แต่ในแง่ของการบริหารองค์กร ถ้าต้องการ ใช้ ระบบ ERP ฝ่ายบริหารไม่สามารถจะรอคอยได้เพราะ สภาพแวดล้อมในการบริหารมีการเปลี่ยนแปลงตลอด ระบบที่ พัฒนาขึ้นอาจใช้งานไม่ได้ ดังนั้นผู้บริหารจึงไม่เลือกวิธีการพัฒนา ERP software เองในองค์กร
  • 22. สาเหตุที่ต้องนา ERP package มาใช้ในการสร้างระบบ 2. ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาสูงมาก การพัฒนา business software ที่รวมระบบงานต่างๆเข้ามาอยู่ ใน package เดียวกัน จะมีขอบเขตของงานกว้างใหญ่มาก ครอบคลุมทุกประเภทงาน ต้องใช้เวลานานมากในการพัฒนาและ ค่าใช้จ่ายก็สูงมากตามไปด้วย หรือถ้าให้บริษัทที่รับพัฒนา software ประเมินราคาค่าพัฒนา ERP software ให้องค์กร ก็ จะได้ในราคาที่สูงมาก ไม่สามารถยอมรับได้อีกเช่นกัน
  • 23. สาเหตุที่ต้องนา ERP package มาใช้ในการสร้างระบบ 3. ค่าดูแลระบบและบารุงรักษาสูง เมื่อพัฒนา business software ขึ้นมาใช้เอง ก็ต้องดูแลและบารุงรักษา และถ้ามีการเขียนโปรแกรมเพิ่มหรือแก้ไขโปรแกรม การบารุงรักษาจะต้องทาอยู่ อย่างยาวนานตลอดอายุการใช้งาน เมื่อรวมค่าบารุงรักษาในระยะยาวต้องใช้เงิน สูงมาก อีกทั้งกรณีที่มีการปรับเปลี่ยน Software ไปตาม platform หรือ network ระบบต่างๆ ที่เปลี่ยนไปหรือเกิดขึ้นใหม่ ก็เป็นงานใหญ่ ถ้าเลือกที่จะ ดูแลระบบเองก็ต้องรับภาระค่าใช้จ่ายในการบารุงรักษานี้พร้อมกับรักษา บุคลากรด้าน IT นี้ไว้ตลอดด้วย
  • 24. โครงสร้างของ ERP package • 1. Business Application Software Module ประกอบด้วย Module ที่ทาหน้าที่ในงานหลักขององค์กร คือ การบริหารการขาย การบริหาร การผลิต การบริหารการจัดซื้อ บัญชี การเงิน บัญชีบริหาร ฯลฯ แต่ละ Module สามารถ ทางานอย่างโดดๆ ได้ แต่ก็มีการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่าง Module กัน เมื่อกาหนด parameter ให้กับ module จะสามารถทาการเลือกรูปแบบ business process หรือ business rule ให้ตอบสนองเป้าหมายขององค์กรตาม business scenario โดยมี business process ที่ปรับให้เข้ากับแต่ละองค์กรได้ • ERP package ที่ต่างกันจะมีเนื้อหา และน้าหนักการเน้นความสามารถของแต่ละ Module ไม่เหมือนกัน และเหมาะกับการนาไปใช้งานในธุรกิจที่ต่างกัน ในการเลือกจึงต้อง พิจารณาจุดนี้ด้วย
  • 25. โครงสร้างของ ERP package • 2. ฐานข้อมูลรวม (Integrated database) Business application module จะ share ฐานข้อมูลชนิด Relational database (RDBMS) หรืออาจจะเป็น database เฉพาะของแต่ละ ERP package ก็ได้ Software Module จะ ประมวลผลทุก transaction แบบเวลาจริง และบันทึกผลลงในฐานข้อมูลรวม โดยฐานข้อมูลรวมนี้สามารถถูก access จากทุก Software Module ได้ โดยตรงโดยไม่จาเป็นต้องทา batch processing หรือ File transfer ระหว่าง Software Module เหมือนในอดีต และทาให้ข้อมูลนั้นมีอยู่ “ที่ เดียว” ได้
  • 26. โครงสร้างของ ERP package 3. System Administration Utility Utility กาหนดการใช้งานต่างๆ ได้แก่ การลงทะเบียนผู้ใช้งาน, การกาหนดสิทธิ การใช้, การรักษาความปลอดภัยข้อมูล, การบริหารระบบ LAN และ network ของ terminal, การบริหารจัดการ database เป็นต้น
  • 27. โครงสร้างของ ERP package 4. Development and Customize Utility ERP สามารถออกแบบระบบการทางานใน business process ของ องค์กรได้อย่างหลากหลาย ตาม business scenario แต่บางครั้งอาจจะไม่ สามารถสร้างรูปแบบอย่างที่ต้องการได้ หรือมีความต้องการที่จะ Customize บางงานให้เข้ากับการทางานของบริษัท ERP package จึงได้เตรียม Utility ที่จะสนับสนุนการพัฒนาโปรแกรมส่วนนี้ไว้ด้วย โดยจะมีระบบพัฒนาโปรแกรม ภาษา 4GL (Fourth Generation Language) ให้มาด้วย
  • 28. Function ของ ERP package ERP module ERP package โดยทั่วไปจะจัดเตรียม Software module สาหรับงานหลักของธุรกิจต่าง ๆ ไว้ดังนี้ • 1. ระบบบัญชี • บัญชีการเงิน – General, Account Receivable, Account Payable, Credit/Debit, Fixed Asset, Financial, Consolidated Accounts, Payroll, Currency Control(multi-currency) • บัญชีบริหาร – Budget Control, Cost Control, Profit Control, Profitability Analysis, ABC Cost Control, Management Analysis, Business Plan
  • 29. ERP module • 2. ระบบการผลิต • ควบคุมการผลิต – Bill of Material, Production Control, MRP, Scheduling, Production Cost Control, Production Operation Control, Quality Control, Equipment Control, Multi-location Production Supporting System • ควบคุมสินค้าคงคลัง – Receipt/Shipment Control, Parts Supply Control, Raw Material, Stocktaking • การออกแบบ – Technical Information Control, Parts Structure Control, Drawing Control, Design Revision Support System • การจัดซื้อ – Outsourcing/Purchasing, Procurement, Acceptance, การคืนสินค้า, ใบเสนอราคา, ใบสัญญา • ควบคุมโครงการ – Budget, Planning, Project Control
  • 30. ERP module • 3. ระบบบริหารการขาย – Demand/Sales Forecasting , Purchase Order, Sales Planning/Analysis, Customer Management, Inquiry Management, Quotation Management, Shipment Control, Marketing, Sale Agreement, Sale Support, Invoice/Sales Control
  • 31. ERP module • 4. Logistics – Logistic Requirement Planning , Shipment/Transport Control, Export/Import Control, Warehouse management, Logistics Support
  • 32. ERP module • 5. ระบบการบารุงรักษา – Equipment Management, Maintenance Control, Maintenance Planning
  • 33. ERP module • 6. ระบบบริหารบุคคล – Personnel Management, Labor Management, Work Record Evaluation, Employment, Training & HRD, Payroll, Welfare Management
  • 34. คุณสมบัติที่ดีของ ERP package • มีคุณสมบัติ online transaction system เพื่อให้สามารถใช้งานแบบ real time ได้ • รวมข้อมูลและ information ต่างๆ เข้ามาที่จุดเดียว และใช้งานร่วมกันโดยใช้ integrated database • มี application software module ที่มีความสามารถสูงสาหรับงานหลักๆ ของธุรกิจได้ อย่าง หลากหลาย • มีความสามารถในการใช้งานในหลายประเทศ ข้ามประเทศ จึงสนับสนุนหลายภาษา หลายสกุลตรา • มีความยืดหยุ่น และสามารถปรับเปลี่ยนขยายงานได้ง่าย เมื่อระบบงานหรือโครงสร้างองค์ กรมีการเปลี่ยนแปลง • มีขั้นตอนและวิธีการในการติดตั้งสร้างระบบ ERP ในองค์กรที่พร้อมและชัดเจน • เตรียมสภาพแวดล้อม(ระบบสนับสนุน) สาหรับการพัฒนาฟังก์ชันที่ยังขาดอยู่เพิ่มเติมได้ • สามารถใช้กับเทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ๆ • ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เป็นมาตรฐานระดับโลก มีความเป็นระบบเปิด (open system) • สามารถ interface หรือเชื่อมโยงข้อมูลกับระบบงานที่มีอยู่แล้วในบริษัทได้ • มีระบบการอบรมบุคลากรในขั้นตอนการติดตั้งระบบ • มีระบบสนับสนุนการดูแลและบารุงรักษาระบบ
  • 35. ชนิดของ ERP package 1. ERP ชนิดที่ใช้กับทุกธุรกิจหรือเฉพาะบางธุรกิจ ERP package โดยทั่วไปส่วนมากถูกออกแบบให้สามารถใช้ได้กับงานแทบ ทุกประเภทธุรกิจ แต่งานหลักของธุรกิจซึ่งได้แก่ การผลิต การขาย Logistics ฯลฯ มักจะมีความแตกต่างกันตามประเภทของธุรกิจ ดังนั้นจึงมี ERP package ประเภทที่เจาะจงเฉพาะบางธุรกิจอยู่ในตลาดด้วย เช่น ERP package สาหรับอุตสาหกรรมเคมี อุตสาหกรรมกระดาษ อุตสาหกรรมยา เป็น ต้น
  • 36. ชนิดของ ERP package 2. ERP สาหรับธุรกิจขนาดใหญ่หรือสาหรับ SMEs แต่เดิมนั้น ERP package ได้รับการพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในธุรกิจขนาดใหญ่อย่างแพร่หลาย ต่อมาตลาด เริ่มอิ่มตัว ผู้ผลิตจึงได้เริ่มหันเป้ามาสู่บริษัทขนาดกลางและขนาดย่อมมากขึ้นเรื่อยๆ ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจ ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง หรือขนาดย่อม ระบบและเนื้อหาของระบบงานหลักต่างๆจะไม่แตกต่างกันมาก เพียงแต่ในธุรกิจขนาดใหญ่จะมีปริมาณของเนื้องานมากขึ้น ปัจจุบันมี ERP package ที่ออกแบบ โดยเน้นสาหรับการใช้งานในธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมโดยเฉพาะ ออกมาจาหน่ายมากขึ้น เช่น - Oracle Application/Oracle - People Soft - SAP - MS Navision - J.D. Edwards - MFG/PRO
  • 37. ERPและการเชื่อมโยงไปสู่กิจกรรมการปฏิรูปองค์กร 1. ริเริ่มกิจกรรมปฏิรูปองค์กรโดยการนา ERP มาใช้ การนา ERP มาใช้นั้น ไม่ได้หมายถึงเพียงแค่การสร้างระบบข้อมูลสารสนเทศองค์กรใหม่ทั้งระบบโดยใช้ระบบ ERP เท่านั้น ก่อนอื่นต้องเริ่มจากกิจกรรมเพื่อเปลี่ยนแปลงจิตสานึกให้เห็นความสาคัญของการปฏิรูปองค์กร ซึ่งเป็นการปฏิรูปในชั้นรากฐานขององค์กร เพื่อทาให้เกิดความเข้าใจในแนวคิดของ ERP ทั่วทั้งองค์กร ต่อจากนั้นต้องทบทวนห่วงโซ่กิจกรรม(ห่วงโซ่ของมูลค่า) เดิมและสร้างระบบใหม่ขึ้น ให้สามารถสร้างมูลค่าเพิ่ม เพื่อสนองตอบความต้องการของลูกค้าได้ดียิ่งขึ้น และนี่ก็คือการปฏิรูปกระบวนการทางธุรกิจ จากนั้นจะใช้ กระบวนการทางธุรกิจเป็นฐาน เพื่อสร้างระบบ ERP ขึ้นมาใหม่เป็นระบบสารสนเทศขององค์กร ซึ่งถือว่าเกิด การปฏิรูปในชั้นระบบสารสนเทศขององค์กรจากการนา ERP มาใช้ พลังขับเคลื่อนของกิจกรรมการปฏิรูป องค์กรจากการนา ERP มาใช้
  • 38. ERPและการเชื่อมโยงไปสู่กิจกรรมการปฏิรูปองค์กร 2. การฝังลึกของกิจกรรมปฏิรูปองค์กรที่เกิดจากการนา ERP มาใช้ เมื่อมีการปฏิรูปชั้นรากฐานขององค์กรฝังลึกขึ้น จะทาให้เกิดแรงผลักดันเพื่อการปฏิรูปองค์กร อย่างต่อเนื่องและสามารถส่งผลให้เกิดความสามารถ ที่จะผลิตสินค้าและบริการใหม่ๆ ที่ สร้างสรรค์ได้อย่างรวดเร็วตรงตามความต้องการของตลาด การสร้างผลิตภัณฑ์หรือบริการ ใหม่ๆ นี้จะส่งผลเรียกร้องให้เกิดการปฏิรูปใหม่ๆ ในชั้นระบบสารสนเทศองค์กรด้วย เช่น เกิด ความคิดว่าแนวคิด ERP นั้นน่าจะขยายขอบเขตให้ใหญ่ขึ้น ซึ่งจะเป็นผลทาให้เกิดการปฏิรูป อย่างต่อเนื่องของระบบ ERP
  • 39. การนา ERPมาใช้ส่งผลให้เกิดการปฏิรูปด้านต่าง 1. การปฏิรูปการทางาน การนา ERP มาใช้นั้น จะทาให้เกิดการทบทวนกระบวนการทางธุรกิจของห่วงโซ่ ของกิจกรรมที่มีอยู่เดิมว่า เป็นไปตามแนวคิดของ ERP หรือไม่ ผลที่เกิดขึ้นก็คือ การนา ERP มาใช้ จะทาให้เกิดการปฏิรูประบบการทางานที่มีอยู่เดิมโดยปริยาย การปฏิรูปการทางานส่งผลกระทบต่อการบริหารธุรกิจด้าน - การเพิ่มประสิทธิภาพและความเหมาะสมให้กับกระบวนการทางธุรกิจ - การทาให้การบริการรวดเร็ว ไวต่อเหตุการณ์ - การลดลงของค่าใช้จ่าย
  • 40. การนา ERPมาใช้ส่งผลให้เกิดการปฏิรูปด้านต่าง 2. การปฏิรูปการบริหารธุรกิจ การนา ERP มาใช้นั้น จะทาให้สามารถรวมศูนย์งานทั้งหมดในห่วงโซ่ กิจกรรม (ห่วงโซ่ของมูลค่า) ได้ และสามารถรู้ถึงกิจกรรมในห่วงโซ่ กิจกรรมได้แบบ real time เมื่อสามารถรับรู้ถึงสภาพการณ์โดยรวม ของการบริหารอย่างแจ่มแจ้ง ก็จะทาให้สามารถดูแลบริหารและลงทุน ทรัพยากรทางการบริหารต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 41. การนา ERPมาใช้ส่งผลให้เกิดการปฏิรูปด้านต่าง 3. การปฏิรูปวัฒนธรรมและวิถีขององค์กร ในการปฏิรูปการทางาน มีความจาเป็นต้องแก้ไขรูปแบบโครงสร้างองค์กร แบบดั้งเดิมที่แบ่งแยกในแนวตั้งตาม function และมีชั้นมากมาย โดย จะต้องปฏิรูปโครงสร้างให้เป็นแบบแนวราบ (flat) ซึ่งสามารถควบคุมห่วง โซ่ของกิจกรรมเพิ่มมูลค่าตลอดตามแนวนอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ การ เปลี่ยนแปลงโครงสร้างองค์กรแบบนี้จะส่งผลให้เกิดการปฏิรูปวัฒนธรรมและ วิถี ขององค์กรในด้าน - การเป็นตัวเองและความกระตือรือร้นของพนักงาน - การใช้ความสามารถของพนักงานให้เกิดผล (empowerment) - การใช้ความคิดสร้างสรรค์ในฐานะขององค์กรให้เกิดผล
  • 42. ปัจจัยต่าง ที่ควรพิจารณาเมื่อนา ERP มาใช้ในองค์กร 1. ปัจจัยด้านต้นทุน (Cost) 2. ปัจจัยด้านเทคโนโลยี (Technology) 3. ปัจจัยด้านเทคนิค (Technical) 4. ปัจจัยด้านการวางแผนกลยุทธ์ (Strategy) 5. ปัจจัยด้านการปรับเปลี่ยนกระบวนการทางธุรกิจ (Business Process Re- engineering-BPR) 6. ปัจจัยด้านการเปลี่ยนแปลงการจัดการ (Change Management) 7. ปัจจัยด้านการจัดการโครงการ (Project Management) 8. ปัจจัยด้านบุคลากร (Human Resource) 9. ปัจจัยด้านการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร (Chang Culture Organization)
  • 44. ผู้บริหารและการนา ERP มาใช้ 1. การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสภาวะแวดล้อมการบริหาร สภาวะแวดล้อมการบริหารในปัจจุบันนั้นเปลี่ยนแปลงรวดเร็วมาก เนื่องจากเป็นยุคของการเปิดสู่โลกกว้าง การเข้ายุคการแข่งขันอย่าง รุนแรง และยุคที่การเปลี่ยนแปลงเป็นเรื่องปกติ
  • 45. ผู้บริหารและการนา ERP มาใช้ 2. การเสริมความแกร่งด้านการแข่งขันโดยการปฏิรูปองค์กร การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมการบริหารดังกล่าว ทาให้การ ปฏิรูปองค์กร เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ จึงทาให้มีความจาเป็นต้องปฏิรูป การทางาน ปฏิรูปการบริหาร และปฏิรูปวัฒนธรรม และวิถีขององค์กร ด้วย
  • 46. ผู้บริหารและการนา ERP มาใช้ 3. การสร้างรากฐานของการปฏิรูปองค์กรโดยใช้ระบบ ERP เพื่อที่จะสามารถปฏิรูปองค์กรให้ได้รวดเร็ว ทันต่อสภาพแวดล้อมการ บริหารที่เปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว จาเป็นต้องปฏิรูประบบเทคโนโลยี สารสนเทศขององค์กร โดยการนาระบบ ERP มา ใช้เป็นรากฐานของ ระบบข้อมูลสารสนเทศขององค์กร
  • 47. ผู้บริหารและการนา ERP มาใช้ 4. ความเป็นผู้นาของผู้บริหาร การนา ERP มาใช้ ไม่ได้หมายถึงเพียงแค่การสร้างระบบข้อมูล สารสนเทศใหม่เท่านั้น แต่เป็นการนาเครื่องจักรขับเคลื่อนการปฏิรูป องค์กรเข้ามาใช้ และการที่จะปฏิรูปองค์กรนั้น คนที่สามารถผลักดันได้ ก็มีเพียงแต่ผู้บริหารเท่านั้น ดังนั้นในการนา ERP มาใช้ ความเป็นผู้นา ของผู้บริหาร จึงเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้
  • 48. บทบาทของผู้บริหารที่ต้องปฏิบัติในการนา ERP มาใช้ • 1. การเป็นหัวหอกในการปฏิรูปจิตสานึก ก่อนที่จะนา ERP มาใช้ ผู้บริหารจะต้องไม่มองข้ามสภาพปัจจุบันขององค์กร แต่ จะต้องเป็นหัวหอกในการปฏิรูปจิตสานึกต่อความสาคัญของการปฏิรูปองค์กร และจะต้องรับบทบาทในการผลักดันเรื่องการปฏิรูปจิตสานึกขององค์กรโดยรวม ผู้บริหารจะต้องเป็นผู้อธิบายให้พนักงานเข้าใจ โดยบางครั้งจะต้องวนไปรอบๆ องค์กรด้วยตัวเอง และพูดคุยกับพนักงานแต่ละคนๆ ให้ร่วมแรงกันปฏิบัติ
  • 49. บทบาทของผู้บริหารที่ต้องปฏิบัติในการนา ERP มาใช้ 2. ร่วมในการออกแบบและการตัดสินใจในการนา ERP มาใช้ การนา ERP มาใช้ต่างกับการทาโครงการเพียงเพื่อสร้างระบบ สารสนเทศใหม่เป็นอย่างมาก เพราะการสร้างระบบ ERP คือการสร้าง ระบบสารสนเทศใหม่ที่รวมศูนย์ และมีความสามารถทาให้เกิดการ บริหารที่ก่อให้เกิดการปฏิรูปการทางาน การปฏิรูปการบริหาร การ ปฏิรูปวัฒนธรรมและวิถีขององค์กรอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้องค์กรโดยรวม ได้รับประสิทธิภาพสูงสุด
  • 50. บทบาทของผู้บริหารที่ต้องปฏิบัติในการนา ERP มาใช้ 3. การเป็นผู้นาอย่างต่อเนื่องในการนา ERP มาใช้ ผู้บริหารไม่ใช่แค่เป็นผู้เริ่มต้นเท่านั้น ผู้บริหารจะต้องไม่ปล่อยให้เป็น หน้าที่ของผู้ใต้บังคับ บัญชาในการดาเนินการผลักดันการนา ERP มา ใช้ เพราะถ้าเป็นเช่นนั้นจะไม่ประสบผลสาเร็จ ผู้บริหารจะต้องเป็นผู้นา อย่างต่อเนื่องในการนา ERP มาใช้ในองค์กร
  • 51. ขั้นตอนการนา ERP มาใช้ การนา ERP มาใช้นั้น มีความจาเป็นที่จะต้องแบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอนใหญ่
  • 53. ขั้นตอนการวางแนวความคิดการนา ERP มาใช้ 1. จัดตั้งทีมแกนกลาง (core team) เป็นการจัดตั้งทีมงานแกนกลาง เพื่อผลักดันการนา ERP มาใช้รวมทั้ง จัดทาแผนการวางแนวคิด การทา ERP มาใช้ และควรมีที่ปรึกษาที่มี ประสบการณ์ด้าน ERP ซึ่งควรมาจากบริษัทที่ปรึกษาที่เป็นกลาง เพื่อ จะได้ให้คาปรึกษาที่น่าเชื่อถือแก่ผู้บริหารได้
  • 54. ขั้นตอนการวางแนวความคิดการนา ERP มาใช้ 2. การทาความเข้าใจและวินิจฉัยสถานภาพปัจจุบันของรูปทาง ธุรกิจ(business scenario) และกระบวนการทางธุรกิจ (business process) ทีมงานแกนกลางจะทางานในการรับฟังข้อมูลจากทั้งผู้บริหาร และจาก แต่ละหน่วยงานภายในบริษัทในประเด็นเกี่ยวกับสถานภาพปัจจุบันของ กระบวนการทางธุรกิจ และทาการวินิจฉัยวิเคราะห์
  • 55. ขั้นตอนการวางแนวความคิดการนา ERP มาใช้ 3. การทาประเด็นปัญหาปัจจุบันของรูปแบบทางธุรกิจและ กระบวนการทางธุรกิจให้ชัดเจนเป็นรูปธรรม จากนั้นจะต้องทาการสรุปสถานภาพและประเด็นปัญหาปัจจุบันของ รูปแบบธุรกิจ และกระบวนการทางธุรกิจให้ชัดเจนเป็นรูปธรรม
  • 56. ขั้นตอนการวางแนวความคิดการนา ERP มาใช้ 4. การกาหนดรูปแบบที่ควรจะเป็น โดยการออกแบบระบบการทางานขององค์กรไปสู่ภาพลักษณ์ที่ต้องการ ในอนาคต โดยให้มีการเข้าร่วมของผู้บริหารในขั้นตอนนี้ด้วย และโดย การเปรียบเทียบภาพอนาคตกับสถานภาพปัจจุบัน จะทาให้สามารถ มองเห็นแนวว่า ควรจะทาการปฏิรูปองค์กรอย่างไร แล้วสรุปแนวทาง หลักๆ ในการทากิจกรรมเพื่อปฏิรูปองค์กรโดยนา ERP มาใช้
  • 57. ขั้นตอนการวางแนวความคิดการนา ERP มาใช้ 5. การรณรงค์ปฏิรูปจิตสานึก ต้องมีการปฏิรูปจิตสานึกให้คนทั้งองค์กรเห็นพ้องร่วมกันในสถานภาพ ปัจจุบันไปสู่สภาพที่ควรจะเป็น เปิดโอกาสให้บุคลากรจากหน่วยงาน ภายในองค์กรเข้าร่วม เพื่อแสวงหาภาพของ องค์กรที่ควรจะเป็นร่วมกัน
  • 58. ขั้นตอนการวางแนวความคิดการนา ERP มาใช้ 6. แผนการวางแนวคิดสาหรับการปฏิรูปวิสาหกิจ เป็นการวางแผนแนวความคิดเพื่อการปฏิรูปองค์กร เพื่อกาจัดช่องว่าง ระหว่างประเด็นปัญหาของการบริหารธุรกิจในปัจจุบันกับภาพที่ ต้องการจะให้เป็นในอนาคต
  • 59. 7. แผนการวางแนวคิดการนา ERP มาใช้ ให้วางแผนแนวคิดการนา ERP มาใช้ โดยยึดตามแนวคิดของการ ปฏิรูปองค์กร โดนเน้นว่าการนา ERP มาใช้นั้นเป็นการนาเครื่องจักร ขับเคลื่อนการปฏิรูปองค์กรเข้ามาใช้
  • 60. 8. การตัดสินใจในการนา ERP มาใช้โดยผู้บริหาร ซึ่งเป็นขั้นตอนสุดท้าย เพื่อขออนุมัติการตัดสินของผู้บริหารเพื่อนา ERP มาใช้โดยยึดหลักแนวคิดที่วางไว้ และหลังจากได้รับคาอนุมัติ จากผู้บริหารแล้ว ก็จะเริ่มต้นการวางแผนการนา ERP มาใช้ต่อไป
  • 62. ขั้นตอนการวางแผนการนา ERP มาใช้ 1. จัดตั้งคณะกรรมการกาหนดแนวทาง จัดตั้งคณะกรรมการกาหนดแนวทางโดยให้ผู้บริหารเป็นประธาน คณะกรรมการชุดนี้ไม่ เพียงแต่มีบทบาทในการวางแผนโครงการนา ERP มาใช้เท่านั้น แต่ยังมีบทบาทจนกระทั่ง สิ้นสุดโครงการ เช่น ติดตาม ความก้าวหน้าของโครงการ, ปัญหาที่เกิดขึ้น รวมทั้งปัญหา ต่างๆที่จาเป็นต้องอาศัยมุมมองจากการบริหารจัดการในการแก้ไขอย่างรวดเร็ว โดยจะเป็น หน่วยงานที่มีอานาจตัดสินใจสูงสุดในการแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวกับโครงการนา ERP มาใช้ ดังนั้นสมาชิกของคณะกรรมการกาหนดแนวทางจึงต้องประกอบด้วย ผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบ ของหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องภายในองค์กร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการตัดสินใจเกี่ยวกับ กระบวน การทางธุรกิจ จะต้องมีผู้รับผิดชอบที่เป็นตัวแทนมาจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ กระบวนการทางธุรกิจ (process owner) และมีอานาจตัดสินใจเข้าร่วมด้วย
  • 63. ขั้นตอนการวางแผนการนา ERP มาใช้ 2. จัดตั้งระบบและโครงสร้างขององค์กร คณะกรรมการกาหนดแนวทาง จะต้องตั้งทีมปฏิบัติงานโครงการนา ERP มาใช้ งานของ โครงการนา ERP มาใช้คือ การกาหนดลาดับขั้นตอนของกระบวนการทางธุรกิจใหม่โดย อ้างอิงจากรูปแบบธุรกิจที่วางแผนไว้ และทาการสร้างระบบ ERP โดยการกาหนด parameter ต่างๆ เข้าไปใน ERP Package ดังนั้น จึงจาเป็นที่จะต้องคัดเลือกบุคลากรต่างๆ ที่มีความคุ้นเคยกับกระบวนการทางธุรกิจ ในปัจจุบัน จากหน่วยงาน ที่มีอานาจในการตัดสิน กาหนดกระบวนการทางธุรกิจใหม่ (เจ้าของ กระบวนการ) เพื่อร่วมประสานงานในการตัดสินกาหนดกระบวนการทางธุรกิจ โดย ต้องให้ บุคคลากรหลัก (key person) ของแต่ละหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้เข้าร่วมในการ ตัดสินกาหนดกระบวนการทางธุรกิจ นอกจากนี้โครงการนา ERP มาใช้ ต้องดาเนินการ สร้างระบบสารสนเทศ ที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศล่าสุดอย่างเต็มที่ให้เกิดเป็นโครงสร้าง พื้นฐานด้านสารสนเทศขึ้นมา อีกทั้งจะต้องเกี่ยวข้องกับการปรับโอนระบบเก่าสู่ระบบใหม่ ดังนั้นจึงมีความจาเป็นที่จะต้องมีสมาชิก จากฝ่ายระบบสารสนเทศเข้าร่วมในโครงการด้วย
  • 64. ขั้นตอนการวางแผนการนา ERP มาใช้ 3. ทาวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการนา ERP มาใช้ให้มีความชัดเจน การเริ่มต้นโครงการนา ERP มาใช้แรกสุด จะต้องทาให้วัตถุประสงค์ของการนา ERP มาใช้ให้มีความชัดเจน เป็นรูปธรรม พึงนึกเสมอว่า การปฏิรูปที่คิดไว้ในการ วางแผนนั้น คือ การปฏิรูปอะไร อย่างไร และจาเป็นจะต้องสร้างระบบ ERP อย่างไร ซึ่งต้องกาหนดให้ชัดเจน อีกทั้งต้องกาหนดเป้าหมายของผลลัพธ์ที่ คาดหวังจากการปฏิรูปด้วย
  • 65. ขั้นตอนการวางแผนการนา ERP มาใช้ 4. กาหนดขอบข่ายและวิธีการนา ERP มาใช้ ซึ่งมี 2 รูปแบบคือ 1. ใช้โครงสร้างระบบ ERP ในการปรับเปลี่ยนทุกๆ ส่วนของธุรกิจในครั้งเดียวเลย(big bang approach) 2. เริ่มต้นด้วยบางส่วนของธุรกิจก่อน แล้วค่อยๆขยายขอบข่ายออกไปเป็นขั้นเป็นตอน (phasing approach) ซึ่งจะต้องพิจารณาลาดับก่อนหลังของส่วนที่ธุรกิจที่เป็น เป้าหมายด้วย ในกรณีที่มีฐานของธุรกิจมากหลายแหล่ง จะเลือกแบ่งออกเป็นขั้นๆ ในการขยายฐานออกไป หรือจะนา ERP มาใช้สาหรับทุกฐานในครั้งเดียวกัน เป็นสิ่งสาคัญที่จะต้องตัดสินใจ
  • 66. ขั้นตอนการวางแผนการนา ERP มาใช้ 5. ตรวจสอบให้แน่ใจเกี่ยวกับการใช้ ERP package ในการสร้างระบบ ERP นั้น การใช้ ERP package เป็นสิ่งที่ขาด ไม่ได้ จาเป็นที่จะต้องได้รับความเห็นพ้องกันว่า จะใช้ ERP package ในการสร้างระบบ ERP
  • 67. ขั้นตอนการวางแผนการนา ERP มาใช้ 6. คัดเลือก ERP package ที่จะใช้ การคัดเลือกบริษัทผู้ผลิต ERP package ที่จะใช้ในการสร้างระบบ ERP การ คัดเลือก ERP package นี้จุดสาคัญคือต้องมองภาพอนาคตที่คาดหวังของ องค์กร และพิจารณาว่าสิ่งที่จะเลือกนั้นสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการนา ERP มาใช้ตามที่วางแนวคิดไว้หรือไม่ ในกรณีที่เลือกผู้จาหน่าย ERP package จาก ต่างประเทศ ให้ดาเนินการสารวจกรณีตัวอย่างของบริษัทภายในประเทศ เกี่ยวกับผล ในการนา ERP มาใช้ภายในประเทศ และพิจารณาระดับความสามารถ ความ จริงจังที่จะเข้ามาทาตลาดในประเทศด้วย ตลอดจนความมั่นคงของการบริหาร จัดการและสถานภาพการลงทุนในการพัฒนา สถานภาพความต่อเนื่องของการ Upgrade Software นั้นรวมทั้งการปรับแต่งสาหรับการใช้ภายในประเทศ (localization) และความรวดเร็วในการทาการ localization version ใหม่ๆ สาหรับตลาดในประเทศนั้นเร็วมากน้อยอย่างไร
  • 68. ขั้นตอนการวางแผนการนา ERP มาใช้ 7. คัดเลือกพันธมิตรที่ให้การสนับสนุน เมื่อตัดสินใจเลือก ERP package ได้แล้ว ขั้นต่อไปเป็นการ ตัดสินใจเลือกพันธมิตรที่จะให้การ สนับสนุนในการสร้างระบบ ERP ระยะเวลาและค่าใช้จ่ายในการนา ETP มาใช้จะเป็นอย่างไร ขึ้นอยู่กับ ฝีมือของพันธมิตรที่จะเข้ามาทางานจริง
  • 69. ขั้นตอนการวางแผนการนา ERP มาใช้ 8. กาหนดกรอบของการปฏิรูปการทางานและการปฏิรูปการบริหาร พิจารณารูปแบบธุรกิจ (scenario) ของการบริหารธุรกิจโดยรวม และพิจารณาตัดสินว่าจะต้องทา อะไรบ้างในการปฏิรูปการทางานและ การบริหารงาน ส่วนรายละเอียดของรูปแบบทางธุรกิจ และ กระบวนการทางธุรกิจนั้น จะทากันอีกครั้งในขั้นตอนของการพัฒนา ระบบ โดยพิจารณาจาก Function การใช้งานและส่วนอื่น ๆ ที่มา กับ ERP package ที่นามาใช้ประกอบกันด้วย
  • 70. ขั้นตอนการวางแผนการนา ERP มาใช้ 9. จัดตั้งเป้าหมายเวลาและงบประมาณในการนา ERP มาใช้ ควรจัดทาหมายกาหมดการคร่าวๆ สาหรับการนา ERP มาใช้และ เป้าหมาย (milestone) หลักๆ ในแต่ละช่วง รวมถึงการพิจารณา ตัดสินใจถึงงบประมาณค่าใช้จ่ายโดยคร่าวๆ
  • 71. ขั้นตอนการวางแผนการนา ERP มาใช้ 10. อนุมัติแผนการนา ERP มาใช้ ในขั้นท้ายสุด จะเป็นการจัดทาเอกสารแผนงานซึ่งจะรวบรวม แผนปฏิบัติงานต่างๆในการนา ERP มาใช้ จากนั้นจะต้องจัดให้มีการ ประชุมของผู้บริหารระดับสูงขององค์กรทั้งหมด เพื่อให้มีมติเห็นชอบใน การเริ่มโครงการการนา ERP มาใช้อย่างเป็นรูปธรรม และท้ายสุด จะต้องได้รับการอนุมัติเห็นชอบจากผู้บริหารระดับสูงสุดด้วย
  • 73. ขั้นตอนการพัฒนาการนา ERP มาใช้ • 1. การจัดทาแผนโครงการการพัฒนา ควรทาการวางแผนโครงการโดยละเอียด สาหรับการนา ERP มาใช้ โดยการกาหนดงานที่ จาเป็นต้องปฏิบัติเพื่อให้โครงการดาเนินไปได้ แล้วแบ่งงานนั้นออกเป็นหน่วยย่อย และระบุเวลา และเป้าหมาย (milestone) ที่จะได้รับของแต่ละขั้นตอน โดยจาเป็นที่จะต้องใส่ เป้าหมายของแต่ละช่วงที่ถูกแบ่งเอาไว้ในแผนด้วย
  • 74. ขั้นตอนการพัฒนาการนา ERP มาใช้ • 2. การสารวจสภาวะของระบบงานปัจจุบัน การที่พิจารณาปรับปรุงกระบวนการทางธุรกิจ (business process) ที่สร้างจากรูปแบบธุรกิจ(business scenario) นั้น จะเริ่มต้นจากการสารวจสภาวะของระบบงานปัจจุบัน
  • 75. ขั้นตอนการพัฒนาการนา ERP มาใช้ • 3. การกาหนดรูปแบบธุรกิจและกระบวนการทางธุรกิจที่น่าจะเป็น เป็นการกาหนดรูปแบบของการดาเนินธุรกิจ (business scenario) ที่ จะดาเนินต่อจากนี้ไป สาหรับในแต่ละธุรกิจรายสาขาที่อยู่ในแผนการปฏิรูป หลังจากนั้นจะทาการทบทวนกระบวนการทางธุรกิจ (business process) ที่ผ่านมา ว่าจะต้องทาการปฏิรูป ปรับปรุง รวบลัดตัดแต่ง ระบบงานเก่าอย่างไร ให้เกิดเป็นกระบวนการทางธุรกิจใหม่ และสอดคล้อง ตามรูปแบบธุรกิจใหม่ ที่ได้กาหนดขึ้น โดยกระบวนการทางธุรกิจที่น่าจะเป็น นี้สามารถที่จะทาการเปลี่ยนแปลงหรือหันไปใช้แผน(สารอง)อื่นๆได้ ขึ้นอยู่ กับผลการประเมินความเหมาะสมสอดคล้องของ ERP package
  • 76. ขั้นตอนการพัฒนาการนา ERP มาใช้ • 4. การประเมินความเหมาะสมสอดคล้องกัน เป็นการประเมินความเหมาะสมสอดคล้องกัน ระหว่างกระบวนการทาง ธุรกิจที่น่าจะเป็น กับ กระบวนการทางธุรกิจที่มีให้เลือกใช้จาก ERP package
  • 77. ขั้นตอนการพัฒนาการนา ERP มาใช้ • 5. การใช้ ERP package อย่างมีประสิทธิภาพ การตัดสินใจขั้นสุดท้ายเกี่ยวกับกระบวนการทางธุรกิจว่าจะกาหนด อย่างไรรวมถึงการจะหัน ไปเลือกใช้แผนสารองอื่นหรือไม่นั้น จุดสาคัญ ที่สุดคือ ต้องพิจารณาว่าจะสามารถใช้กระบวนการทางธุรกิจ ที่มีให้ เลือกจาก ERP package ให้เป็นประโยชน์ได้อย่างเต็มที่หรือไม่
  • 78. ขั้นตอนการพัฒนาการนา ERP มาใช้ • 6. การพัฒนา ERP package เพิ่มเติม ในกรณีที่สรุปได้ว่า ไม่สามารถที่จะสร้างกระบวนการทางธุรกิจ ที่น่าจะ เป็นขึ้นมาได้จากการ ผสมผสานของกระบวนการทางธุรกิจที่มีให้เลือก จาก ERP package แม้ว่าจะพิจารณาเรื่องการใช้แผนสารองแล้วก็ ตาม ก็มีความจาเป็นที่จะต้องพิจารณาทางเลือกอื่นๆ เพื่อแก้ปัญหา เช่น การพัฒนา Software เพิ่มเติม(add on) เพื่อใช้ร่วมกับ ERP package หรือการใช้ระบบอื่นๆ ภายนอกเข้ามาช่วย โดยมี การประสานกันกับ ERP package ซึ่งก่อนที่จะตัดสินใจใช้แนวทาง นี้ทางที่ดีควรจะต้องให้ผู้จาหน่าย ERP package ได้ทราบและมี ส่วนร่วมจะดีที่สุด
  • 79. ขั้นตอนการพัฒนาการนา ERP มาใช้ • 7. ความร่วมมือของเจ้าของกระบวนการและการทาให้เห็นพ้อง เพื่อให้การกาหนดกระบวนการทางธุรกิจเป็นไปอย่างราบรื่น จะต้อง ได้รับความร่วมมือจาก ส่วนที่มีอานาจในการตัดสินใจเกี่ยวกับ กระบวนการทางธุรกิจ และให้สมาชิกในส่วนนั้นมีความเห็นพ้องต้องกัน ด้วย
  • 80. ขั้นตอนการพัฒนาการนา ERP มาใช้ • 8. การตัดสินใจเพื่อการปฏิรูปการบริหาร การตัดสินใจได้ดีจะต้องมีระบบข้อมูลที่จาเป็นและวิธีการเพื่อการ ตัดสินใจทางธุรกิจของผู้บริหารในการปฏิรูปการบริหาร เช่น การ พิจารณากาหนดมาตรการลดระยะเวลาของรอบการดาเนินการจาก เดือนเป็นวัน รวมทั้งมาตรการที่จะทาให้สามารถปิดบัญชีได้เป็นรายวัน
  • 81. ขั้นตอนการพัฒนาการนา ERP มาใช้ • 9. การตัดสินใจเพื่อการปฏิรูปวัฒนธรรมและวิถีขององค์กร ทาการกาหนดขอบข่ายของการเปิดข้อมูลที่ได้รับจากระบบ ERP กาหนดขอบข่ายของข้อมูลที่สามารถใช้ร่วมกัน รวมทั้งพิจารณาการ สร้างสิ่งแวดล้อมและระบบการทางานที่ช่วยเสริมสร้างความร่วมมือกัน
  • 82. ขั้นตอนการพัฒนาการนา ERP มาใช้ • 10. การสนับสนุนของผู้บริหารและการตัดสินใจอย่างรวดเร็ว ในการสร้างกระบวนการทางานที่น่าจะเป็นนั้น บางครั้งต้องมีการ ตัดสินใจปฏิรูปการทางานที่ ข้ามหรือเกี่ยวข้องกับหลายฝ่าย ผู้บริหารจึง ต้องเป็นผู้ชี้แนะในการปรึกษาหารือกับฝ่ายงานที่เกี่ยวข้อง โดยผ่านทาง คณะกรรมการกาหนดแนวทาง (steering committee) แต่ถ้า หากไม่สามารถหาข้อสรุปได้ผู้บริหารก็จะต้องทาการตัดสินใจขั้นสุดท้าย เพื่อให้โครงการดาเนินไปได้อย่างแน่วแน่
  • 83. ขอบคุณครับ • เบอร์โทร: 081-625-2606 • อีเมล: tanapat.l@hotmail.com • LineID : tanapat_lim