SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
Tanapat Limsaipromp p
ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
ERP101‐Chapter1 Tanapat Limsaiprom 1
โ ส ้ ERPโครงสรางของ ERP
ERP101‐Chapter1 Tanapat Limsaiprom 2
โครงสร้างของ ERPโครงสรางของ ERP
โครงสร้างของ ERP แบ่งออกเป็น 5 กลุ่มคือ
Material Resource Planning (MRP) หมายถึง ระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการจัดทําแผนความต้องการวัสดุ โดยมี
องค์ประกอบของข้อมูลนําเข้าที่สําคัญ 3 รายการคือ ตารางการผลิตหลัก แฟ้ มข้อมูลบัญชีรายการวัสดุ (Bill of Material File) 
และ แฟ้ มข้อมูลสถานะคงคลัง (Inventory Status File)
Customer Resource Management (CRM) หมายถึง ระบบสารสนเทศเพื่อบริหารความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรและ
ลูกค้า เพื่อให้เป็นความสัมพันธ์ระยะยาว โดยระบบนี้จะศึกษาพฤติกรรมการซื้อของลูกค้า ความสนใจ ความต้องการ เพื่อให้องค์กรนํา
ข้อมูลเหล่านั้นมาวิเคราะห์และนําสินค้าเสนอต่อลูกค้าให้ใกล้เคียงกับที่ลูกค้าสนใจ และการบริการหลังการขายแก่ลูกค้า ลดการสูญเสีย
ลูกค้า ลดต้นทุนการตลาด เพิ่มรายได้จากการที่ลูกค้าซื้อและแนะนําให้คนรู้จักซื้นสินค้าขององค์กรู ุ ู ู
Finance Resource Management (FRM) หมายถึง ระบบสารสนเทศที่เน้นให้บริการเกี่ยวกับการเงินและบัญชี โดยอิง
ตามกฏระเบียบและข้อบังคับตามที่ประเทศนั้นๆ กําหนด FRM ถือเป็นส่วนประกอบหลักของโครงสร้าง ERP ทั้งหมด โดยผลลัพธ์จาก
การประมวลผลของ FRM มักจะออกมาในรปแบบรายงาน ทั้งรายงานสําหรับระดับปฏิบัติการ รายงานสําหรับผ้บริหาร และรายงานการประมวลผลของ FRM มกจะออกมาในรูปแบบรายงาน ทงรายงานสาหรบระดบปฏบตการ รายงานสาหรบผูบรหาร และรายงาน
สําหรับหน่วยงานภายนอก เช่น กรมบัญชีกลาง กรมสรรพากร เป็นต้น
Human Resource Management (HRM) หมายถึงระบบสารสนเทศเพื่อการบริการงานทางบุคคล จัดประกอบด้วย
ข้อมลพื้นฐานของพนักงานในองค์กร ข้อมลพื้นฐานของโครงสร้างองค์กร การประมวลผลเกี่ยวกับเงินเดือน เป็นต้นขอมูลพนฐานของพนกงานในองคกร ขอมูลพนฐานของโครงสรางองคกร การประมวลผลเกยวกบเงนเดอน เปนตน
Supply Chain Management (SCM) หมายถึง ระบบสารสนเทศเพื่อจัดการกระบวนการไหลของวัสดุ สินค้าตลอดจน
ข้อมูลและธุรกรรมต่างๆ ผ่านองค์กรที่เป็นผู้ส่งมอบ ผู้จัดจําหน่าย ไปจนถึงลูกค้า โดยที่องค์กรต่างๆ มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจต่อกัน
ERP101‐Chapter1 Tanapat Limsaiprom 3
คณสมบัติของ ERP ที่สําคัญคุณสมบตของ ERP ทสาคญ
ควรมีความยืดหยุ่น (Flexible) ควรมีความยืดหยุ่น รองรับองค์กร หากมีการปรับเปลี่ยนในอนาคตได้
อีกทั้งการเก็บข้อมูลควรใช้ฐานข้อมูลกลางเดียวกัน เพื่อให้สามารถบูรณาการข้อมูลได้
โมดูลควรอิสระจากกัน (Modular) ประกอบด้วยหลายฟังก์ชันการทํางาน หรือหลายโมดูลดังนั้นควรมี
ํ ี่ ่ ั ่ ั ิ ่ ั ื่ ป้ ั ป ี่ ป ไ ้ไ ่ ั โการทํางานทีแตกต่างกันอย่างชัดเจน และอิสระต่อกัน เพือป้ องกันการเปลียนแปลงจะได้ไม่กระทบกับโมดูล
อื่นๆ และต้องรองรับการทํางานได้หลากหลายแพลตฟอร์ม (Platform)
ครอบคลุม (Comprehensive) สามารถรองรับการทํางานได้หลากหลายฟังก์ชัน เนื่องจากแต่ละ
องค์กรมีลักษณะการทํางานที่แตกต่างกัน ดังนั้นต้องหลากหลายและครอบคลมองคกรมลกษณะการทางานทแตกตางกน ดงนนตองหลากหลายและครอบคลุม
นอกเหนือจากองค์กร (Beyond the Company) สามารถเชื่อมต่อกับระบบสารสนเทศอื่นๆ ของ
องค์กรได้ ไม่จํากัดเพียง ERP เท่านั้น
Belong to the Best Business Practices มีกระบวนการทํางานที่เป็นมาตรฐาน โดยนําg ฐ
กิจกรรมหรือกระบวนการทํางานที่จัดว่าเป็นสิ่งที่ดีที่องค์กรพึ่งมีไว้ในระบบ หากแต่องค์กรสามารถปรับแต่ง
ได้ตามความเหมาะสมกับองค์กรนั้นๆ
ERP101‐Chapter1 Tanapat Limsaiprom 4
ความเป็นมาของแนวคิด ERPความเปนมาของแนวคด ERP
่ ่แนวคิด ERP เริ่มในยุคปี ค.ศ. 1990 ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา จุดกําเนิด
เริ่มแรกของ ERP มาจากแนวคิดของการพัฒนาระบบการบริหารการผลิตรวม
(Material Requirement Resource Planning / (Material Requirement Resource Planning / 
Manufacturing Resource Planning, MRP System) 
ของอุตสาหกรรมการผลิตในอเมริกา โดยคําว่า ERP และแนวคิดของ ERP 
้ ่
ุ
นั้นก็พัฒนามาจาก MRP นั่นเอง
ในที่นี้จะทําการอธิบาย ความเป็นมาของ MRP โดยย่อว่ามีความเป็นมาในทนจะทาการอธบาย ความเปนมาของ MRP โดยยอวามความเปนมา
อย่างไร และทําไมจึงพัฒนามาเป็น ERP ได้ ซึ่งจะช่วยให้สามารถเข้าใจ
ความหมายของ ERP ได้ดียิ่งขึ้นและตัวแนวคิด ERP เองก็ยังมีวิวัฒนาการ
อยู่ จาก ERP ก็จะเป็น Extended ERP และจะพัฒนาไปเป็น Next 
Generation ERP ต่อไปในอนาคต
ERP101‐Chapter1 Tanapat Limsaiprom 5
ความเป็นมาของแนวคิด ERP
พัฒนาการจาก MRP สู่ ERP
ERP101‐Chapter1 Tanapat Limsaiprom 6
ความเป็นมาของแนวคิด ERP
แนวคิดMRPเกิดขึ้นครั้งแรกที่อเมริกาในยุคต้นของ ทศวรรษ 1960 ในช่วงแรก MRP ย่อมาจาก
Material Requirement Planning (การวางแผนความต้องการวัสดุ) เป็นวิธีการในการุ
หาชนิดและจํานวนวัสดุที่ต้องใช้ในการผลิตตามตารางเวลาและจํานวนสินค้าที่ได้วางแผนโดย MPS 
(Master Production Schedule)
วิธี MRP เป็นเทคนิคในการจัดการ ที่สามารถหารายการวัสดุที่ต้องใช้ในการผลิตสินค้าสําเร็จรูป
ตามแผนการผลิตหลักที่ได้วางไว้ โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย สามารถสร้างใบรายการ
วัสด (bill of material)ได้อย่างรวดเร็ว และสามารถบอกชนิดของวัสด จํานวนที่ต้องการ และวสดุ (bill of material)ไดอยางรวดเรว และสามารถบอกชนดของวสดุ จานวนทตองการ และ
เวลาที่ต้องการได้อย่างแม่นยํา
แต่วิธี MRP นี้ไม่มีความสามารถในการตรวจสอบหาข้อแตกต่างระหว่างแผนการผลิตกับสภาพการแตวธ MRP นไมมความสามารถในการตรวจสอบหาขอแตกตางระหวางแผนการผลตกบสภาพการ
ผลิตจริงที่ shop floor เนื่องจากไม่มีฟังก์ชั่นเกี่ยวกับการป้อนกลับข้อมูลกลับมาปรับแผนใหม่
อย่างไรก็ตาม วิธี MRP ก็ยังดีกว่าวิธีการควบคุมสินค้าคงคลังแบบเดิม ช่วยให้สามารถลดจํานวน
วัสดคงคลัง แล ยกปร สิทธิภาพการวางแผนการผลิตแล การสั่งซื้อวัตถดิบได้เป็นอย่างดีวสดุคงคลง และยกประสทธภาพการวางแผนการผลตและการสงซอวตถุดบไดเปนอยางด
ERP101‐Chapter1 Tanapat Limsaiprom 7
ความเป็นมาของแนวคิด ERP
Closed Loop MRP
ย่างเข้ายุคปี ค.ศ. 1970 MRP ได้รับการพัฒนาให้มีความสามารถในการป้อนกลับข้อมูลการ
ผลิตจริงใน shop floor นอกจากนั้นยังเพิ่มแนวคิดเรื่อง การวางแผนความต้องการกําลัง
การผลิต (Capacity Requirement Planning)การผลต (Capacity Requirement Planning)
ระบบ MRP ที่ได้วิวัฒนาการโดยรวมเอาความสามารถรับ feed back จากฝ่ายการผลิต
้และ CRP เข้าไปนี้ ต่อมาถูกเรียกว่า MRP แบบวงปิด (Closed Loop MRP) ใน
ขั้นตอนนี้ของวิวัฒนาการเราจะเห็นว่ามีการรวมเอางานการวางแผนการผลิต และการบริหาร
การผลิตเข้าเชื่อมโยงกัน จากที่ก่อนหน้านั้นทํางานแยกกันการผลตเขาเชอมโยงกน จากทกอนหนานนทางานแยกกน
Closed Loop MRP นี้ประสบความสําเร็จอย่างมากในอุตสาหกรรมการผลิตใน
ปั ั MRP  ี่ใ ้ใ ิ ิ ็ ื Cl d L  MRP  ี้ปจจุบัน MRP ทีใช้ในทุกธูรกิจการผลิตก็คือ Closed Loop MRP นีเอง
ERP101‐Chapter1 Tanapat Limsaiprom 8
ความเป็นมาของแนวคิด ERP
การพัฒนาไปสู่ MRP II
จากความสําเร็จของ Closed Loop MRP ก็เกิดการพัฒนาต่อยอดขึ้นเป็น MRP จากความสาเรจของ Closed Loop MRP กเกดการพฒนาตอยอดขนเปน MRP 
II ในยุคปี ค.ศ. 1980 (โดย MRP ใหม่นี้ย่อมาจาก Manufacturing Resource 
Planning) ซึ่งได้รวมการวางแผนและบริหารทรัพยากรการผลิตอื่นๆ นอกจากการ
ํ ั ิ ั ิ ิ ้ ไปใ ้วางแผนและควบคุมกําลังการผลิต และวัตถุดิบการผลิต เข้าไปในระบบด้วย
MRP II ได้วิวัฒนาการถึงขั้นที่รวมหน้าที่ต่างๆ ซึ่งประกอบด้วย การวางแผนงบการจัดซื้อๆ
วัตถุดิบ การวางแผนต้นทุนสินค้าคงคลังของระบบบริหารสินค้าคงคลัง การวางแผนกําลังคนที่
สัมพันธ์กับกําลังการผลิต ซึ่งเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับต้นทุนการผลิต เข้าอยู่ในระบบ MRP 
IIII
ERP101‐Chapter1 Tanapat Limsaiprom 9
ความเป็นมาของแนวคิด ERP
ด้วยความสามารถนี้ทําให้ MRP II เป็นระบบที่สามารถส่งข้อมูลทุกชนิด ที่ระบบ
บัญชีต้องการให้แก่ระบบบัญชีได้ นั่นคือ MRP II เป็นระบบที่รวมเอา Closed บญชตองการใหแกระบบบญชได นนคอ MRP II เปนระบบทรวมเอา Closed 
loop MRP , ระบบบัญชี และระบบซิมูเลชั่น เข้าด้วยกัน เป็นการขยายขอบเขต
ของสิ่งที่สามารถวางแผนและบริหารให้กว้างขวางออกไปยิ่งขึ้นกว่าเดิมของสงทสามารถวางแผนและบรหารใหกวางขวางออกไปยงขนกวาเดม
โดยการใช้ระบบ MRP II ธุรกิจการผลิตสามารถที่จะวางแผนและบริหารระบบงานุ
ต่างๆ คือ การขาย บัญชี บุคคล การผลิต และสินค้าคงคลัง เข้าด้วยกัน ได้อย่างบูรณา
การ ด้วยความสามารถนี้ทําให้ MRP II เริ่มถูกเรียกว่า BRP (=Business 
Resource Planning) และเริ่มเป็นแนวคิดหลักของระบบ CIM 
(=Computer Integrated Manufacturing)
ERP101‐Chapter1 Tanapat Limsaiprom 10
ความเป็นมาของแนวคิด ERP
จาก MRP II ไปเป็น ERP
MRP II เป็นแนวคิดที่ใช้ในอุตสาหกรรมการผลิต ERP ได้ขยายแนวคิดของ
MRP II ให้สามารถใช้ได้ทั้งองค์กรของธรกิจที่หลากหลาย โดยการรวมระบบงานMRP II ใหสามารถใชไดทงองคกรของธุรกจทหลากหลาย โดยการรวมระบบงาน
หลักทุกอย่างในองค์กรเข้ามาเป็นระบบเดียวกัน
นั่นคือ ERP เกิดขึ้นจากความต้องการที่จะสามารถตัดสินใจในด้านธุรกิจอย่างมี
ประสิทธิภาพ และแบบเรียลไทม์ โดยอาศัยข้อมูลทุกชนิดจากทุกระบบงานในองค์กรที่
ระบบนํามาบันทึกเก็บไว้ในฐานข้อมูลรวมเดียวกัน
ERP101‐Chapter1 Tanapat Limsaiprom 11
ความเป็นมาของแนวคิด ERP
การพัฒนาต่อจาก ERP
แนวคิด ERP เกิดจากการขยาย MRP II ซึ่งเป็นระบบที่ optimize ในส่วน
การผลิต ให้เป็นระบบที่ optimize ทั้งบริษัท ในปัจจบันมีการพัฒนา E‐การผลต ใหเปนระบบท optimize ทงบรษท ในปจจุบนมการพฒนา E
Business อย่างรวดเร็ว และทําให้ขอบเขตของการ optimize ต้องมองให้กว้าง
มากขึ้นไปกว่าเดิมเป็น global optimize นั่นหมายความว่า ERP ก็จะมีg p
วิวัฒนาการต่อไปอีก
ERP101‐Chapter1 Tanapat Limsaiprom 12
ERP
ERP ย่อมาจาก Enterprise Resource Planning หมายถึง การ
วางแผนทรัพยากรทางธรกิจขององค์กรโดยรวม เพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์วางแผนทรพยากรทางธุรกจขององคกรโดยรวม เพอใหเกดการใชประโยชน
อย่างสูงสุดของทรัพยากรทางธุรกิจขององค์กร ระบบ ERP เป็นระบบ
สารสนเทศขององค์กรที่นําแนวคิดและวิธีการบริหารของ ERP มาทําให้เกิดสารสนเทศขององคกรทนาแนวคดและวธการบรหารของ ERP มาทาใหเกด
เป็นระบบเชิงปฏิบัติในองค์กร ระบบ ERP สามารถบูรณาการ (integrate) 
รวมงานหลัก (core business process) ต่างๆ ในบริษัททั้งหมด ได้แก่รวมงานหลก (core business process) ตางๆ ในบรษททงหมด ไดแก
การจัดจ้าง การผลิต การขาย การบัญชี และการบริหารบุคคล เข้าด้วยกันเป็น
ระบบที่สัมพันธ์กันและสามารถเชื่อมโยงกันอย่าง real timeระบบทสมพนธกนและสามารถเชอมโยงกนอยาง real time
ERP101‐Chapter1 Tanapat Limsaiprom 13
ลักษณะสําคัญของระบบ ERPญ
1. การบูรณาการระบบงานต่างๆ ของระบบ ERP
จดเด่นของ ERP คือ การบรณาการร บบงานต่างๆ เข้าด้วยกัน ตั้งแต่การจุดเดนของ ERP คอ การบูรณาการระบบงานตางๆ เขาดวยกน ตงแตการ
จัดซื้อ จัดจ้าง การผลิต การขาย บัญชีการเงิน และการบริหารบุคคล ซึ่งแต่ละ
ส่วนงานจะมีความเชื่อมโยงในด้าน การไหลของวัตถดิบสินค้า (material สวนงานจะมความเชอมโยงในดาน การไหลของวตถุดบสนคา (material 
flow) และการไหลของข้อมูล (information flow) ERP ทําหน้าที่
เป็นระบบการจัดการข้อมล ซึ่งจะทําให้การบริหารจัดการงานในกิจกรรมเปนระบบการจดการขอมูล ซงจะทาใหการบรหารจดการงานในกจกรรม
ต่างๆ ที่เชื่อมโยงกันให้ผลลัพธ์ออกมาดีที่สุด พร้อมกับสามารถรับรู้สถานการณ์
และปัญหาของงานต่างๆ ได้ทันที ทําให้สามารถ ตัดสินใจแก้ปัญหาองค์กรได้และปญหาของงานตางๆ ไดทนท ทาใหสามารถ ตดสนใจแกปญหาองคกรได
อย่างรวดเร็ว
ERP101‐Chapter1 Tanapat Limsaiprom 14
ลักษณะสําคัญของระบบ ERP
2. รวมระบบงานแบบ real time ของระบบ ERP
การรวมระบบงานต่างๆ ของระบบ ERP จะเกิดขึ้นในเวลาจริง
(real time) อย่างทันที เมื่อมีการใช้ระบบ ERPช่วยให้สามารถทําการปิด
บัญชีได้ทุกวัน เป็นรายวัน คํานวณ ต้นทุนและกําไรขาดทุนของบริษัทเป็นุ ุ ุ
รายวัน
ERP101‐Chapter1 Tanapat Limsaiprom 15
ลักษณะสําคัญของระบบ ERPญ
3. ระบบ ERP มีฐานข้อมูล(database) แบบสมุดลงบัญชี
การที่ร บบ ERP สามารถรวมร บบงานต่าง ๆ เข้าเป็นร บบงานเดียวการทระบบ ERP สามารถรวมระบบงานตาง ๆ เขาเปนระบบงานเดยว
แบบ Real time ได้นั้น ก็เนื่องมาจากระบบ ERP มี database แบบ
สมดลงบัญชี ซึ่งมีจดเด่น คือ คณสมบัติของการเป็น 1 Fact 1 Place ซึ่งสมุดลงบญช ซงมจุดเดน คอ คุณสมบตของการเปน 1 Fact 1 Place ซง
ต่างจากระบบแบบเดิมที่มีลักษณะ 1 Fact Several Places ทําให้ระบบ
ซํ้าซ้อน ขาดประสิทธิภาพ เกิดความผิดพลาดและขัดแย้งของข้อมลได้ง่ายซาซอน ขาดประสทธภาพ เกดความผดพลาดและขดแยงของขอมูลไดงาย
ERP101‐Chapter1 Tanapat Limsaiprom 16
ขอบคุณครับ
ERP101‐Chapter1 Tanapat Limsaiprom 17

More Related Content

Similar to ERP101 Chapter 1

Business, erp and sap overview for acc
Business, erp and sap overview for accBusiness, erp and sap overview for acc
Business, erp and sap overview for accMayuree Srikulwong
 
Ddmrp 1(introduction to ddmrp)
Ddmrp 1(introduction to ddmrp)Ddmrp 1(introduction to ddmrp)
Ddmrp 1(introduction to ddmrp)Phiphop Lali
 
การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการskiats
 
Erp 4 xtreme
Erp 4 xtremeErp 4 xtreme
Erp 4 xtremebeginos1
 
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารบทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารPrakaywan Tumsangwan
 
Chapter 4 ERP and related technologies
Chapter 4 ERP and related technologiesChapter 4 ERP and related technologies
Chapter 4 ERP and related technologiesTeetut Tresirichod
 
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISsiriporn pongvinyoo
 

Similar to ERP101 Chapter 1 (20)

Chapter 3 benefits of erp
Chapter 3 benefits of erpChapter 3 benefits of erp
Chapter 3 benefits of erp
 
Business, erp and sap overview for acc
Business, erp and sap overview for accBusiness, erp and sap overview for acc
Business, erp and sap overview for acc
 
ERP101 Chapter 8
ERP101 Chapter 8ERP101 Chapter 8
ERP101 Chapter 8
 
Ddmrp 1(introduction to ddmrp)
Ddmrp 1(introduction to ddmrp)Ddmrp 1(introduction to ddmrp)
Ddmrp 1(introduction to ddmrp)
 
ERP101 Chapter 6
ERP101 Chapter 6ERP101 Chapter 6
ERP101 Chapter 6
 
Erp present
Erp presentErp present
Erp present
 
Erp present
Erp presentErp present
Erp present
 
ERP101 Chapter 11
ERP101 Chapter 11ERP101 Chapter 11
ERP101 Chapter 11
 
Sallai pro
Sallai proSallai pro
Sallai pro
 
ERP 101 Chapter 12
ERP 101 Chapter 12ERP 101 Chapter 12
ERP 101 Chapter 12
 
Project Sky
Project SkyProject Sky
Project Sky
 
E R P7 How
E R P7 HowE R P7 How
E R P7 How
 
การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการ
 
Erp 4 xtreme
Erp 4 xtremeErp 4 xtreme
Erp 4 xtreme
 
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารบทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
 
Information technology in modern logistics and supply chain management
Information technology in modern logistics and supply chain managementInformation technology in modern logistics and supply chain management
Information technology in modern logistics and supply chain management
 
หลักสูตรฝึกอบรม ERP
หลักสูตรฝึกอบรม ERPหลักสูตรฝึกอบรม ERP
หลักสูตรฝึกอบรม ERP
 
Chapter 4 ERP and related technologies
Chapter 4 ERP and related technologiesChapter 4 ERP and related technologies
Chapter 4 ERP and related technologies
 
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
 
Mi sch5
Mi sch5Mi sch5
Mi sch5
 

More from Tanapat Limsaiprom

Google UX Design , Tanapat Limsaiprom
Google UX  Design ,    Tanapat LimsaipromGoogle UX  Design ,    Tanapat Limsaiprom
Google UX Design , Tanapat LimsaipromTanapat Limsaiprom
 
Project Management , tanapat limsaiprom
Project Management  , tanapat limsaipromProject Management  , tanapat limsaiprom
Project Management , tanapat limsaipromTanapat Limsaiprom
 
Google Digital Marketing, Tanapat Limsaiprom
Google Digital Marketing, Tanapat LimsaipromGoogle Digital Marketing, Tanapat Limsaiprom
Google Digital Marketing, Tanapat LimsaipromTanapat Limsaiprom
 
Google Data Analytics, Tanapat Limsaiprom
Google Data Analytics, Tanapat LimsaipromGoogle Data Analytics, Tanapat Limsaiprom
Google Data Analytics, Tanapat LimsaipromTanapat Limsaiprom
 
Google Cybersecurity, Tanapat Limsaiprom
Google Cybersecurity, Tanapat LimsaipromGoogle Cybersecurity, Tanapat Limsaiprom
Google Cybersecurity, Tanapat LimsaipromTanapat Limsaiprom
 
Advance-data-analytics , Tanapat Limsaiprom
Advance-data-analytics , Tanapat LimsaipromAdvance-data-analytics , Tanapat Limsaiprom
Advance-data-analytics , Tanapat LimsaipromTanapat Limsaiprom
 
Organ Donation : From Death to Life , tanapat limsaiprom
Organ Donation : From  Death to Life , tanapat limsaipromOrgan Donation : From  Death to Life , tanapat limsaiprom
Organ Donation : From Death to Life , tanapat limsaipromTanapat Limsaiprom
 
Clinical Kidney, Pancreas and Islet Transplantation
Clinical Kidney, Pancreas and Islet TransplantationClinical Kidney, Pancreas and Islet Transplantation
Clinical Kidney, Pancreas and Islet TransplantationTanapat Limsaiprom
 
CompTIA CASP+ Train the Trainer Programe
CompTIA CASP+ Train the Trainer ProgrameCompTIA CASP+ Train the Trainer Programe
CompTIA CASP+ Train the Trainer ProgrameTanapat Limsaiprom
 
Microsoft Certificate - Tanapat
Microsoft Certificate - TanapatMicrosoft Certificate - Tanapat
Microsoft Certificate - TanapatTanapat Limsaiprom
 
Data science certificate - tanapat
Data science certificate - tanapatData science certificate - tanapat
Data science certificate - tanapatTanapat Limsaiprom
 
Tanapat Certificate From MS educator center
Tanapat Certificate From MS educator centerTanapat Certificate From MS educator center
Tanapat Certificate From MS educator centerTanapat Limsaiprom
 
Tanapat Data Science Certificate
Tanapat Data Science Certificate Tanapat Data Science Certificate
Tanapat Data Science Certificate Tanapat Limsaiprom
 

More from Tanapat Limsaiprom (20)

Google UX Design , Tanapat Limsaiprom
Google UX  Design ,    Tanapat LimsaipromGoogle UX  Design ,    Tanapat Limsaiprom
Google UX Design , Tanapat Limsaiprom
 
Project Management , tanapat limsaiprom
Project Management  , tanapat limsaipromProject Management  , tanapat limsaiprom
Project Management , tanapat limsaiprom
 
Google Digital Marketing, Tanapat Limsaiprom
Google Digital Marketing, Tanapat LimsaipromGoogle Digital Marketing, Tanapat Limsaiprom
Google Digital Marketing, Tanapat Limsaiprom
 
Google Data Analytics, Tanapat Limsaiprom
Google Data Analytics, Tanapat LimsaipromGoogle Data Analytics, Tanapat Limsaiprom
Google Data Analytics, Tanapat Limsaiprom
 
Google Cybersecurity, Tanapat Limsaiprom
Google Cybersecurity, Tanapat LimsaipromGoogle Cybersecurity, Tanapat Limsaiprom
Google Cybersecurity, Tanapat Limsaiprom
 
Advance-data-analytics , Tanapat Limsaiprom
Advance-data-analytics , Tanapat LimsaipromAdvance-data-analytics , Tanapat Limsaiprom
Advance-data-analytics , Tanapat Limsaiprom
 
Organ Donation : From Death to Life , tanapat limsaiprom
Organ Donation : From  Death to Life , tanapat limsaipromOrgan Donation : From  Death to Life , tanapat limsaiprom
Organ Donation : From Death to Life , tanapat limsaiprom
 
Clinical Kidney, Pancreas and Islet Transplantation
Clinical Kidney, Pancreas and Islet TransplantationClinical Kidney, Pancreas and Islet Transplantation
Clinical Kidney, Pancreas and Islet Transplantation
 
CompTIA-Security_Plus
CompTIA-Security_PlusCompTIA-Security_Plus
CompTIA-Security_Plus
 
CompTIA-Server_Plus
CompTIA-Server_PlusCompTIA-Server_Plus
CompTIA-Server_Plus
 
Com tia pentest-plus
Com tia pentest-plusCom tia pentest-plus
Com tia pentest-plus
 
ComTIA CASP+
ComTIA  CASP+ComTIA  CASP+
ComTIA CASP+
 
ComTIA CySA+
ComTIA CySA+ComTIA CySA+
ComTIA CySA+
 
CompTIA CASP+ Train the Trainer Programe
CompTIA CASP+ Train the Trainer ProgrameCompTIA CASP+ Train the Trainer Programe
CompTIA CASP+ Train the Trainer Programe
 
Tanapat DataCamp Certificate
Tanapat DataCamp CertificateTanapat DataCamp Certificate
Tanapat DataCamp Certificate
 
Microsoft Certificate - Tanapat
Microsoft Certificate - TanapatMicrosoft Certificate - Tanapat
Microsoft Certificate - Tanapat
 
Data science certificate - tanapat
Data science certificate - tanapatData science certificate - tanapat
Data science certificate - tanapat
 
Tanapat Certificate From MS educator center
Tanapat Certificate From MS educator centerTanapat Certificate From MS educator center
Tanapat Certificate From MS educator center
 
Tanapat sap certificate
Tanapat sap certificate Tanapat sap certificate
Tanapat sap certificate
 
Tanapat Data Science Certificate
Tanapat Data Science Certificate Tanapat Data Science Certificate
Tanapat Data Science Certificate
 

ERP101 Chapter 1

  • 1. Tanapat Limsaipromp p ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม ERP101‐Chapter1 Tanapat Limsaiprom 1
  • 2. โ ส ้ ERPโครงสรางของ ERP ERP101‐Chapter1 Tanapat Limsaiprom 2
  • 3. โครงสร้างของ ERPโครงสรางของ ERP โครงสร้างของ ERP แบ่งออกเป็น 5 กลุ่มคือ Material Resource Planning (MRP) หมายถึง ระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการจัดทําแผนความต้องการวัสดุ โดยมี องค์ประกอบของข้อมูลนําเข้าที่สําคัญ 3 รายการคือ ตารางการผลิตหลัก แฟ้ มข้อมูลบัญชีรายการวัสดุ (Bill of Material File)  และ แฟ้ มข้อมูลสถานะคงคลัง (Inventory Status File) Customer Resource Management (CRM) หมายถึง ระบบสารสนเทศเพื่อบริหารความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรและ ลูกค้า เพื่อให้เป็นความสัมพันธ์ระยะยาว โดยระบบนี้จะศึกษาพฤติกรรมการซื้อของลูกค้า ความสนใจ ความต้องการ เพื่อให้องค์กรนํา ข้อมูลเหล่านั้นมาวิเคราะห์และนําสินค้าเสนอต่อลูกค้าให้ใกล้เคียงกับที่ลูกค้าสนใจ และการบริการหลังการขายแก่ลูกค้า ลดการสูญเสีย ลูกค้า ลดต้นทุนการตลาด เพิ่มรายได้จากการที่ลูกค้าซื้อและแนะนําให้คนรู้จักซื้นสินค้าขององค์กรู ุ ู ู Finance Resource Management (FRM) หมายถึง ระบบสารสนเทศที่เน้นให้บริการเกี่ยวกับการเงินและบัญชี โดยอิง ตามกฏระเบียบและข้อบังคับตามที่ประเทศนั้นๆ กําหนด FRM ถือเป็นส่วนประกอบหลักของโครงสร้าง ERP ทั้งหมด โดยผลลัพธ์จาก การประมวลผลของ FRM มักจะออกมาในรปแบบรายงาน ทั้งรายงานสําหรับระดับปฏิบัติการ รายงานสําหรับผ้บริหาร และรายงานการประมวลผลของ FRM มกจะออกมาในรูปแบบรายงาน ทงรายงานสาหรบระดบปฏบตการ รายงานสาหรบผูบรหาร และรายงาน สําหรับหน่วยงานภายนอก เช่น กรมบัญชีกลาง กรมสรรพากร เป็นต้น Human Resource Management (HRM) หมายถึงระบบสารสนเทศเพื่อการบริการงานทางบุคคล จัดประกอบด้วย ข้อมลพื้นฐานของพนักงานในองค์กร ข้อมลพื้นฐานของโครงสร้างองค์กร การประมวลผลเกี่ยวกับเงินเดือน เป็นต้นขอมูลพนฐานของพนกงานในองคกร ขอมูลพนฐานของโครงสรางองคกร การประมวลผลเกยวกบเงนเดอน เปนตน Supply Chain Management (SCM) หมายถึง ระบบสารสนเทศเพื่อจัดการกระบวนการไหลของวัสดุ สินค้าตลอดจน ข้อมูลและธุรกรรมต่างๆ ผ่านองค์กรที่เป็นผู้ส่งมอบ ผู้จัดจําหน่าย ไปจนถึงลูกค้า โดยที่องค์กรต่างๆ มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจต่อกัน ERP101‐Chapter1 Tanapat Limsaiprom 3
  • 4. คณสมบัติของ ERP ที่สําคัญคุณสมบตของ ERP ทสาคญ ควรมีความยืดหยุ่น (Flexible) ควรมีความยืดหยุ่น รองรับองค์กร หากมีการปรับเปลี่ยนในอนาคตได้ อีกทั้งการเก็บข้อมูลควรใช้ฐานข้อมูลกลางเดียวกัน เพื่อให้สามารถบูรณาการข้อมูลได้ โมดูลควรอิสระจากกัน (Modular) ประกอบด้วยหลายฟังก์ชันการทํางาน หรือหลายโมดูลดังนั้นควรมี ํ ี่ ่ ั ่ ั ิ ่ ั ื่ ป้ ั ป ี่ ป ไ ้ไ ่ ั โการทํางานทีแตกต่างกันอย่างชัดเจน และอิสระต่อกัน เพือป้ องกันการเปลียนแปลงจะได้ไม่กระทบกับโมดูล อื่นๆ และต้องรองรับการทํางานได้หลากหลายแพลตฟอร์ม (Platform) ครอบคลุม (Comprehensive) สามารถรองรับการทํางานได้หลากหลายฟังก์ชัน เนื่องจากแต่ละ องค์กรมีลักษณะการทํางานที่แตกต่างกัน ดังนั้นต้องหลากหลายและครอบคลมองคกรมลกษณะการทางานทแตกตางกน ดงนนตองหลากหลายและครอบคลุม นอกเหนือจากองค์กร (Beyond the Company) สามารถเชื่อมต่อกับระบบสารสนเทศอื่นๆ ของ องค์กรได้ ไม่จํากัดเพียง ERP เท่านั้น Belong to the Best Business Practices มีกระบวนการทํางานที่เป็นมาตรฐาน โดยนําg ฐ กิจกรรมหรือกระบวนการทํางานที่จัดว่าเป็นสิ่งที่ดีที่องค์กรพึ่งมีไว้ในระบบ หากแต่องค์กรสามารถปรับแต่ง ได้ตามความเหมาะสมกับองค์กรนั้นๆ ERP101‐Chapter1 Tanapat Limsaiprom 4
  • 5. ความเป็นมาของแนวคิด ERPความเปนมาของแนวคด ERP ่ ่แนวคิด ERP เริ่มในยุคปี ค.ศ. 1990 ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา จุดกําเนิด เริ่มแรกของ ERP มาจากแนวคิดของการพัฒนาระบบการบริหารการผลิตรวม (Material Requirement Resource Planning / (Material Requirement Resource Planning /  Manufacturing Resource Planning, MRP System)  ของอุตสาหกรรมการผลิตในอเมริกา โดยคําว่า ERP และแนวคิดของ ERP  ้ ่ ุ นั้นก็พัฒนามาจาก MRP นั่นเอง ในที่นี้จะทําการอธิบาย ความเป็นมาของ MRP โดยย่อว่ามีความเป็นมาในทนจะทาการอธบาย ความเปนมาของ MRP โดยยอวามความเปนมา อย่างไร และทําไมจึงพัฒนามาเป็น ERP ได้ ซึ่งจะช่วยให้สามารถเข้าใจ ความหมายของ ERP ได้ดียิ่งขึ้นและตัวแนวคิด ERP เองก็ยังมีวิวัฒนาการ อยู่ จาก ERP ก็จะเป็น Extended ERP และจะพัฒนาไปเป็น Next  Generation ERP ต่อไปในอนาคต ERP101‐Chapter1 Tanapat Limsaiprom 5
  • 7. ความเป็นมาของแนวคิด ERP แนวคิดMRPเกิดขึ้นครั้งแรกที่อเมริกาในยุคต้นของ ทศวรรษ 1960 ในช่วงแรก MRP ย่อมาจาก Material Requirement Planning (การวางแผนความต้องการวัสดุ) เป็นวิธีการในการุ หาชนิดและจํานวนวัสดุที่ต้องใช้ในการผลิตตามตารางเวลาและจํานวนสินค้าที่ได้วางแผนโดย MPS  (Master Production Schedule) วิธี MRP เป็นเทคนิคในการจัดการ ที่สามารถหารายการวัสดุที่ต้องใช้ในการผลิตสินค้าสําเร็จรูป ตามแผนการผลิตหลักที่ได้วางไว้ โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย สามารถสร้างใบรายการ วัสด (bill of material)ได้อย่างรวดเร็ว และสามารถบอกชนิดของวัสด จํานวนที่ต้องการ และวสดุ (bill of material)ไดอยางรวดเรว และสามารถบอกชนดของวสดุ จานวนทตองการ และ เวลาที่ต้องการได้อย่างแม่นยํา แต่วิธี MRP นี้ไม่มีความสามารถในการตรวจสอบหาข้อแตกต่างระหว่างแผนการผลิตกับสภาพการแตวธ MRP นไมมความสามารถในการตรวจสอบหาขอแตกตางระหวางแผนการผลตกบสภาพการ ผลิตจริงที่ shop floor เนื่องจากไม่มีฟังก์ชั่นเกี่ยวกับการป้อนกลับข้อมูลกลับมาปรับแผนใหม่ อย่างไรก็ตาม วิธี MRP ก็ยังดีกว่าวิธีการควบคุมสินค้าคงคลังแบบเดิม ช่วยให้สามารถลดจํานวน วัสดคงคลัง แล ยกปร สิทธิภาพการวางแผนการผลิตแล การสั่งซื้อวัตถดิบได้เป็นอย่างดีวสดุคงคลง และยกประสทธภาพการวางแผนการผลตและการสงซอวตถุดบไดเปนอยางด ERP101‐Chapter1 Tanapat Limsaiprom 7
  • 8. ความเป็นมาของแนวคิด ERP Closed Loop MRP ย่างเข้ายุคปี ค.ศ. 1970 MRP ได้รับการพัฒนาให้มีความสามารถในการป้อนกลับข้อมูลการ ผลิตจริงใน shop floor นอกจากนั้นยังเพิ่มแนวคิดเรื่อง การวางแผนความต้องการกําลัง การผลิต (Capacity Requirement Planning)การผลต (Capacity Requirement Planning) ระบบ MRP ที่ได้วิวัฒนาการโดยรวมเอาความสามารถรับ feed back จากฝ่ายการผลิต ้และ CRP เข้าไปนี้ ต่อมาถูกเรียกว่า MRP แบบวงปิด (Closed Loop MRP) ใน ขั้นตอนนี้ของวิวัฒนาการเราจะเห็นว่ามีการรวมเอางานการวางแผนการผลิต และการบริหาร การผลิตเข้าเชื่อมโยงกัน จากที่ก่อนหน้านั้นทํางานแยกกันการผลตเขาเชอมโยงกน จากทกอนหนานนทางานแยกกน Closed Loop MRP นี้ประสบความสําเร็จอย่างมากในอุตสาหกรรมการผลิตใน ปั ั MRP  ี่ใ ้ใ ิ ิ ็ ื Cl d L  MRP  ี้ปจจุบัน MRP ทีใช้ในทุกธูรกิจการผลิตก็คือ Closed Loop MRP นีเอง ERP101‐Chapter1 Tanapat Limsaiprom 8
  • 9. ความเป็นมาของแนวคิด ERP การพัฒนาไปสู่ MRP II จากความสําเร็จของ Closed Loop MRP ก็เกิดการพัฒนาต่อยอดขึ้นเป็น MRP จากความสาเรจของ Closed Loop MRP กเกดการพฒนาตอยอดขนเปน MRP  II ในยุคปี ค.ศ. 1980 (โดย MRP ใหม่นี้ย่อมาจาก Manufacturing Resource  Planning) ซึ่งได้รวมการวางแผนและบริหารทรัพยากรการผลิตอื่นๆ นอกจากการ ํ ั ิ ั ิ ิ ้ ไปใ ้วางแผนและควบคุมกําลังการผลิต และวัตถุดิบการผลิต เข้าไปในระบบด้วย MRP II ได้วิวัฒนาการถึงขั้นที่รวมหน้าที่ต่างๆ ซึ่งประกอบด้วย การวางแผนงบการจัดซื้อๆ วัตถุดิบ การวางแผนต้นทุนสินค้าคงคลังของระบบบริหารสินค้าคงคลัง การวางแผนกําลังคนที่ สัมพันธ์กับกําลังการผลิต ซึ่งเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับต้นทุนการผลิต เข้าอยู่ในระบบ MRP  IIII ERP101‐Chapter1 Tanapat Limsaiprom 9
  • 10. ความเป็นมาของแนวคิด ERP ด้วยความสามารถนี้ทําให้ MRP II เป็นระบบที่สามารถส่งข้อมูลทุกชนิด ที่ระบบ บัญชีต้องการให้แก่ระบบบัญชีได้ นั่นคือ MRP II เป็นระบบที่รวมเอา Closed บญชตองการใหแกระบบบญชได นนคอ MRP II เปนระบบทรวมเอา Closed  loop MRP , ระบบบัญชี และระบบซิมูเลชั่น เข้าด้วยกัน เป็นการขยายขอบเขต ของสิ่งที่สามารถวางแผนและบริหารให้กว้างขวางออกไปยิ่งขึ้นกว่าเดิมของสงทสามารถวางแผนและบรหารใหกวางขวางออกไปยงขนกวาเดม โดยการใช้ระบบ MRP II ธุรกิจการผลิตสามารถที่จะวางแผนและบริหารระบบงานุ ต่างๆ คือ การขาย บัญชี บุคคล การผลิต และสินค้าคงคลัง เข้าด้วยกัน ได้อย่างบูรณา การ ด้วยความสามารถนี้ทําให้ MRP II เริ่มถูกเรียกว่า BRP (=Business  Resource Planning) และเริ่มเป็นแนวคิดหลักของระบบ CIM  (=Computer Integrated Manufacturing) ERP101‐Chapter1 Tanapat Limsaiprom 10
  • 11. ความเป็นมาของแนวคิด ERP จาก MRP II ไปเป็น ERP MRP II เป็นแนวคิดที่ใช้ในอุตสาหกรรมการผลิต ERP ได้ขยายแนวคิดของ MRP II ให้สามารถใช้ได้ทั้งองค์กรของธรกิจที่หลากหลาย โดยการรวมระบบงานMRP II ใหสามารถใชไดทงองคกรของธุรกจทหลากหลาย โดยการรวมระบบงาน หลักทุกอย่างในองค์กรเข้ามาเป็นระบบเดียวกัน นั่นคือ ERP เกิดขึ้นจากความต้องการที่จะสามารถตัดสินใจในด้านธุรกิจอย่างมี ประสิทธิภาพ และแบบเรียลไทม์ โดยอาศัยข้อมูลทุกชนิดจากทุกระบบงานในองค์กรที่ ระบบนํามาบันทึกเก็บไว้ในฐานข้อมูลรวมเดียวกัน ERP101‐Chapter1 Tanapat Limsaiprom 11
  • 12. ความเป็นมาของแนวคิด ERP การพัฒนาต่อจาก ERP แนวคิด ERP เกิดจากการขยาย MRP II ซึ่งเป็นระบบที่ optimize ในส่วน การผลิต ให้เป็นระบบที่ optimize ทั้งบริษัท ในปัจจบันมีการพัฒนา E‐การผลต ใหเปนระบบท optimize ทงบรษท ในปจจุบนมการพฒนา E Business อย่างรวดเร็ว และทําให้ขอบเขตของการ optimize ต้องมองให้กว้าง มากขึ้นไปกว่าเดิมเป็น global optimize นั่นหมายความว่า ERP ก็จะมีg p วิวัฒนาการต่อไปอีก ERP101‐Chapter1 Tanapat Limsaiprom 12
  • 13. ERP ERP ย่อมาจาก Enterprise Resource Planning หมายถึง การ วางแผนทรัพยากรทางธรกิจขององค์กรโดยรวม เพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์วางแผนทรพยากรทางธุรกจขององคกรโดยรวม เพอใหเกดการใชประโยชน อย่างสูงสุดของทรัพยากรทางธุรกิจขององค์กร ระบบ ERP เป็นระบบ สารสนเทศขององค์กรที่นําแนวคิดและวิธีการบริหารของ ERP มาทําให้เกิดสารสนเทศขององคกรทนาแนวคดและวธการบรหารของ ERP มาทาใหเกด เป็นระบบเชิงปฏิบัติในองค์กร ระบบ ERP สามารถบูรณาการ (integrate)  รวมงานหลัก (core business process) ต่างๆ ในบริษัททั้งหมด ได้แก่รวมงานหลก (core business process) ตางๆ ในบรษททงหมด ไดแก การจัดจ้าง การผลิต การขาย การบัญชี และการบริหารบุคคล เข้าด้วยกันเป็น ระบบที่สัมพันธ์กันและสามารถเชื่อมโยงกันอย่าง real timeระบบทสมพนธกนและสามารถเชอมโยงกนอยาง real time ERP101‐Chapter1 Tanapat Limsaiprom 13
  • 14. ลักษณะสําคัญของระบบ ERPญ 1. การบูรณาการระบบงานต่างๆ ของระบบ ERP จดเด่นของ ERP คือ การบรณาการร บบงานต่างๆ เข้าด้วยกัน ตั้งแต่การจุดเดนของ ERP คอ การบูรณาการระบบงานตางๆ เขาดวยกน ตงแตการ จัดซื้อ จัดจ้าง การผลิต การขาย บัญชีการเงิน และการบริหารบุคคล ซึ่งแต่ละ ส่วนงานจะมีความเชื่อมโยงในด้าน การไหลของวัตถดิบสินค้า (material สวนงานจะมความเชอมโยงในดาน การไหลของวตถุดบสนคา (material  flow) และการไหลของข้อมูล (information flow) ERP ทําหน้าที่ เป็นระบบการจัดการข้อมล ซึ่งจะทําให้การบริหารจัดการงานในกิจกรรมเปนระบบการจดการขอมูล ซงจะทาใหการบรหารจดการงานในกจกรรม ต่างๆ ที่เชื่อมโยงกันให้ผลลัพธ์ออกมาดีที่สุด พร้อมกับสามารถรับรู้สถานการณ์ และปัญหาของงานต่างๆ ได้ทันที ทําให้สามารถ ตัดสินใจแก้ปัญหาองค์กรได้และปญหาของงานตางๆ ไดทนท ทาใหสามารถ ตดสนใจแกปญหาองคกรได อย่างรวดเร็ว ERP101‐Chapter1 Tanapat Limsaiprom 14
  • 15. ลักษณะสําคัญของระบบ ERP 2. รวมระบบงานแบบ real time ของระบบ ERP การรวมระบบงานต่างๆ ของระบบ ERP จะเกิดขึ้นในเวลาจริง (real time) อย่างทันที เมื่อมีการใช้ระบบ ERPช่วยให้สามารถทําการปิด บัญชีได้ทุกวัน เป็นรายวัน คํานวณ ต้นทุนและกําไรขาดทุนของบริษัทเป็นุ ุ ุ รายวัน ERP101‐Chapter1 Tanapat Limsaiprom 15
  • 16. ลักษณะสําคัญของระบบ ERPญ 3. ระบบ ERP มีฐานข้อมูล(database) แบบสมุดลงบัญชี การที่ร บบ ERP สามารถรวมร บบงานต่าง ๆ เข้าเป็นร บบงานเดียวการทระบบ ERP สามารถรวมระบบงานตาง ๆ เขาเปนระบบงานเดยว แบบ Real time ได้นั้น ก็เนื่องมาจากระบบ ERP มี database แบบ สมดลงบัญชี ซึ่งมีจดเด่น คือ คณสมบัติของการเป็น 1 Fact 1 Place ซึ่งสมุดลงบญช ซงมจุดเดน คอ คุณสมบตของการเปน 1 Fact 1 Place ซง ต่างจากระบบแบบเดิมที่มีลักษณะ 1 Fact Several Places ทําให้ระบบ ซํ้าซ้อน ขาดประสิทธิภาพ เกิดความผิดพลาดและขัดแย้งของข้อมลได้ง่ายซาซอน ขาดประสทธภาพ เกดความผดพลาดและขดแยงของขอมูลไดงาย ERP101‐Chapter1 Tanapat Limsaiprom 16