SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
Download to read offline
ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
Tanapat Limsaiprom
1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
บทบาทของระบบสารสนเทศกับการจัดการธุรกิจสมัยใหม่
Chapter 2 Foundation Concepts ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
What is an Information System?
 IS can be organized combination of People,
Hardware, Software, Communication
Networks and Data Resources that stores and
retrieves, transforms and disseminates
information in an organization.
ระบบสารสนเทศ คือการรวบรวม ผสมผสาน ระหว่าง คน
ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ เครือข่ายการสื่อสาร และทรัพยากร
ข้อมูลซึ่งมีการจัดเก็บ และการเรียกออกมาใช้งาน
การถ่ายโอน และการเผยแพร่สารสนเทศในองค์กร
2Chapter 2 Foundation Concepts ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
3
ข้อมูล = ข้อเท็จจริงที่สังเกตได้จากรายการทางธุรกิจ (Business Transactions)
การวัดคุณลักษณะของบุคคล,สถานที่,สิ่งของ,เหตุการณ์
สารสนเทศ = ข้อมูลที่ถูกประมวลผลให้มีความหมาย,มีมูลค่าเพิ่ม เพื่อให้
เกิดประโยชน์ต่อผู้ใช้ระบบ โดย
1.รูปแบบข้อมูลถูกรวบรวม,ปรับเปลี่ยน+จัดให้เป็นระบบ
2.เนื้อหาของข้อมูลถูกวิเคราะห์+ประเมินผล
3.ข้อมูลถูกจัดให้เป็นข้อความที่เหมาะสมเพื่อการใช้งาน
Data VS. Information (ข้อมูลกับสารสนเทศ)
Chapter 2 Foundation Concepts ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
4
DATA (ข้อมูล)
ความหมายของข้อมูล
 ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับวัตถุสิ่งของ
คน สัตว์ การกระทา/พฤติกรรม เหตุการณ์ กิจกรรม และ
ธุรกรรม
 เป็นสิ่งที่มีความหมายไม่สมบูรณ์ ไม่สามารถตีความได้และ
ยังไม่สามารถนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ทันที
 ข้อมูลอาจอยู่ในรูปแบบ ตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ หรือเสียง
ซึ่งข้อมูลอาจถูกเก็บไว้ในฐานข้อมูล แฟ้มข้อมูล กระดาษ เทป
ซีดี หรือความจาของมนุษย์
ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
Chapter 2 Foundation Concepts
ตัวอย่างของข้อมูล
 จานวนนักศึกษาชั้นปีที่ 1
 คะแนนสอบวิชาภาษาอังกฤษของนักศึกษา
 ที่อยู่ปัจจุบันของนักศึกษา
 ระเบียบการใช้ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
5ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหมChapter 2 Foundation Concepts
ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
6
สารสนเทศ
การประมวลผลข้อมูลเพื่อให้กลายเป็นสารสนเทศนั้นมีหลายวิธี คือ
 การจัดกลุ่มข้อมูล (Grouping)
 การจัดเรียงข้อมูล (Sorting)
 การสรุปผลข้อมูล (Summarizing)
 การออกรายงาน (Reporting)
Chapter 2 Foundation Concepts
ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
7
สารสนเทศ
ตัวอย่างของสารสนเทศ
 ผลการเรียนเฉลี่ยของนิสิต (GPA)
 รายงานสรุปเวลาทางานของพนักงานในหนึ่งเดือน
 รายงานสรุปยอดขายรายไตรมาส
 รายงานจัดอันดับสินค้าขายดี
Chapter 2 Foundation Concepts
ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
8
สารสนเทศ
กระบวนการประมวลผลเพื่อให้ได้สารสนเทศ
INPUT PROCESS OUTPUT
STORAGE
ข้อมูลดิบ สารสนเทศ
Chapter 2 Foundation Concepts
ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
9
คุณลักษณะสารสนเทศ
คุณลักษณะของสารสนเทศ
◦ ตรงกับความต้องการ (relevant)
◦ ทันต่อเวลา (timely)
◦ ความถูกต้อง (accurate)
◦ ความสมบูรณ์ (complete)
◦ ตรวจสอบได้(verifiable)
◦ เชื่อถือได้(reliable)
◦ เข้าถึงได้ง่าย (accessible)
◦ คุ้มค่าหรือคุ้มราคา (economical)
◦ มีความยืดหยุ่น (flexible)
◦ เข้าใจง่าย (Simple)
◦ ปลอดภัย (Secure)
Chapter 2 Foundation Concepts
ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม 10
- สอดคล้องกับความต้องการ (Relevant)
สารสนเทศที่มีคุณภาพจะต้องมีความสอดคล้องตามวัตถุประสงค์และ สนองความ
ต้องการของผู้ใช้เพื่อการตัดสินใจ
- ทันต่อเวลา (Timely)
สารสนเทศที่ดีนอกจากจะมีความถูกต้องแล้ว ข้อมูลต้องทันสมัยและ
รวดเร็วทันต่อเวลาและความต้องการของผู้ใช้ในการตัดสินใจ
คุณลักษณะสารสนเทศ
Chapter 2 Foundation Concepts
- ถูกต้องแม่นยา (Accurate)
สารสนเทศที่มีความถูกต้อง จะต้องปราศจากข้อผิดพลาดใดๆ
ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม 11
- สมบูรณ์ครบถ้วน (Complete)
สารสนเทศที่มีความสมบูรณ์จะต้องประกอบด้วยข้อเท็จจริงที่สาคัญอย่างครบถ้วน
คุณลักษณะสารสนเทศ
Chapter 2 Foundation Concepts
-ตรวจสอบได้ (Verifiable)
สารสนเทศจะต้องตรวจสอบความถูกต้องได้
-เชื่อถือได้ (Reliable)
สารสนเทศที่เชื่อได้ขึ้นอยู่กับความน่าเชื่อถือของวิธีการรวบรวมข้อมูลที่นาเข้าสู่
ระบบ
ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม 12
- สะดวกในการเข้าถึง (Accessible)
สารสนเทศจะต้องง่ายและสะดวกต่อการเข้าถึงข้อมูลตามระดับสิทธิของผู้ใช้
- คุ้มราคา (Economical)
สารสนเทศที่ผลิตควรจะต้องมีความประหยัด เหมาะสมคุ้มค่ากับราคา
คุณลักษณะสารสนเทศ
Chapter 2 Foundation Concepts
- มีความยืดหยุ่น (Flexible)
สารสนเทศที่มีคุณภาพนั้นควรจะสามารถนาไปใช้ได้ใน วัตถุประสงค์ที่แตกต่าง
กันหลายๆ ด้าน
ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม 13
- เข้าใจง่าย (Simple) สารสนเทศที่มีคุณภาพจะต้องเข้าใจง่าย ไม่
ซ้าซ้อนต่อการทาความเข้าใจ
คุณลักษณะสารสนเทศ
Chapter 2 Foundation Concepts
- ปลอดภัย (Secure)
สารสนเทศจะต้องถูกออกแบบและจัดการให้มีความปลอดภัยจากผู้
ที่ไม่มีสิทธิในการเข้าถึงข้อมูลหรือสารสนเทศนั้น
ลักษณะสารสนเทศที่ดี
เนื้อหา (Content)
ความสมบูรณ์ครอบคลุม (completeness)
ความสัมพันธ์กับเรื่อง (relevance)
ความถูกต้อง (accuracy)
ความเชื่อถือได้(reliability)
การตรวจสอบได้(verifiability)
ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม 14Chapter 2 Foundation Concepts
ลักษณะสารสนเทศที่ดี (ต่อ)
รูปแบบ (Format)
ชัดเจน (clarity)
ระดับรายละเอียด (level of detail)
รูปแบบการนาเสนอ (presentation)
สื่อการนาเสนอ (media)
ความยืดหยุ่น (flexibility)
ประหยัด (economy)
ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม 15Chapter 2 Foundation Concepts
ลักษณะสารสนเทศที่ดี (ต่อ)
เวลา (Time)
ความรวดเร็วและทันใช้ (timely)
การปรับปรุงให้ทันสมัย (up-to-date)
มีระยะเวลา (time period)
ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม 16Chapter 2 Foundation Concepts
ลักษณะสารสนเทศที่ดี (ต่อ)
กระบวนการ (Process)
ความสามารถในการเข้าถึง (accessibility)
การมีส่วนร่วม (participation)
การเชื่อมโยง (connectivity)
ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม 17Chapter 2 Foundation Concepts
ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
18
ความสาคัญของสารสนเทศ
ความสาคัญของสารสนเทศ
 ต่อบุคคล
 มนุษย์ใช้สมอง + สารสนเทศ ต่อสู้กับธรรมชาติ ทาให้ชีวิตสะดวกสบายขึ้น เช่น ...
 ช่วยพัฒนาอาชีพ แก้ไขปัญหาต่างๆ เช่น ...
 ได้เรียนรู้สิ่งที่ตนเองสนใจ สร้างความสุขและความเจริญทางจิตใจ เช่น ...
Chapter 2 Foundation Concepts
ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
19
ความสาคัญของสารสนเทศ
ความสาคัญของสารสนเทศ
 ต่อสังคม
 เป็นแหล่งความรู้ใหม่ๆ ทางเทคนิค และวิธีการใหม่ๆ ที่จะนามาช่วยในการ
พัฒนาระบบงานต่างๆ เช่น งานด้านการศึกษา เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง
การบริหาร และบริการต่างๆ
 ช่วยพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิตของประชาชน เช่น OTOP สหกรณ์
 เป็นปัจจัยพื้นฐานที่สาคัญต่อระบบการศึกษาและการวิจัยเพื่อพัฒนาประเทศ
เช่น e-learning
 สร้างความเข้าใจที่ดีระหว่างกัน และ ความสงบสุขในสังคม
 ช่วยดารงรักษาและถ่ายทอดมรดกทางวัฒนธรรม ประเพณี
Chapter 2 Foundation Concepts
ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
20
ความสาคัญของสารสนเทศ
ความสาคัญของสารสนเทศ
 ต่อองค์กรธุรกิจ
 เป็นแหล่งความรู้ทางเทคนิคและวิธีการใหม่ๆ ที่จะนามาใช้ในการพัฒนา
ระบบงานต่างๆ ในองค์กร
 เป็นแหล่งข้อมูลที่จะนามาใช้ในการแข่งขันกับองค์กรอื่นๆ ในธุรกิจ
 เพื่อช่วยในการวางแผนและตัดสินใจของผู้บริหารทุกระดับในองค์กร
 เพื่อความอยู่รอดขององค์กร
Chapter 2 Foundation Concepts
Information Technology
 Term of Information Systems องค์ประกอบของสารสนเทศ
Consist of :
 Computer Hardware คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ (Chapter2-part2)
 Computer Software คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ (Chapter2-part2)
 People ware บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ (Chapter2-part2)
 Telecommunication Network
เทคโนโลยีเครือข่ายโทรคมนาคม (Chapter 6)
 Data Resource Management
เทคโนโลยีการจัดการทรัพยากรข้อมูล (Chapter 8)
21Chapter 2 Foundation Concepts ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
22
Framework of IS Knowledge
รากฐานแนวความคิด
เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้
Application
ในธุรกิจ
กระบวนการในการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความท้าทายในการจัดการ
Chapter 2 Foundation Concepts ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
กรอบความรู้ของระบบเทคโนโลยีสาระสนเทศ
Roles of IS in Business
23
สนับสนุนการปฏิบัติการทางธุรกิจ
สนับสนุนการบริหารการตัดสินใจทางธุรกิจ
สนับสนุนกลยุทธ์การแข่งขัน
Chapter 2 Foundation Concepts ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
บทบาทของระบบสารสนเทศในธุรกิจ
What is E-Business?
Definition:
 The use of Internet technologies to work and
empower business processes, electronic
commerce, and enterprise collaboration within a
company and with its customers, suppliers, and
other business stakeholders.
 การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนตเพิ่มประสิทธภาพในกระบวนการทางาน การติดต่อ
ประสานงานทั้งภายในบริษัทและกับลูกค้า ซัพพลายเออร์ และผู้มีส่วนได้ส่วน
เสียกับธุรกิจ
 An online exchange of value.
 การแลกเปลี่ยนข้อมูลทาง ออนไลน์ เพื่อสร้างมูลค่าให้กับธุรกิจ
24
รายละเอียดในบทที่ 3
Chapter 2 Foundation Concepts ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
E-Business Information Technology
Infrastructure
25
ซัพพลายเออร์กับผู้เกี่ยงข้องอื่นๆ
อินทราเนต
เอ็กทราเนต
วิศวกรรมและการวิจัย
กระบวนการผลิต
บัญชีและการเงิน
การบริหารความ
สัมพันกับลูกค้า
ผู้บริโภค และ ลูกค้า
รายละเอียดในบทที่ 3Chapter 2 Foundation Concepts ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
Enterprise Collaboration Systems
ระบบการทางานร่วมกันในองค์กร
Definition:
 Involve the use of software tools to support
communication, coordination, and collaboration
among the members of networked teams and
workgroups.
ระบบนี้ช่วยให้คนที่ทางานในองค์กรสามารถใช้ SW tools เพื่อรองรับการทางาน
ร่วมกันระหว่างสมาชิกของทีมเครือข่ายและกลุ่มสมาชิก ทั้งอย่างเป็นทางการและไม่เป็น
ทางการ ซึ่งส่วนใหญ่มักจะเป็นงานโครงการ (Project) เช่น กระบวนการทางธุรกิจที่มี
กลุ่มของวิศวกร ผู้ที่มีความรู้ความสามารถ ช่วยในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ขึ้นมา อาจ
เรียกว่ากลุ่ม Virtual Team (กลุ่มทางานเสมือนจริง)
26
รายละเอียดในบทที่ 3
Chapter 2 Foundation Concepts ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
What is E-Commerce?
Definition:
The buying and selling, and marketing and servicing of
products, services, and information over a variety of
computer networks.
คือการซื้อขายสินค้า, การทาการตลาด, การให้บริการด้าน
สารสนเทศต่างๆ หรือเครือข่ายอื่นๆ สนับสนุนกระบวนการค้าใน
แต่ละขั้นตอน เพื่ออานวยความสะดวกให้กับลูกค้าบนอินเตอร์เนต
และที่สาคัญต้องมีการควบคุมความปลอดภัย เช่น ระบบการชาระ
เงินซื้อสินค้า เป็นต้น
27
เรียนละเอียดในบทที่ 5
Chapter 2 Foundation Concepts ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
 END
Chapter 2 Foundation Concepts ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม 28

More Related Content

What's hot

19e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b8a3e0b8b0e0b89ae0b89ae0b8aae0b8b2e0b...
19e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b8a3e0b8b0e0b89ae0b89ae0b8aae0b8b2e0b...19e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b8a3e0b8b0e0b89ae0b89ae0b8aae0b8b2e0b...
19e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b8a3e0b8b0e0b89ae0b89ae0b8aae0b8b2e0b...not_nat_978
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศnum19
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศnum19
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจpcpvip
 
เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ
เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศเรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ
เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศsarawoot7
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
Work3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Work3 เทคโนโลยีสารสนเทศWork3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Work3 เทคโนโลยีสารสนเทศmulhee
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นVida Yosita
 
งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1amphaiboon
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศOwat
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศOwat
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
ระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคล
ระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคลระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคล
ระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคลNapitchaya Jina
 

What's hot (16)

19e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b8a3e0b8b0e0b89ae0b89ae0b8aae0b8b2e0b...
19e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b8a3e0b8b0e0b89ae0b89ae0b8aae0b8b2e0b...19e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b8a3e0b8b0e0b89ae0b89ae0b8aae0b8b2e0b...
19e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b8a3e0b8b0e0b89ae0b89ae0b8aae0b8b2e0b...
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
 
Mi sch2
Mi sch2Mi sch2
Mi sch2
 
เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ
เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศเรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ
เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Work3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Work3 เทคโนโลยีสารสนเทศWork3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Work3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
ระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคล
ระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคลระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคล
ระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคล
 
56456456
5645645656456456
56456456
 

Similar to Chapter2 M1-foundation concepts-thai-62 feb

บทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆ
บทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆบทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆ
บทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆpattanan sabumoung
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศRawiwan Kashornchan
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศnum19
 
ความหมายและความสำคัญระบบสารสนเทศ
ความหมายและความสำคัญระบบสารสนเทศความหมายและความสำคัญระบบสารสนเทศ
ความหมายและความสำคัญระบบสารสนเทศWnida Krs
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงานnutty_npk
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้lalidawan
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวNart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวNart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111jongjang
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวNart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวNart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวNart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวNart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวNart-Anong Srinak
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศwannuka24
 

Similar to Chapter2 M1-foundation concepts-thai-62 feb (20)

Work3 23
Work3 23Work3 23
Work3 23
 
Work3 23
Work3 23Work3 23
Work3 23
 
บทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆ
บทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆบทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆ
บทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆ
 
Mis 1
Mis 1Mis 1
Mis 1
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ความหมายและความสำคัญระบบสารสนเทศ
ความหมายและความสำคัญระบบสารสนเทศความหมายและความสำคัญระบบสารสนเทศ
ความหมายและความสำคัญระบบสารสนเทศ
 
Alice
AliceAlice
Alice
 
It
ItIt
It
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 

More from ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม

More from ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม (20)

Tanapat-AWS-Certifacate-6-10.pdf
Tanapat-AWS-Certifacate-6-10.pdfTanapat-AWS-Certifacate-6-10.pdf
Tanapat-AWS-Certifacate-6-10.pdf
 
Tanapat-AWS-certificate-1-5.pdf
Tanapat-AWS-certificate-1-5.pdfTanapat-AWS-certificate-1-5.pdf
Tanapat-AWS-certificate-1-5.pdf
 
AWS Identity and access management , tanapat limsaiprom
AWS Identity and access management , tanapat limsaipromAWS Identity and access management , tanapat limsaiprom
AWS Identity and access management , tanapat limsaiprom
 
AWS Technical Essential , Tanapat Limsaiprom
AWS Technical Essential , Tanapat LimsaipromAWS Technical Essential , Tanapat Limsaiprom
AWS Technical Essential , Tanapat Limsaiprom
 
AWS Amazon DynamoDB
AWS Amazon DynamoDB AWS Amazon DynamoDB
AWS Amazon DynamoDB
 
Hr clinic2
Hr clinic2Hr clinic2
Hr clinic2
 
ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2
ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2
ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2
 
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
 
Mt60307 ch7-data visulization
Mt60307 ch7-data visulizationMt60307 ch7-data visulization
Mt60307 ch7-data visulization
 
Chapter 6 predictive Analytics
Chapter 6 predictive AnalyticsChapter 6 predictive Analytics
Chapter 6 predictive Analytics
 
Ch4 e retailing strategy v62-a4
Ch4 e retailing strategy v62-a4Ch4 e retailing strategy v62-a4
Ch4 e retailing strategy v62-a4
 
Chapter5 descriptive statistic
Chapter5 descriptive statisticChapter5 descriptive statistic
Chapter5 descriptive statistic
 
Ch2 bi gdata
Ch2 bi gdataCh2 bi gdata
Ch2 bi gdata
 
Chapter 2 : Data Management
Chapter 2 : Data ManagementChapter 2 : Data Management
Chapter 2 : Data Management
 
Ch1 Business Information foundation concept
Ch1 Business Information foundation conceptCh1 Business Information foundation concept
Ch1 Business Information foundation concept
 
Chapter2 e-retailing
Chapter2 e-retailingChapter2 e-retailing
Chapter2 e-retailing
 
Chapter2 module 4 Peopleware
Chapter2 module 4 PeoplewareChapter2 module 4 Peopleware
Chapter2 module 4 Peopleware
 
Chapter 2 Module 2 Hardware
Chapter 2 Module 2 HardwareChapter 2 Module 2 Hardware
Chapter 2 Module 2 Hardware
 
Tv Rating
Tv RatingTv Rating
Tv Rating
 
Chapter2 communication-v62 a
Chapter2 communication-v62 aChapter2 communication-v62 a
Chapter2 communication-v62 a
 

Chapter2 M1-foundation concepts-thai-62 feb

  • 2. What is an Information System?  IS can be organized combination of People, Hardware, Software, Communication Networks and Data Resources that stores and retrieves, transforms and disseminates information in an organization. ระบบสารสนเทศ คือการรวบรวม ผสมผสาน ระหว่าง คน ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ เครือข่ายการสื่อสาร และทรัพยากร ข้อมูลซึ่งมีการจัดเก็บ และการเรียกออกมาใช้งาน การถ่ายโอน และการเผยแพร่สารสนเทศในองค์กร 2Chapter 2 Foundation Concepts ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
  • 3. 3 ข้อมูล = ข้อเท็จจริงที่สังเกตได้จากรายการทางธุรกิจ (Business Transactions) การวัดคุณลักษณะของบุคคล,สถานที่,สิ่งของ,เหตุการณ์ สารสนเทศ = ข้อมูลที่ถูกประมวลผลให้มีความหมาย,มีมูลค่าเพิ่ม เพื่อให้ เกิดประโยชน์ต่อผู้ใช้ระบบ โดย 1.รูปแบบข้อมูลถูกรวบรวม,ปรับเปลี่ยน+จัดให้เป็นระบบ 2.เนื้อหาของข้อมูลถูกวิเคราะห์+ประเมินผล 3.ข้อมูลถูกจัดให้เป็นข้อความที่เหมาะสมเพื่อการใช้งาน Data VS. Information (ข้อมูลกับสารสนเทศ) Chapter 2 Foundation Concepts ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
  • 4. 4 DATA (ข้อมูล) ความหมายของข้อมูล  ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับวัตถุสิ่งของ คน สัตว์ การกระทา/พฤติกรรม เหตุการณ์ กิจกรรม และ ธุรกรรม  เป็นสิ่งที่มีความหมายไม่สมบูรณ์ ไม่สามารถตีความได้และ ยังไม่สามารถนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ทันที  ข้อมูลอาจอยู่ในรูปแบบ ตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ หรือเสียง ซึ่งข้อมูลอาจถูกเก็บไว้ในฐานข้อมูล แฟ้มข้อมูล กระดาษ เทป ซีดี หรือความจาของมนุษย์ ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม Chapter 2 Foundation Concepts
  • 5. ตัวอย่างของข้อมูล  จานวนนักศึกษาชั้นปีที่ 1  คะแนนสอบวิชาภาษาอังกฤษของนักศึกษา  ที่อยู่ปัจจุบันของนักศึกษา  ระเบียบการใช้ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 5ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหมChapter 2 Foundation Concepts
  • 6. ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม 6 สารสนเทศ การประมวลผลข้อมูลเพื่อให้กลายเป็นสารสนเทศนั้นมีหลายวิธี คือ  การจัดกลุ่มข้อมูล (Grouping)  การจัดเรียงข้อมูล (Sorting)  การสรุปผลข้อมูล (Summarizing)  การออกรายงาน (Reporting) Chapter 2 Foundation Concepts
  • 7. ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม 7 สารสนเทศ ตัวอย่างของสารสนเทศ  ผลการเรียนเฉลี่ยของนิสิต (GPA)  รายงานสรุปเวลาทางานของพนักงานในหนึ่งเดือน  รายงานสรุปยอดขายรายไตรมาส  รายงานจัดอันดับสินค้าขายดี Chapter 2 Foundation Concepts
  • 9. ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม 9 คุณลักษณะสารสนเทศ คุณลักษณะของสารสนเทศ ◦ ตรงกับความต้องการ (relevant) ◦ ทันต่อเวลา (timely) ◦ ความถูกต้อง (accurate) ◦ ความสมบูรณ์ (complete) ◦ ตรวจสอบได้(verifiable) ◦ เชื่อถือได้(reliable) ◦ เข้าถึงได้ง่าย (accessible) ◦ คุ้มค่าหรือคุ้มราคา (economical) ◦ มีความยืดหยุ่น (flexible) ◦ เข้าใจง่าย (Simple) ◦ ปลอดภัย (Secure) Chapter 2 Foundation Concepts
  • 10. ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม 10 - สอดคล้องกับความต้องการ (Relevant) สารสนเทศที่มีคุณภาพจะต้องมีความสอดคล้องตามวัตถุประสงค์และ สนองความ ต้องการของผู้ใช้เพื่อการตัดสินใจ - ทันต่อเวลา (Timely) สารสนเทศที่ดีนอกจากจะมีความถูกต้องแล้ว ข้อมูลต้องทันสมัยและ รวดเร็วทันต่อเวลาและความต้องการของผู้ใช้ในการตัดสินใจ คุณลักษณะสารสนเทศ Chapter 2 Foundation Concepts - ถูกต้องแม่นยา (Accurate) สารสนเทศที่มีความถูกต้อง จะต้องปราศจากข้อผิดพลาดใดๆ
  • 11. ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม 11 - สมบูรณ์ครบถ้วน (Complete) สารสนเทศที่มีความสมบูรณ์จะต้องประกอบด้วยข้อเท็จจริงที่สาคัญอย่างครบถ้วน คุณลักษณะสารสนเทศ Chapter 2 Foundation Concepts -ตรวจสอบได้ (Verifiable) สารสนเทศจะต้องตรวจสอบความถูกต้องได้ -เชื่อถือได้ (Reliable) สารสนเทศที่เชื่อได้ขึ้นอยู่กับความน่าเชื่อถือของวิธีการรวบรวมข้อมูลที่นาเข้าสู่ ระบบ
  • 12. ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม 12 - สะดวกในการเข้าถึง (Accessible) สารสนเทศจะต้องง่ายและสะดวกต่อการเข้าถึงข้อมูลตามระดับสิทธิของผู้ใช้ - คุ้มราคา (Economical) สารสนเทศที่ผลิตควรจะต้องมีความประหยัด เหมาะสมคุ้มค่ากับราคา คุณลักษณะสารสนเทศ Chapter 2 Foundation Concepts - มีความยืดหยุ่น (Flexible) สารสนเทศที่มีคุณภาพนั้นควรจะสามารถนาไปใช้ได้ใน วัตถุประสงค์ที่แตกต่าง กันหลายๆ ด้าน
  • 13. ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม 13 - เข้าใจง่าย (Simple) สารสนเทศที่มีคุณภาพจะต้องเข้าใจง่าย ไม่ ซ้าซ้อนต่อการทาความเข้าใจ คุณลักษณะสารสนเทศ Chapter 2 Foundation Concepts - ปลอดภัย (Secure) สารสนเทศจะต้องถูกออกแบบและจัดการให้มีความปลอดภัยจากผู้ ที่ไม่มีสิทธิในการเข้าถึงข้อมูลหรือสารสนเทศนั้น
  • 14. ลักษณะสารสนเทศที่ดี เนื้อหา (Content) ความสมบูรณ์ครอบคลุม (completeness) ความสัมพันธ์กับเรื่อง (relevance) ความถูกต้อง (accuracy) ความเชื่อถือได้(reliability) การตรวจสอบได้(verifiability) ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม 14Chapter 2 Foundation Concepts
  • 15. ลักษณะสารสนเทศที่ดี (ต่อ) รูปแบบ (Format) ชัดเจน (clarity) ระดับรายละเอียด (level of detail) รูปแบบการนาเสนอ (presentation) สื่อการนาเสนอ (media) ความยืดหยุ่น (flexibility) ประหยัด (economy) ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม 15Chapter 2 Foundation Concepts
  • 16. ลักษณะสารสนเทศที่ดี (ต่อ) เวลา (Time) ความรวดเร็วและทันใช้ (timely) การปรับปรุงให้ทันสมัย (up-to-date) มีระยะเวลา (time period) ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม 16Chapter 2 Foundation Concepts
  • 17. ลักษณะสารสนเทศที่ดี (ต่อ) กระบวนการ (Process) ความสามารถในการเข้าถึง (accessibility) การมีส่วนร่วม (participation) การเชื่อมโยง (connectivity) ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม 17Chapter 2 Foundation Concepts
  • 18. ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม 18 ความสาคัญของสารสนเทศ ความสาคัญของสารสนเทศ  ต่อบุคคล  มนุษย์ใช้สมอง + สารสนเทศ ต่อสู้กับธรรมชาติ ทาให้ชีวิตสะดวกสบายขึ้น เช่น ...  ช่วยพัฒนาอาชีพ แก้ไขปัญหาต่างๆ เช่น ...  ได้เรียนรู้สิ่งที่ตนเองสนใจ สร้างความสุขและความเจริญทางจิตใจ เช่น ... Chapter 2 Foundation Concepts
  • 19. ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม 19 ความสาคัญของสารสนเทศ ความสาคัญของสารสนเทศ  ต่อสังคม  เป็นแหล่งความรู้ใหม่ๆ ทางเทคนิค และวิธีการใหม่ๆ ที่จะนามาช่วยในการ พัฒนาระบบงานต่างๆ เช่น งานด้านการศึกษา เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง การบริหาร และบริการต่างๆ  ช่วยพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิตของประชาชน เช่น OTOP สหกรณ์  เป็นปัจจัยพื้นฐานที่สาคัญต่อระบบการศึกษาและการวิจัยเพื่อพัฒนาประเทศ เช่น e-learning  สร้างความเข้าใจที่ดีระหว่างกัน และ ความสงบสุขในสังคม  ช่วยดารงรักษาและถ่ายทอดมรดกทางวัฒนธรรม ประเพณี Chapter 2 Foundation Concepts
  • 20. ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม 20 ความสาคัญของสารสนเทศ ความสาคัญของสารสนเทศ  ต่อองค์กรธุรกิจ  เป็นแหล่งความรู้ทางเทคนิคและวิธีการใหม่ๆ ที่จะนามาใช้ในการพัฒนา ระบบงานต่างๆ ในองค์กร  เป็นแหล่งข้อมูลที่จะนามาใช้ในการแข่งขันกับองค์กรอื่นๆ ในธุรกิจ  เพื่อช่วยในการวางแผนและตัดสินใจของผู้บริหารทุกระดับในองค์กร  เพื่อความอยู่รอดขององค์กร Chapter 2 Foundation Concepts
  • 21. Information Technology  Term of Information Systems องค์ประกอบของสารสนเทศ Consist of :  Computer Hardware คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ (Chapter2-part2)  Computer Software คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ (Chapter2-part2)  People ware บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ (Chapter2-part2)  Telecommunication Network เทคโนโลยีเครือข่ายโทรคมนาคม (Chapter 6)  Data Resource Management เทคโนโลยีการจัดการทรัพยากรข้อมูล (Chapter 8) 21Chapter 2 Foundation Concepts ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
  • 22. 22 Framework of IS Knowledge รากฐานแนวความคิด เทคโนโลยีสารสนเทศ การประยุกต์ใช้ Application ในธุรกิจ กระบวนการในการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ ความท้าทายในการจัดการ Chapter 2 Foundation Concepts ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม กรอบความรู้ของระบบเทคโนโลยีสาระสนเทศ
  • 23. Roles of IS in Business 23 สนับสนุนการปฏิบัติการทางธุรกิจ สนับสนุนการบริหารการตัดสินใจทางธุรกิจ สนับสนุนกลยุทธ์การแข่งขัน Chapter 2 Foundation Concepts ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม บทบาทของระบบสารสนเทศในธุรกิจ
  • 24. What is E-Business? Definition:  The use of Internet technologies to work and empower business processes, electronic commerce, and enterprise collaboration within a company and with its customers, suppliers, and other business stakeholders.  การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนตเพิ่มประสิทธภาพในกระบวนการทางาน การติดต่อ ประสานงานทั้งภายในบริษัทและกับลูกค้า ซัพพลายเออร์ และผู้มีส่วนได้ส่วน เสียกับธุรกิจ  An online exchange of value.  การแลกเปลี่ยนข้อมูลทาง ออนไลน์ เพื่อสร้างมูลค่าให้กับธุรกิจ 24 รายละเอียดในบทที่ 3 Chapter 2 Foundation Concepts ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
  • 26. Enterprise Collaboration Systems ระบบการทางานร่วมกันในองค์กร Definition:  Involve the use of software tools to support communication, coordination, and collaboration among the members of networked teams and workgroups. ระบบนี้ช่วยให้คนที่ทางานในองค์กรสามารถใช้ SW tools เพื่อรองรับการทางาน ร่วมกันระหว่างสมาชิกของทีมเครือข่ายและกลุ่มสมาชิก ทั้งอย่างเป็นทางการและไม่เป็น ทางการ ซึ่งส่วนใหญ่มักจะเป็นงานโครงการ (Project) เช่น กระบวนการทางธุรกิจที่มี กลุ่มของวิศวกร ผู้ที่มีความรู้ความสามารถ ช่วยในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ขึ้นมา อาจ เรียกว่ากลุ่ม Virtual Team (กลุ่มทางานเสมือนจริง) 26 รายละเอียดในบทที่ 3 Chapter 2 Foundation Concepts ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
  • 27. What is E-Commerce? Definition: The buying and selling, and marketing and servicing of products, services, and information over a variety of computer networks. คือการซื้อขายสินค้า, การทาการตลาด, การให้บริการด้าน สารสนเทศต่างๆ หรือเครือข่ายอื่นๆ สนับสนุนกระบวนการค้าใน แต่ละขั้นตอน เพื่ออานวยความสะดวกให้กับลูกค้าบนอินเตอร์เนต และที่สาคัญต้องมีการควบคุมความปลอดภัย เช่น ระบบการชาระ เงินซื้อสินค้า เป็นต้น 27 เรียนละเอียดในบทที่ 5 Chapter 2 Foundation Concepts ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
  • 28.  END Chapter 2 Foundation Concepts ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม 28