SlideShare a Scribd company logo
1 of 50
หน่วยที่6 
โครงสร้างการบริหารสารสนเทศในองค์กรธุรกิจ
5.1 การจัดการเทคโนโลยี 
สารสนเทศ 
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้แนวคิด 
POSCORB 
P คือ PLANNING งานขนั้แรกเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศก็ 
คือ การวางแผน หากปราศจากการวางแผนที่ดีแลว้ การนา ไอทีมาใช้ก็สามารถเป็น 
งานที่ปราศจากเป้าหมายและทิศทาง ไม่รูว้่าจะนา เราไปสู่อะไรกันแน่
5.1 การจัดการเทคโนโลยี 
สารสนเทศ 
การวางแผนเทคโนโลยีสารสนเทศนนั้เป็นงานที่ผู้บริหารของหน่วยงาน 
จะต้องใหค้วามสนใจเป็นพิเศษแผนไอที หน่วยงานจะต้องสอดคลอ้งกับแผนระยะ 
ยาว หรือ แผนกลยุทธ์ของหน่วยงานเอง ก่อนที่จะมีแผนไอที หน่วยงานจะต้องจัดทา 
แผนระยะยาว หรือ แผนกลยุทธ์ของหน่วยงานขึ้นก่อนแผนระยะยาวของหน่วยงาน 
นนั้ จะระบุว่าในสามถึงห้าปีขา้งหน้า หน่วยงานจะดา เนินงานอย่างไร จะขยายตัว 
อย่างไร และ จะทา อะไรต่อไปในอนาคตสา หรับกลยุทธ์นนั้มีลักษณะเหมือนแผน 
ระยะยาว เพียงแต่เน้นว่าหน่วยงานจะเปลี่ยนแนวทางการดา เนินธุรกิจไปจับแนวทาง 
ใหม่ หรือมีนบายใหม่อย่างไรบา้ง ผูบ้ริหารจะตอ้งมีทีมงานสา หรับ นา แผนระยะยาว 
หรือ แผนกลยุทธ์ของหน่วยงานมาศึกษา ต้องรวบรวมขอ้มูลว่าหน่วยงานอื่นที่ 
เกี่ยวขอ้งนนั้ไดใ้ช้ ไอที ทา อะไร ไปแลว้บา้ง และมีแนวทางจะประยุกต์ไอที อย่างไร 
ต่อไป จะต้องศึกษาสิ่งแวดล้อม ว่ากาลังมุ่งหน้าไปทางใด ต่อจากนั้นก็จะต้อง 
พิจารณาว่าควรนา ดา้นใดมาใชกั้บหน่วยงานบา้ง หน่วยงาน มีความพร้อมทาง ดา้น 
อุปกรณ์และกา ลังคนมากน้อยแค่ไหน เมื่อพิจารณา เสร็จแลว้ก็จัดวางแผนทางดา้น 
ไอทีที่ทุกคนในหน่วยงานยอมรับไดอ้อกมาใชเ้ป็นแนวทาง
5.2 แผนงานด้านไอทีที่ 
เหมาะสมนั้นมีดังนี้ 
1. โครงสร้างระบบสารสนเทศ หมายถึง แผนงานที่กา หนดว่าหน่วยงานควรมีระบบ 
สารสนเทศอะไรบา้งใน ช่วง 3 ถึง 5 ปีขา้งหน้า ระบบเหล่านี้ใช้ฐานขอ้มูลอะไร และ 
สัมพันธ์กับอย่างไร 
2. โครงสร้างฐานข้อมูล หมายถึง แผนงานที่กาหนดว่าหน่วยงานจะต้องสร้าง 
ฐานขอ้มูลอะไรบา้ง และฐานขอ้มูลเหล่าสัมพันธ์กันอย่างไร 
3. โครงสร้างระบบเครือข่าย หมายถึง แผนงานที่กา หนด ว่าหน่วยงานควรจะสร้าง 
ระบบเครือข่ายเชื่อมโยงกันอย่างไร ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อมโยงภายใน หรือเชื่อมโยงกับ 
หน่วยงานภายนอก 
4. รายละเอียดมาตรบานอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และระบบเครือข่าย ที่ควรจัดหามาใช้ 
ในงานต่างๆ ของหน่วยงาน 
5. แนวทางการประยุกต์ หรือ จัดทา ระบบสารสนเทศโดยพิจารณาจากความจา เป็น 
เร่งด่วนความต้องการของ ผูบ้ริหาร ความชา นาญของบุคลากร และความเป็นไปได้ 
ทางเทคโนโลยี
O คือ 
ORGANIZING 
การจัดรูปแบบงาน ไอทีเป็นงานที่มีความสาคัญอย่างยิ่ง หน่วยงาน 
หรือบริษัท ขนาดใหญ่นั้นจาเป็นจะต้องมีกลุ่มสาหรับบริหาร และ 
ปฏิบัติการด้านไอที มินั้นแล้ว การดาเนินงานก็จะไม่ราบรื่นโดยปกติ 
หน่วยงาน หรือบริษัทขนาดใหญ่จา เป็นจะต้องตั้งศูนย์คอมพิวเตอร์ และ 
กา หนดให้ผู้บริหารงานเทคโนโลยีสารสนเทศมีตา แหน่ง บริหารระดับสูงถึง 
ขนาดรองประธานบริษัท ซึ่งเรียกว่า CIO หรือ Chief Information Officer 
อันเป็นชื่อที่เลียนแบบ CEO ผู้ที่เป็น CIO นั้นไม่ใช่ผู้อา นวยการศูนย์ หรือ 
สานักคอมพิวเตอร์ เพราะมีหน้าที่บทบาทสูงกว่า คือ หนักไปทางด้านการ 
วางแผนสารสนเททศของหน่วยงาน การดูแลจัดการให้เกิดระบบสารสนเทศ 
และการประยุกต์ในด้านการบริหารงานไอทีทั่วไป รวมทั้งการดูแลให้การ 
ประยุกต์ไอที นั้นสาเร็จลุล่วงด้วยดีภายใต้ผู้อา นวยการศูนย์หรือสานัก 
คอมพิวเตอร์ของแต่ละหน่วยงาน จะมีตา แหน่งงานหลายกลุ่ม หรือหลายสาย 
งาน
ตาแหน่งงาน หรือสายงาน 
1. กลุ่มพัฒนาระบบสารสนเทศ เป็นกลุ่มที่ทา หน้าที่พัฒนาระบบสารสนเทศ 
ต่าง ๆ ที่หน่วยงานจาเป็นต้องใช้ เช่น ระบบบุคลากร ระบบบัญชีระบบพัสดุ 
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการต่างๆ กลุ่มงานนี้จา เป็นมากหาก หน่วยงานมี 
นโยบายที่จะพัฒนาระบบสารสนเทศต่างๆ เอง บุคลากรในกลุ่มนี้อาจจะมี 
2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysts) ทาหน้าที่วิเคราะห์ ความต้องการ 
ด้านสารสนเทศและออกแบบระบบสารสนเทศขึ้นใหม่ เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงาน 
ทา งานโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องได้สะดวก 
3. นักเขียนโปรแกรม (Programmer) ทาหน้าที่เขียนและทดสอบโปรแกรม 
ต่างๆ เพื่อใช้ในหน่วยงาน 
4. ผู้บริหารบานข้อมูล (Database Administrator) ทาหน้าที่วางแผนและ 
ควบคุมงานข้อมูลหลักของทั้งหน่วยงาน เป็นผู้ประสานงานกับทีมงาน 
พัฒนาระบบด้านการใช้ฐานข้อมูล
1. กลุ่มงานขอ้มูล 
กลุ่มงานข้อมูล เป็นกลุ่มงานที่ทา หน้าที่ดูแลเรื่องข้อมูลต่างๆ ที่หน่วยงานต้อง 
ใช้ นับตั้งแต่การบันทึกข้อมูล การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล และ การจัดเก็บ 
ต้นฉบับฟอร์มข้อมูลเพื่อใช้อ้างอิงกลุ่มงานนี้ อาจจะมีความสา คัญน้อยลงในอนาคตเมื่อมี 
การจัดหาอุปกรณ์ที่สามารถบันทึกข้อมูลจากจุดที่เกิดข้อมูลเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ 
โดยตรง นอกจากนั้นยังเป็นเพราะหน่วยงานหลายแห่งเริ่มกระจายการบันทึกข้อมูล 
ออกไปให้ผู้ใช้ ดา เนินการเอง กลุ่มงานนี้อาจประกอบด้วย 
1.1 พนักงานบันทึกข้อมูล ทา หน้าที่ บันทึกข้อมูลเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ 
1.2 พนักงานสอบทางข้อมูล ทา หน้าที่ตรวจว่าข้อมูลที่บันทึกเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์นั้น 
ถูกต้องตามต้นฉบับ หรือไม่ 
1.3 พนักงานลงรหัสข้อมูล ทา หน้าที่ กา หนดรหัสข้อมูลลงในแบบฟอร์มข้อมูลก่อนสงให้ 
พนักงานบันทึกข้อมูล 
1.4 กลุ่มงานปฏิบัติการ เป็นกลุ่มงานที่ทาหน้าที่ดูแลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์ 
สื่อสารควบคุมดูแล การใช้งานประจา วันจัดทา รายงานการใช้อุปกรณ์ และ ปัญหาขัดข้อง 
ที่เกิดขึ้นระหว่างการใช้งาน
กลุ่มงานปฏิบัติการ 
1.4.1 นักโปรแกรมระบบ (System Programmer) ทา หน้าที่ ดูแล 
ระบบปฏิบัติการ (Operating System) ต่างๆ ของหน่วย เช่น ระบบ UNIX, 
Windows, Dos คอยเปลี่ยนแปลงปรับปรุงระบบปฏิบัติการตามรายละเอียด 
การแก้ไขที่ได้รับจากบริษัทผู้ผลิต พิจารณาตรวจสอบสมรรถนะของ ระบบ 
คอมพิวเตอร์ และ หาทางปรับปรุงการทา งานของระบบให้มีประสิทธิภาพ 
1.4.2 พนักงานปฏิบัติการ (Operator) ทาหน้าที่ควบคุมดูแลการทางานของ 
เครื่อง และอุปกรณ์นาโปรแกรมเข้าทางานในระบบคอมพิวเตอร์ และส่ง 
ผลลัพธ์ให้กับผู้ใช้ 
1.4.3 บรรณารักษ์ระบบ (Librarian) ทาหน้าที่ดูแลรักษาสื่อข้อมูลต่างๆ ของ 
หน่วยงาน และดูแลรักษาคู่มือของระบบคอมพิวเตอร์
กลุ่มงานปฏิบัติการ 
1.4.4 กลุ่มงานสื่อสารเป็นกลุ่มงานที่ทา หน้าที่ดูแลระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และ 
ระบบสื่อสารต่าง ๆ ของหน่วยงาน บุคลากรในกลุ่มนี้ได้แก่ 
1. ผู้บริหารระบบเครือข่าย (Network Administrator) หรือบางทีเรียกว่า (System 
Administrator) ทา หน้าที่วางแผนและจัดหาอุปกรณ์สื่อสารควบคุมดูแลให้การดา เนินงาน 
ด้านระบบ เครือข่ายให้ ดา เนินไปอย่างราบรื่น 
2. วิศวกรสื่อสาร (Communication Engineer) ทา หน้าที่เกี่ยวกับการติดตั้งตรวจสอบ และ 
ปฏิบัติงานกับอุปกรณ์สื่อสาร และ ซอฟต์แวร์สื่อสารต่าง ๆ 
3.กลุ่มงานสนับสนุนผู้ใช้ เป็นกลุ่มงานที่ทาหน้าที่คอยช่วยเหลือให้ผู้ใช้ระบบ 
คอมพิวเตอร์สามารถปฏิบัติงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จัดหาซอฟต์แวร์ และ อุปกรณ์ 
คอมพิวเตอร์จัดฝึกอบรม วิธีใช้ อุปกรณ์ และ ซอฟต์แวร์แก่ผู้ใช้ แกไขปัญหาพื้นฐานให้ 
ผู้ใช้ เช่น ช่วยกา จัดไวรัสคอมพิวเตอร์ แก้ไขอุปกรณ์ที่เสียหายขั้นต้น บุคลากรเหล่านี้ 
ได้แก่ ผู้ที่มีความสนใจทางด้านระบบไมโครคอมพิวเตอร์ชอบสอน และ การให้บริการ 
ผู้ใช้
S คือ 
SCHEDULING 
การจัดลา ดับของงานพัฒนาระบบสารสนเทศในหน่วยงานนั้นเป็น 
เรื่องที่มีความสาคัญมาก และผู้บริหารไอทีจาเป็นจะต้องให้ความสนใจมาก 
พอสมควร งานระบบสารสนเทศรวมทั้งหน่วยงานนั้นเป็นงานที่ใหญ่มาก 
แม้ว่าหน่วยงานจะสนใจจัดหาซื้อระบบสารสนเทศทั้งระบบมาใช้ ก็ไม่ได้ 
หมายความว่าหน่วยงานจะสามารถสารสนเทศทั้งระบบมาใช้ ก็ไม่ได้ 
หมายความว่าหน่วยงานจะสามารถทา ให้ทุกระบบย่อยทา งาน ได้พร้อมกันที่ 
เป็นเช่นนี้เพราะ การนาระบบสารสนเทศมาใช้นั้นจาเป็นที่เราจะต้อง 
ออกแบบระบบใหม่ ต้องเปลี่ยนแนวทางการทา งานจากการใช้มือเป็นการใช้ 
เครื่อง ต้องจัดหาข้อมูลใหม่ งานเหล่านี้ล้วนแล้วแต่ต้องใช้เวลา และ จะต้อง 
คอย ตรวจสอบความถูกต้องอยู่เสมอ ด้วยเหตุนี้เอง แม้ว่าหน่วยงานจะได้ 
กา หนดแผนไอทีขึ้นมาแล้วว่าจะมีระบบอะไรบ้าง ผู้บริหารก็ยังจา เป็นที่ 
จะต้องเลือกว่าจะนา ระบบย่อยอะไรมาใช้ก่อน ระบบใดจะใช้ลา ดับถดัไป
การควบคุมงานดา้นไอทีมี 
ประเด็นที่ตอ้งพิจารณา 
1. การควบคุมมาตรบานอุปกรณ์ไอทีทุกด้าน มาตรฐานนั้นเป็นเรื่องที่สา คัญมากสา หรับ 
งานไอที เพราะเป็น สิ่งที่ช่วยให้เราแน่ใจว่าอุปกรณ์ไอทีต่าง ๆ จะทางานร่วมกันได้ 
อุปกรณ์สามารถอัพเกรดให้ดีขึ้นได้ตามความ เปลี่ยนแปลง ของอนาคต มาตรฐานนี้ 
จะต้องจัดทา ขึ้นอย่างรอบคอบ และ ควบคุมให้งานเป็นไปตามมาตรฐาน กล่าวโดยกว้างๆ 
มาตรฐานในที่นี้หมายถึงการกาหนดว่าอุปกรณ์ต่างๆ จาเป็นจะต้องมีข้อกาหนด 
คุณลักษณะด้าน เทคนิคเป็นแบบเดียวกัน หรือในเรื่องของซอฟต์แวร์ก็กาหนดให้ใช้แบบ 
เดียว กันไม่ใช้ต่างแผนก ต่างหาซอฟต์แวร์ คนละแบบมาใช้ เพราะจะทาให้ไม่สามารถ 
แลกเปลี่ยนข้อมูล และทา งานร่วมกันได้ 
2. การควบคุมการพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์ เป็นการควบคุมให้กระบวนการพัฒนา 
ระบบคอมพิวเตอร์ ดา เนินไปอย่างถูกต้องสามารถพัฒนาสาเร็จตามกา หนดเวลาที่ตั้งไว้ 
ทา งานได้ตามความต้องการ และ ใช้จ่ายภายในวงเงินงบประมาณที่ตั้งไว้ 
3. การควบคุมการปฏิบัติการเป็นการควบคุมให้การปฏิบัติการทุกขั้นตอนดา เนินไปอย่าง 
ถูกต้องตรงลา ดับขั้นตอนที่กา หนดไว้ การบันทึกเก็บข้อมูลถูกต้องครบถ้วน ไม่มีพนักงาน 
คนใดดา เนินการให้หน่วยงานเสียหาย
การควบคุมงานดา้นไอทีมี 
ประเด็นที่ตอ้งพิจารณา 
4. การควบคุมความมั่นคงปลอดภัยของระบบคอมพิวเตอร์ และ ระบบสื่อสาร เป็นการ 
ควบคุมดูแลให้ระบบสารสนเทศทั้งหมด ได้รับการรักษาความมั่นคงปลอดภัยครบถ้วน 
ไม่มีประสงค์ร้ายเปลี่ยนแปลงแก้ไข หรือ ทา ลายระบบได้ 
5. การควบคุมงบประมาณ เป็นการควบคุมดูแลการใช้จ่ายต่างๆ ของหน่วยงานทางด้านไอ 
ทีเพื่อให้แน่ใจ ว่าเงินทุกบาททุกสตางค์นั้นใช้ไปอย่างมีความหมาย และ มีประสิทธิผลคือ 
ORDERING งานที่เกี่ยวกับการสั่ง การให้การปฏิบัติงานทุกอย่างดาเนินไปอย่างราบรื่น 
ไม่มีอุปสรรคขัดข้องนั้นเป็นงานที่ต้องอาศัยประสบการณ์ และ ความสามารถของ 
ผู้บริหารอย่างแท้จริง การสั่งการนี้จะต้องอาศัยทักษะทางด้านการสื่อสาร 
(Communications) คือการพูดอย่างมีเหตุผล สามารถต่อรอง โน้มน้าวและจูงใจผู้ฟังได้ 
ผู้บริหารงานด้านไอทีต้องเข้าใจว่า บุคลากร ไอทีนั้นเป็นนักเทคนิค ซึ่งมีความรู้ด้าน 
เทคนิคดี แต่ก็มักจะใจน้อย และไม่ใคร่ง้อใครหากพูดหูก็อาจจะผลจากองค์กรไปได้ง่าย 
R คือ REPORTING งานนี้เกี่ยวข้องกับการจัดทา รายงานสรุปเสนอต่อผู้บริหารของ 
หน่วยงานให้ทราบความเป็นไปในการปฏิบัติงานต่างๆ ของศูนย์คอมพิวเตอร์ การจัดทา 
รายงานนี้ต้องอาศัยทักษะ ทางด้านการสื่อสารส่วนที่เป็นการเขียน นั้นคือ การจัดทา 
รายงานจะต้องมีเนื้อหาสาระ สั้นตรงประเด็น และถูกต้อง
B คือ 
BUDGETING 
งานนี้เกี่ยวกับการจัดทา งบประมาณสาหรับงานไอทีรวม และงาน 
ของศูนย์คอมพิวเตอร์ การจัดทา งานงบประมาณนั้น ผู้บริหารจะต้องเข้าใจว่า 
การนา เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้นั้นจา เป็นจะต้องมีค่าใช้จ่ายต่าง ๆ หลาย 
ด้าน หากผู้บริหารหลงลืมค่าใช้จ่ายบางรายการไปก็จะทาให้เกิดปัญหาใน 
การปฏิบัติงานได้ ค่าใช้จ่ายที่ควรนา มาพิจารณา มีอยู่หลายหมวดด้วยกัน ที่ 
ไม่ควรมองข้ามคือ 
1. ค่าใช้จ่ายที่จ่ายคอมพิวเตอร์ 
2. ค่าใช้จ่ายที่ต้องจ่ายประจา
5.3 ระบบสารสนเทศ 
สาหรับหน่วยงาน 
1. ระบบประมวลธุรกรรม หรือรายการค้า (Transaction Processing System) 
เป็นระบบสาหรับบันทึกธุรกรรม หรือรายการค้า (Transaction) ต่างๆ ที่เกิด 
ขึ้นกับบริษัทแล้วดา เนินการที่เกี่ยวข้อง 
2. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System หรือ 
MIS) เป็นระบบสารสนเทศที่จัดทาขึ้นเพื่อผู้บริหารระดับล่าง และ 
ระดับกลางใช้ ระบบนี้นา ข้อมูล รายการค้ามาสรุปให้เป็นสารสนเทศ แบบ 
ต่างๆ เป็นกลุ่มตามความสนใจของผู้บริหาร 
3. ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหาร(Executive Information System หรือ EIS) 
เป็นระบบสารสนเทศที่นา ข้อมูลรายการค้าและข้อมูลอื่นๆ ทั้งที่เป็นของ 
หน่วยงานและของคู่แข่ง พันธมิตร และสิ่งแวดล้อมมาจัดทา เป็นข้อสรุป แล้ว 
บันทึกไว้ในฐานข้อมูลผู้บริหารเพื่อให้ผู้บริหารเรียกค้นอ อกมาใช้ 
ประกอบการตัดสินใจได้ทันที
5.3 ระบบสารสนเทศ 
สาหรับหน่วยงาน 
4. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System หรือ DSS) เป็น 
ระบบที่นาเอาข้อมูลจากฐานข้อมูลคานวณโดยอาศัยสูตรคณิตศาสตร์ หรือ 
โมเดลทางธุรกิจเพื่อคาดคะเนว่า หากตัดสินใจแบบใดแบบหนึ่ง จะทา ให้ 
เกิดผลอย่างไรบ้าง 
5. ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) เป็นระบบที่เก็บความรู้ และ ความ 
ชา นาญของผู้เชี่ยวชาญมาจัดประเภทไว้เป็นหมวดหมู่เพื่อให้ระบบสามารถ 
ทา งานได้ราวกับผู้เชี่ยวชาญเองระบบผู้เชี่ยวชาญที่จัดทา ขึ้น 
6. ระบบสารสนเทศสานักงาน (Office Information System) เป็นระบบที่ 
เกี่ยวเนื่องกับงานสานักงานอัตโนมัติ แต่แทนที่จะเน้นทางด้านเครื่องมือ ก็ 
เปลี่ยนไปเน้นการเก็บข้อมูลข่าวที่เกิดขึ้นในสา นักงานไว้เป็นหมวดหมู่
5.4 การจัดหาระบบ 
สารสนเทศ 
1. จัดสร้างระบบเอง วิธีนี้เป็นวิธีที่ใช้กันทั่วไปถ้าหากหน่วยงานมีบุคลากร 
ทางด้านคอมพิวเตอร์เพียงพอ 
2. จ้างบริษัทที่ปรึกษามีได้สองแนวทาง คือว่าจ้างเฉพาะในด้านการจัดทา 
ระบบสารสนเทศ กับ การว่าจ้างในระบบเบ็ดเสร็จ (Turnkey) 
3. การซื้อระบบสาเร็จ ระบบ เช่นนี้อาจเป็นส่วนหนึ่งของระบบใหญ่ได้แก่ 
ระบบพัสดุ ระบบบริหารบุคลากร ระบบบัญชีหรืออาจเป็นระบบทั้งระบบที่ 
เรียกชื่อตามงาน เช่น ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล ระบบสารสนเทศ 
โรงเรียน 
4. การ Outsourcing คือ การ Outsourcing นี้อาจกา หนดให้บริษัทที่รับทา งาน 
นี้เป็นผู้จัดหาเครื่อง ซอฟต์แวร์ ระบบ และ บุคลากรมาดา เนินการต่างๆ ให้ 
อย่างเบ็ดเสร็จหน่วยงานของผู้ว่าจ้างไม่ต้องทาอะไรเลย เพียงแต่รอรับ 
รายงาน สารสนเทศตามที่ต้องการเท่านั้น
5.5 แนวทางการพัฒนา 
ระบบสารสนเทศใน 
หน่วยงาน 
1. พัฒนาโดยใช้ระเบียบวิธี(Methodology) อย่างใดอย่างหนึ่งที่หน่วยงาน 
หรือบริษัทที่ปรึกษามีความชานาญ วิธีที่ใช้กันทั่วไปเพราะใช้ง่าย และ ทุก 
คนคุ้นเคยมาก ก็คือ การพัฒนาตามวัฏจักรพัฒนาระบบงาน (System 
Development Life Cycle หรือ SDLC) 
2. พัฒนาโดยใช้วิธีการทาต้นแบบ (Prototyping) การพัฒนาระบบโดยวิธี 
SDLC นั้นใช้เวลาค่อนข้างนานมาก ดังนั้นเมื่อพัฒนาระบบเสร็จแล้วก็อาจ 
เป็นไปได้ที่ระบบนั้นไม่ถูกใจผู้ใช้ หรือใช้การไม่ได้ เพราะเกิดการ 
เปลี่ยนแปลงในองค์กรหรือทางเทคโนโลยี ดังนั้นจึงมีผู้คิดวิธีการเร่งรัด 
พัฒนาระบบให้เสร็จเร็วขึ้น วิธีนี้ เรียกว่าการทา ต้นแบบซึ่งจะต้องอาศัย 
ซอฟต์แวร์พิเศษสาหรับช่วยในการเขียนโปรแกรมเรียกว่า CASE Tool หรือ 
Computer Aided Software Engineering
5.6 วัฏจักรพัฒนา 
ระบบงาน 
การพัฒนาระบบงาน โดยวิธีวัฏจักรระบบงาน หรือ SDLC นี้ 
แบ่งเป็นขั้นตอนต่าง ๆ 
1. การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) 
2. การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 
3. การออกแบบระบบใหม่ (System Design) 
4.การเขียนโปรแกรม (Programming) 
5. การทดสอบระบบ (System Testing) 
6. การติดตั้งระบบ (Implementation) 
7. การเปลี่ยนเข้าสู่ระบบใหม่ (System Conversion)
5.7 บทบาทและหน้าที่ 
ของผู้บริหาร 
ปัญหาที่มักจะเกิดอยู่เสมอก็คือ ผู้ปฏิบัติงาน และ ผู้บริหาร มีความ 
คาดหมายว่านักวิเคราะห์ระบบจะต้องเป็นผู้รับรู้งานทุกอย่างเกี่ยวกับระบบที่ 
เข้ามาพัฒนาเรื่องนี้ไม่จริงเลย นักวิเคราะห์รู้แต่กระบวนวิธีการวิเคราะห์ แต่ 
ไม่ รู้เนื้อหาของสิ่งที่วิเคราะห์ ดังนั้นผู้บริหาร และผู้ปฏิบัติงานจะต้องสื่อสาร 
ให้นักวิเคราะห์เข้าใจถึงลักษณะการทางาน ปัญหาขัดข้อง และ แน ว 
ทางแก้ไขที่ตนเองคิดว่าดีที่สุดผู้บริหารของหน่วยงานกาลังพัฒนาระบบ 
เพื่อให้การทา งานมีประสิทธิภาพมากขึ้น ระบบที่สร้างขึ้นนั้นตนทราบว่า 
หน่วยงานหรือของระบบที่จะพัฒนาระบบ เพื่อให้การทา งานมีประสิทธิภาพ 
มากขึ้น ระบบที่สร้างขึ้นนั้นไม่มีนโยบายที่จะนา มาใช้ไล่คนอก แต่เพื่อให้ 
การทา งานสะดวกขึ้นและบางครั้งอาจต้องมีการโยกย้ายพนักงานบ้างแต่ก็จะ 
เป็นการโยกย้ายในทางที่ดี และ ไปสู้งานที่มีตา แหน่งดีขึ้นการสื่อสารทา 
ความเข้าใจแต่แรกจะทา ความเข้าใจแต่แรกจะทา ให้ปัญหาการต่อต้านน้อยลง
5.8 ผู้บริหารกับทักษะ 
การใช้คอมพิวเตอร์ 
1. โปรแกรมนัดหมายเป็นโปรแกรมที่ใช้สาหรับการบันทึกการนัดหมายของ 
ผู้บริหาร 
2. โปรแกรมสเปรดชีต (Spreadsheet) เป็นโปรแกรมช่วยการคา นวณอย่าง 
ง่าย 
3.โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล (Database) สาหรับใช้ในการจัดการข้อมูลของ 
หน่วยงาน 
4. โปรแกรมประมวลคา (Word Processing) 
5. โปรแกรมนา เสนอคา บรรยาย (Presentation) เป็นโปรแกรมสา หรับจัดทา 
คา บรรยาย ประกอบภาพและสีสันสา หรับใช้ในการบรรยายต่างๆ
5.9 การบริหารกับระบบ 
อินเทอร์เน็ต 
ระบบอินเทอร์เน็ตเกิดจากความจาเป็นของกระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกาในการ 
เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ของสถาบันวิจัยและมหาวิทยาลัยต่างๆ เพื่อให้นักวิจัยที่รับ 
ทุนวิจัยจากกระทรวงกลาโหม สามารถในคอมพิวเตอร์ทางไกลได้ และ สามารถ 
แลกเปลี่ยนข่าวสารกันทางระบบไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ได้ เครือข่ายแรกที่ตั้งขึ้นนี้ 
เรียกว่า ARPANET ซึ่งต่อมาได้แปรสภาพไปเป็นเครือข่ายทางด้านการศึกษา และ วิจัย ที่ 
เรียกว่า อินเทอร์เน็ต 
เมื่อมีผู้สนใจใช้มากขึ้นระบบอินเทอร์เน็ตก็ขยายตัวไปสู่วงการธุรกิจ และ 
เปิดรับสมาชิกไม่จา กัดประเภท ประเทศไทยเราได้เริ่มใช้ระบบอินเทอร์เน็ต เป็นครั้งแรก 
เมื่ออาจารย์ชาวออสเตรเลียนา มาเผยแพร่ และติดตั้งให้ที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 
ต่อมาจึงได้พ่วงต่อไปยังจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย การ 
ใช้ระบบอินเทอร์เน็ตในระยะแรกนี้ยังไม่ได้เป็นแบบออนไลน์ คือ ไม่ได้เชื่อมต่อกับ 
ระบบอินเทอร์เน็ต ตลอดเวลา คงให้ทางประเทศออสเตรเลีย โทรศัพท์เข้ามารับ และ ส่ง 
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์วันละสองหน ต่อมาทั้งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ ศูนย์ 
เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และ คอมพิวเตอร์แห่งชาติ(เนคเทค) ได้เห็นความสาคัญที่ 
จะต้องจัดให้มีเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเชื่อมโยงไปยังมหาวิทยาลัย และ สถาบันการศึกษา 
ต่าง ๆ จึงได้ขออนุมัติการสื่อสารแห่งประเทศไทยเช่าวงจรสื่อสารความเร็วสูงไปยัง 
สหรัฐอเมริกาเพื่อให้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ในประเทศเชื่อมต่อกับระบบอินเทอร์เน็ตได้ 
ตลอดเวลา
5.10 ผู้บริหารราชการใน 
ยุคไอที 
1.มีความรับผิดชอบตองานในหน้าที่ 
2.มีความสามารถในการทา งานร่วมกันเป็นทีม 
3. มีความสามารถในการทา งานได้หลายหน้าที่ 
4. มีความสามารถในการสื่อสารทั้งด้วยการพูดและการเขียน 
5. มีความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษได้ดีเท่าภาษาไทย 
6. มีความสามารถในการวิเคราะห์สถานการณ์ต่างๆ และตัดสินใจ 
ได้อย่างมีเหตุผล โดยอาศัยข้อมูลและสารสนเทศ
5.10 ผู้บริหารราชการใน 
ยุคไอที 
7. มีความสามารถในการสังเคราะห์ และ สร้างสรรค์งานอันเป็น 
ประโยชน์ต่อตัวเองต่อหน่วยงาน ต่อชุมชนและต่อประเทศ 
8. มีความปรารถนาที่จะทา งานให้ได้ผลงานที่มีคุณภาพ 
9. รู้คุณค่าของเวลา 
10. รู้วิธีใช้คอมพิวเตอร์อย่างมีประสิทธิภาพ 
11. รู้จักใช้ระบบอินเทอร์เน็ต 
12. บริหารหน่วยงานอย่างประหยัดไม่ฟุ่มเฟือย 
13. เร่งหาทางพัฒนาบุคลากรใต้บังคับบัญชาให้มีประสิทธิภาพ 
และ มีความเข้าใจไอทีให้มากยิ่งขึ้น
5.11 ระบบอินเทอร์เน็ต 
นั้นมีบริการที่น่าสนใจ 
1. ใช้ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารได้หลายรูปแบบเช่นใช้ส่งข้อความ 
ผ่านระบบไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic mail) 
2. ใช้ในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข่าวสาร เช่น ใช้ระบบ World Wide Web 
(WWW) ในการเผยแพร่ ข่าวสารในรูปแบบของข้อความหลายมิติ 
(Hypertext) WWW นี้ใช้วิธีการสร้างภาพหน้าจอภาพรวมเรียกว่า เว็บเพจ 
(Webpage) และ ภาพแรกสุดของเว็บเพจ เรียกว่าโฮมเพจ (Homepage) เว็บ 
เพจนี้แสดงข้อความต่างๆ เป็นข้อความหลายมิติข้อความที่ปรากฏบนภาพ
5.12 เทคโนโลยีข่าวสาร 
ยุคใหม่สา หรับโครงสร้าง 
ระบบข่าวสารภายใน 
องค์กรดิจิตอล 
องค์กร 
ในปัจจุบันสามารถนาเทคโนโลยีข่าวสารตามที่ได้กล่าวถึงในบท 
ก่อนหน้านี้มาใช้เป็นโครงสร้างระบบข่าวสารภายในองค์กร (Information 
System Infrastructures) ซึ่งมีความสามารถในการประสานงานกิจกรรมทั้ง 
มวลภายในองค์กร หรือภายในอุตสาหกรรมนั้น โครงสร้างระบบข่าวสาร 
ภายในองค์กรสมัยใหม่ช่วงลดค่าใช้จ่ายอย่างมหาศาล สาหรับสาขาองค์กร 
และ รายการทางานต่างๆ ทาให้เกิดรากฐานที่มั่งคงสาหรับการพาณิชย์ 
อิเล็กทรอนิกส์ การทาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ และ องค์กรดิจิตอลโดยมีระบบ 
เครือข่ายที่กว้างขวาง และ ระบบอินเทอร์เน็ตเป็นองค์ประกอบที่สา คัญ
5.13 ระบบเครือข่าย 
องค์กร และ การเชื่อมโยง 
ระหว่างเครือข่ายแสดง 
โครงสร้างของระบบ 
การใช้ระบบเครือข่ายองค์กร (Enterprise Network) และ การ 
เชื่อมต่อระหว่างระบบเครือข่าย (Internet work) จะช่วยในการแลกเปลี่ยน 
ข้อมูลผ่านอุปกรณ์ต่างๆ ภายในองค์กร และ ระหว่างองค์กรกับสิ่งแวดล้อม 
ภายนอกเกิดขึ้นได้อย่างราบรื่นในระบบเครือข่ายองค์กร ฮาร์ดแวร์ 
ซอฟต์แวร์ ระบบเครือข่าย และ แหล่งข้อมูล ถูกจัดให้อยู่ในลักษณะทีช่วย 
เพิ่มประสิทธิภาพในการประมวลผลให้แก่ผู้ใช้งาน และเชื่อมโยงระบบ 
เครือข่าย ขนาดเล็กเข้าด้วยกันอย่างทั่วถึงทั้งองค์กร ดังนั้นแม้จะเป็นองค์กร 
ขนาดเล็ก ก็จะประกอบไปด้วยระบบเครือข่ายจา นวนหนึ่ง ช่องสื่อสารที่มี 
ความกว้างมากจะถูกนามาใช้เป็นช่องสื่อสารอาจนามาใช้เชื่อมต่อระบบ 
เครือข่ายองค์กรเข้ากับระบบเครือข่ายองค์กรนั้น หรือระบบอินเทอร์เน็ต 
หรือระบบเครือข่ายโทรคมนาคมสาธารณะ หรือ ระบบเครือข่ายอื่นๆการ 
เชื่อมต่อระหว่างระบบเครือข่ายขนาดใหญ่ที่มีการจัดการบริหารด้วยตนเอง 
เข้าด้วยกันเรียกว่า การเชื่อมโยงระบบเครือข่าย (Internet work)
5.14 มาตรฐาน และ การ 
เชื่อมต่อสาหรับระบบ 
ดิจิตอลแบบบูรณการ 
การเชื่อมต่อจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อมาตรฐานสาหรับระบบเครือข่าย 
ระบบปฏิบัติการ และ ส่วนติดต่อผู้ใช้ มาตรฐานระบบเปิด (Open System) 
ได้สนับสนุนการเชื่อมต่อระหว่างระบบเครือข่ายโดยการเสนอมาตรฐาน 
สาหรับอุปกรณ์ทุกชนิดเพื่อให้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างระบบ 
เครือข่ายโดยถูกสร้างให้เป็นระบบสาธารณะใช้งานได้กับระบบปฏิบัติการ 
ส่วนติดต่อผู้ใช้มาตรฐานโปรแกรมประยุกต์และระบบเครือข่ายทั่วไป ทา ให้ 
ซอฟต์แวร์สามารถควบคุมการทา งานของฮาร์ดแวร์ต่างชนิดได้ ซึ่งเป็นที่มา 
ของคาว่า Portable ภาษาจาวา ถือได้ว่าเป็นภาษาที่สนับสนุนระบบเปิด 
เช่นเดียวกับระบบปฏิบัติการยูนิกส์
5.15 รูปแบบการ 
เชื่อมต่อสาหรับระบบ 
เครือข่าย 
รูปแบบการเชื่อมต่อสาหรับระบบเครือข่ายมีอยู่หลายชนิด เช่น 
ระบบทีซีพี/ไอที (Transmission Control Protocol/Internet Protocol TCP/IP) 
ได้พัฒนาขึ้นมาโดยกระทรวงกลาโหม ประเทศสหรัฐอเมริกา นา มาใช้ระบบ 
อินเทอร์เน็ตแสดงโครงสร้างของระบบพีซีพี/ไอพีซึ่งประกอบด้วยห้าส่วน 
1. โปรแกรมประยุกต์ เป็นส่วนที่ติดต่อกับผู้ใช้โดยจะแปลงรูปแบบข้อมูล 
2. ทีซีพี(Transmission Control TCP) ทา หน้าที่ในการนา ส่งข้อมูล 
3. โพรโตคอลอินเทอร์เน็ต(Internet Protocol IP) 
4. ส่วนติดต่อระบบเครือข่าย(Network Interface) 
5. ระบบปฏิบัติการเครือข่ายกายภาพ (Physical Net) กา หนดวิธี การควบคุม 
อุปกรณ์รับ-ส่งสัญญาณ
5.15 รูปแบบการ 
เชื่อมต่อสาหรับระบบ 
เครือข่าย 
OSI Model (Open System Interconnection 7 - layer Reference Model) 
OSI Model เป็น medel มาตรฐานในการสื่อสารซึ่งมีวัตถุประสงค์ ใช้สา หรับ 
การสื่อสารระหว่างระบบ 2 ระบบ ระบบจะเปิดการติดต่อสื่อสารในเค้าโครงสาหรับ 
ออกแบบ ระบบเครือข่าย จะอนุญาตให้สื่อสารข้ามทุกรูปแบบของระบบคอมพิวเตอร์แยก 
เป็น 7 ชั้นแต่เกี่ยวเนื่องกันและเป็นรูปแบบมาตรฐาน ISO 
OSI Model ประกอบด้วย 7 Layer 
1. Physical Layer 
2. Data link Layer 
3. Network Layer 
4. Transport Layer 
5. Session Layer 
6. Presentation Layer 
7. Application Layer
5.15 รูปแบบการ 
เชื่อมต่อสาหรับระบบ 
เครือข่าย 
ทั้ง 7 สามารถแบ่งออกได้ 3 กลุ่มย่อย 
กลุ่มที่ 1 Network support layer ได้แก่ Layer 1, 2, 3 
กลุ่มที่ 2 Link ระหว่าง Network support layer กับ user support layer ได้แก่ 
layer 4 
กลุ่มที่ 3 User support layer ได้แก่ layer 5, 6, 7
5.15 รูปแบบการ 
เชื่อมต่อสาหรับระบบ 
เครือข่าย
5.16 รูปแบบการ 
เชื่อมต่อสาหรับระบบ 
เครือข่าย 
โครงสร้างระบบเครือข่ายภายในองค์กรสาหรับองค์กรดิจิตอล 
ระบบอินเทอร์เน็ต (The Internet) เป็นระบบเครือข่ายที่มีผู้รู้จักมากที่สุดใน 
โลก มีขนาดใหญ่มากที่สุด มีการเชื่อมโยงระบบเครือข่ายขนาดต่าง ๆ เข้า 
ด้วยกันเป็นจานวนหลายพันเครือข่าย และ ระบบเครือข่ายขนาดเล็ก อีกนับ 
ไม่ถ้วนที่กระจายอยู่ทั่วโลก ระบบอินเทอร์เน็ตมีขีดความสามารถมากมายที่ 
องค์กรสามารถนาไปใช้ในการสื่อสาร และ แลกเปลี่ยนข้อมูลภายในองค์กร 
หรือระหว่างองค์กรเทคโนโลยี ระบบอินเทอร์เน็ต จึงถูกนามาใช้เป็น 
เทคโนโลยีหลักในการสร้างระบบเครือข่ายภายในองค์กรที่สนับสนุนการ 
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์การทา ธุรกิจ อิเล็กทรอนิกส์ และองค์กรดิจิตอล
5.17 ระบบอินเทอร์เน็ต 
ร ะ บ บ อิน เ ท อ ร์เ น็ต เ ริ่ม น า ม า ใ ช้ใ น ป ร ะ เ ท ศ ส ห รัฐ อ เ ม ริก า โ ด ย 
กระทรวงกลาโหมเพื่อการเชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์สาหรับนักวิทยาศาสตร์ และ 
นักวิจัยทั่วโลกเข้าด้วยกันโดยใช้โพรโตคอลทีซีพี/ไอพี แม้ในปัจจุบันนี้บุคคลทั่วไปก็ยัง 
ไม่สามารถเชื่อมต่อ เข้ากับระบบอินเทอร์เน็ตได้โดยตรง แต่จะเชื่อมต่อเข้ากับจุดติดมี 
องค์กรตัวแทนเรียกว่า ไอเอสพี (Internet Service Provider) เป็นผู้ใช้บริหาร เช่น บริษัท 
เอเชียเน็ต ฯ บริษัทสามารถ ฯ บริษัทเอสซีฯเป็นต้น 
สิ่งที่น่าทึ่งมากที่สุดเรื่องหนึ่งของระบบอินเทอร์เน็ตคือ ระบบอินเทอร์เน็ตไม่ 
มีเจ้าของ และไม่มีองค์กรที่ทาหน้าที่บริหารจัดการอย่างเป็นทางการ การที่ไม่มีจุด 
ศูนย์กลางของระบบทา ให้กลายเป็นข้อดีอีกประการหนึ่งคือ ไม่มีผู้ใดสามารถปิดการใช้ 
บริการระบบอินเทอร์เน็ต(ทั้งระบบ) ได้ไม่ว่าจะโดยเจตนาหรือไม่ก็ตาม ผู้เชี่ยวชาญกลุ่ม 
หนึ่งให้ความเห็นว่าจะต้องปิดเครื่องเซิฟเวอร์ในระบบฯ นี้ประมาณหนึ่งล้านเครื่องตาม 
สถานีที่ ต่าง ๆ ทั่วโลกพร้อมกันจึงจะทา ให้ระบบ ฯ นี้หยุดทา งาน
5.18 เทคโนโลยี 
อินเทอร์เน็ต และ การ 
ให้บริการ 
อุปกรณ์ การใช้งาน ตัวอย่าง 
เครื่องพีซี เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล Dell, IBM, Compaq 
เครื่องเน็ตเวิร์คพีซี เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่ออกแบบสาหรับการใช้งาน 
กับระบบอินเทอร์เน็ตโดยเฉพาะ 
Sun Ray 
เพจเจอร์ สามารถรับข้อความจากจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ได้ในระดับ 
จา กัด 
Motorola 
โทรศัพท์มือถือรุ่นใหม่โทรศัพท์มือถือที่มีจอภาพขนาดใหญ่และมีแป้นพิมพ์ขนาด 
เล็กสาหรับการโต้ตอบ 
Nokia 7110 
เครื่องเล่นเกม เครื่องเล่นเกมรุ่นใหม่สามารถเชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่าย 
ได้ 
Sega Dreamcast 
พีดีเอ อุปกรณ์มือถือที่มีความสามารถคล้ายเครื่องพีซีในระดับที่ 
จา กัดมาก 
Palm VII 
เครื่องอีเมล์ อุปกรณ์ที่ออกแบบมาเฉพาะสาหรับการรับและส่งจดหมาย 
อิเล็กทรอนิกส์ทา งานแบบไร้สาย 
Mail station 
เครื่องเซทอปบ๊อซ นา ระบบโปรแกรมเว็บบราวเซอร์เข้ามาทา งานร่วมกับ 
เครื่องรับโทรทัศน์ที่บ้าน 
Web TV
5.19 บริการสาหรับการ 
สื่อสารบนระบบ 
อินเทอร์เน็ต 
ชื่อบริการ งานที่ให้บริการ 
อีเมล์ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ 
Usenet กลุ่มสนทนาและกระดานอิเล็กทรอนิกส์ 
LISTSERVs กลุ่มสนทนาและจดหมายอิเล็กทรอนิกส์เฉพาะ 
กลุ่ม 
Chatting การสนทนาผ่านเน็ต 
เทลเน็ต การเข้าไปใช้บริการในคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น 
เอฟทีพีการถ่ายโอนหรือทา สา เนาแฟ้มข้อมูล 
โกเฟอร์ การค้นหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ต การท่องใน 
อินเทอร์เน็ตโดยใช้ไฮเปอร์ลิงค์
5.20 การสืบค้นข้อมูล 
บนระบบอินเทอร์เน็ต 
- การสืบค้นข้อมูล (Information retrieval) บนระบบอินเทอร์เน็ตเป็นบริการ หรือ หน้าที่ 
ลาดับที่สองของ ระบบอินเทอร์เน็ตที่มีให้แก่ผู้ใช้ ฐานข้อมูลจานวนมากเช่น ฐานข้อมูล 
ห้องสมุดหลายพันแห่งที่ได้รับการออนไลน์แก่ผู้คนทั่วไป เช่น Libray of Congress, 
university of California, และ Harvard University เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีฐานข้อมูล ของ 
องค์กรเอกชน อีกจา นวนที่ใช้บริการข้อมูลในทา นองเดียวกันทั้งแบบให้ฟรี และ แบบคิด 
ค่าบริการเนื่องการจากระบบอินเทอร์เน็ต มีขนาดใหญ่มากและ ไม่มีศูนย์กลางการควบคุม 
การสืบค้นข้อมูล จึงกระทาได้ยากลาบากมาก เอฟทีพี และ โกเฟอร์ เป็นซอฟต์แวร์ที่ 
อา นวยความสะดวกในการสืบค้น และ ดึงข้อมูลที่ต้องการใช้แก่ผู้ใช้ 
- เอฟทีพี(File Transfer Protocl: FTP) เอฟทีพีเป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการถ่ายโอนหรือทา 
สา เนาแฟ้ม ข้อมูลผ่านระบบอินเทอร์เน็ต ผู้ใช้จะต้องทราบที่อยู่ของโฮสที่ต้องการเพื่อใช้ 
โปรแกรมนี้ล็อกออน เข้าไปที่โฮสนั้นและจัดการส่งแฟ้มข้อมูลไปเก็บไว้ที่โฮสหรือ 
คัดลอกแฟ้มข้อมูลมาจากโฮสได้ 
- โกเฟอร์(Gophersเป็นซอฟต์แวร์อีกตัวหนึ่งที่ช่วยผู้ใช้ค้นหาแฟ้มข้อมูลที่ต้องการผ่าน 
ระบบอินเทอร์เน็ต และ มีความสามารถในการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูลได้เช่นเดียวกับ 
โปรแกรมเอฟทีพี โกเฟอร์เป็นซอฟต์แวร์ประเภทผู้ให้บริการ และผู้ใช้บริก าร 
(Client/Server system)
5.21 ระบบอินเทอร์เน็ต 
รุ่นใหม่: บรอดแบนด์ 
และ ระบบอินเทอร์เน็ต 
โปรแกรมประเภทเว็บ (Web-based computing) ในปัจจุบันมีข้อมูลเป็นเสียง 
(sound and voice) กราฟิก (graphics) และวิดีทัศน์(full-motion video) เกี่ยวข้องด้วย 
ปริมาณมาก โดยเฉพาะแนวโน้มการใช้งาน ในอนาคต จะยิ่งมีข้อมูลประเภทเหล่านี้มาก 
ขึ้นเรื่อยๆ ทา ให้เกิดปัญหากับระบบเครือข่ายที่เริ่มถึงจุดอิ่มตัว ในบางส่วนก็ไม่ตอบสนอง 
ความต้องการของผู้ใช้ได้ ผู้ใช้จึงสามารถสังเกตเห็นความล่าช้า ในการใช้งานได้ 
โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีผู้ใช้งานเป็นจา นวนมากอาจมีอาการคล้ายกับหยุดนิ่งเกิดขึ้นได้ 
ระบบอินเทอร์เน็ต ในปัจจุบันจึงไม่น่าเชื่อถือ และ ไม่มีความมั่นคงเพียงพอต่อการใช้งาน 
ประยุกต์ทางธุรกิจที่มีความสาคัญ มาก ๆ ได้นักวิทยาศาสตร์ และ นักวิจัยกาลังดาเนินการ 
ปรับปรุงขยายขีดความสามารถของระบบอินเทอร์เน็ตให้มีประสิทธิภาพสูงกว่าเดิมเรียก 
ระบบใหม่ว่า ระบบอินเทอร์เน็ต 2 (Internet 2) ซึ่งอยู่ในขั้นการทดลองระบบอินเทอร์เน็ต 
2 มี โพรโตคอลใหม่เป็นของตนเองรวมทั้งความสามารถในการถ่ายเทข้อมูลที่ความเร็วสูง 
มาก ผ่านระบบเครือข่ายหลักรียกว่า (gigapops)ซึ่งจะเชื่อมต่อระหว่างโฮสขนาดใหญ่เข้า 
ด้วยกัน มีความเร็วในการสื่อสารขั้นต่า 1 พันล้านบิตต่อวินาที
5.22 เครือข่าย WWW 
เครือข่าย WWW (World Wide Web) หรือเรียกสั้นๆ ว่า เครือข่ายเว็บเป็น 
องค์ประกอบที่สาคัญที่สุดที่ผลักดันให้เกิดการใช้งานระบบอินเทอร์เน็ต 
ในทางธุรกิจ เครือข่ายเป็นระบบที่มาตรฐานสากลที่ยอมรับทั่วโลกในการ 
รวมข้อมูลการกระจายและ การแสดงผลข้อมูลที่มีโครงสร้างแบบผู้ให้บริการ 
และผู้ใช้บริการ (Client/Server architecture) เครือข่ายเว็บมีความสามารถใน 
การจัดการข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์หลายรูปแบบที่ครอบคลุมความต้องการของ 
ผู้ใช้ส่วนใหญ่มีส่วนติดต่อผู้ใช้แบบกราฟิกที่น่าสนใจและใช้งานได้ง่าย ใช้ 
คา สั่งประเภท Hypertext Markup Language(HTML)ในการเชื่อมโยงข้อมูล 
รวมทั้งเว็บต่างๆ เข้าด้วยกัน
5.23 โปรแกรมเว็บ 
บราวเซอร์ เป็น 
ซอฟต์แวร์ที่รู้จักและ 
สามารถทางานร่วมกับ 
มาตรฐาน HTML ได้ 
เป็นอย่างดี 
องค์กรนาเสนอข้อมูลข่าวสารในระบบอินเทอร์เน็ตในรูปแบบของโฮมเพจ 
(Homepage) ประกอบด้วยภาพ และ ข้อความสวยงามน่าสนใจ โดยปกติจะเป็นการ 
นา เสนอข้อมูลที่องค์กรนั้นๆ ต้องประกอบด้วยหมายไปถึงผู้ที่มาเยี่ยมชมซึ่งอาจจะเป็น 
การให้ความรู้ด้านต่างๆ การให้ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กรหรือการโฆษณาขายสินค้า และ 
บริการ โดยทั่วไปแล้วโฮมเพจเป็นจุดเริ่มต้นเสมือนประตูบ้านที่จะนา พาผู้ชมไปยังเว็บ 
เพจ (Web Page) หน้าอื่นๆ ข้อมูลทั้งหมดจะถูกเก็บไว้ไซท์ (Web Site) ซึ่งติดต่ออยู่ที่ 
เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งที่มี โปรแกรมควบคุมทา หน้าที่เป็นเว็บเซิร์ฟเวอร์ (Web 
Server) ผู้ที่มีหน้าที่ดูแลจัดการเว็บไซต์เรียกว่า (เว็บมาสเตอร์) (Web Master) 
โปรแกรมเว็บบราวเซอร์เป็นโปรแกรมที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าไปเยี่ยมชม 
เว็บไซต์ต่างๆ ได้โดยสะดวก โดยผู้ที่ใช้จะต้องทราบที่อยู่ของเว็บไซท์ที่ต้องการรูปแบบ 
เรียกว่า Uniform Resource Locator (URL) เช่นเว็บไซท์ของบริษัท Prentice Hall มีที่อยู่ 
URL คือ http://www.prenhall.com คา ว่า (http) ย่อมมาจาก (hypertext transport protocol) 
เป็นโพรโตคอลที่ใช้ในการรับและส่งข้อมูลเว็บเพจ
5.24 การสืบค้นหา 
ข้อมูลบนเครือเว็บ 
วิธีการค้นหาเว็บเพจในเสิร์ชเอ็นจินที่นิยมใช้มีอยู่สองวิธีคือ การ 
ลงทะเบียน หมายถึง การเปิดให้เว็บไซต์ต่าง ๆ ส่งข้อมูลเกี่ยวกับเว็บไซต์ 
ตนเองมาเก็บไว้ที่เว็บไซต์ผู้ใช้บริการ โดยความสมัครใจ และ การใช้ 
ซอฟต์แวร์สืบค้น เช่น Spiders, bots, และweb crawlers ซึ่งจะเข้าไปค้นหา 
เว็บไซต์ที่ละไซต์และเก็บรวบรวมข้อมูลของเว็บไซท์นั้นเพื่อการจัดทา 
สารบัญ โปรแกรม shopping bots เป็นโปรแกรมประเภทเอเย่นต์ (Agemts) 
ที่ออกแบบมาสา หรับการช่วยเหลือผู้ที่ต้องการซื้อสินค้าหรือบริการผ่านทาง 
เน็ต เมื่อผู้ใช้กา หนดคุณลักษณะของสิ่งที่ต้องการแล้ว โปรแกรมนี้จะจัดการ 
ค้นหาเปรียบเทียบแยกประเภทและสรุปรายการสินค้าหรือบริการ ให้โดย 
อัตโนมัติ
5.25 การบรอดคาสและ 
“Push” เทคโนโลยี 
ผู้ใช้ที่นิยมใช้บริการผ่านระบบอินเทอร์เน็ตมีทางเลือกใหม่ ในการรับ 
ข่าวสาร เรียกว่า “Push”เทคโนโลยี คือแทนที่ผู้ใช้จะท่องไปในเว็บเพื่อค้นหา 
ข้อมูลที่ต้องการ ผู้ใช้สามารถให้ข้อมูลที่ต้องการนั้นส่งเข้ามายังเครื่องผู้ใช้ 
โดยอัตโนมัติ นั่นคือเว็บของผู้ให้บริการจะจา ที่อยู่ ของผู้ใช้ (อาจใช้วิธีการ 
ลงทะเบียน) เอาไว้ เมื่อมีข้อมูลที่น่าสนใจก็จะส่งข้อมูลนั่นด้วยวิธีการบรอด 
คาส (broadcast) เทคโนโลยีเก่า ที่ใช้กันเป็นส่วนมาก คือ “Push” เทคโนโลยี 
นั่น คือตัวผู้ใช้จะต้องเข้าไปที่เว็บไซต์เพื่อดึงข้อมูลที่ต้องการมาด้วยตนเอง 
โปรแกรม Microsoft,s internet Explorer และ Netscape Communicator มี 
เทคโนโลยี “Push” อยู่ในตัวซึ่งจะคอยติดต่อกับเว็บไซต์ที่ผู้ใช้ต้องการ และ 
แสดงผลเมื่อเว็บไซต์นั้น ๆ ที่มีข้อมูลใหม่ที่ผู้ใช้สนใจโดยอัตโนมัติ วิธีการ 
ส่งข้อมูลแบบจา เพาะเจาะจงในลักษณะนี้ว่า มัลลิคาส(Multicast)ซึ่งเป็นวิธี 
เดียวกันกับที่ใช้ใน LISTSERVs (แต่ในLISTSERVs ใช้ในส่งข้อมูลผ่าน 
อีเมลล์) ในตลาดการค้าที่สา คัญหลายแห่งก็ใช้วิธีการนี้ในการแจ้งเตือนราคา 
สินค้าที่เปลี่ยนแปลงไปให้ลูกค้าของตนทราบ
5.26 อินทราเน็ต และ 
เอ็กซ์ทราเน็ต 
เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตและเทคโนโลยี เว็บมีมาตรฐานและประสิทธิภาพใน 
ระดับที่ดีมาก จึงมีการนาเทคโนโลยีทั้งสองแบบนี้มาใช้สร้างเป็นระบบ 
เครือข่ายเรียกว่า ระบบอินทราเน็ต (Intranet) ซึ่งเป็นระบบเครือข่ายภายในที่ 
สามารถให้บริการได้ในทุส่วนขององค์กรระบบนี้ใช้โครงสร้างระบบ 
เครือข่ายเดิมขององค์กรผนวกเข้ากับมาตรฐาน การเชื่อมโยงของเทคโนโลยี 
อินเทอร์เน็ตและซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นมาสา หรับเว็บ ช่วยให้มีความสามารถ 
ในการใช้งานโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ได้จากเครื่องคอมพิวเตอร์หลายชนิด 
ที่องค์กรมีใช้งานอยู่ก่อนแล้ว รวมทั้งอุปกรณ์มือถือรวมทั้งอุปกรณ์มือถือ 
สมัยใหม่ต่างๆ
5.27 เทคโนโลยี 
อินทราเน็ต 
ระบบอินเทอร์เน็ตเป็นระบบเปิดกว้างสาหรับทุกคน แต่ระบบอินทราเน็ต 
(Intranet) เป็นระบบปิดที่ไม่อนุญาตให้บุคคลภายนอกสร้างงานได้โดยมี ไฟร์วอล 
(Firewall) ทาหน้าที่ รักษาความปลอดภัยโดยจะตรวจสอบ และไม่อนุญาตให้ 
บุคคลภายนอกองค์กรผ่านเข้ามายังระบบอินทราเน็ตภายในองค์กรได้ ไฟร์วอลประกอบ 
ด้วยฮาร์ดแวร์ และ ซอฟต์แวร์ที่วางกั้นกลางระหว่างจุดเชื่อมต่อระบบเครือข่ายภายใน 
องค์กร และ ระบบเครือข่ายภายนอกซึ่งรวมทั้งระบบอินเทอร์เน็ตเน็ตด้วยไฟร์วอลถูก 
ออกแบบมาสา หรับการดักจับข้อมูลที่ส่งผ่านระหว่างระบบเครือข่ายทั้งสองตรวจสภาพ 
โครงสร้าง ข้อมูล และ ทา ลายทุกข้อมูลที่ไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าสู่ภายในระบบ 
องค์กรสามารถนาระบบอินทราเน็ตไปพัฒนาใช้งานได้โดยไม่จาเป็นต้องจัดหาอุปกรณ์ 
ใหม่เนื่องจากระบบนี้สามารถทา งานบนระบบเครือข่ายได้เกือบทุกชนิด ซอฟต์แวร์ที่ 
นา มาใช้นั้นก็เป็นซอฟต์แวร์ตัวเดียวกับที่ใช้นารสร้างเว็บจึงสามารถสร้างเว็บเพจด้วย 
ภาษา HTML นา มาใช้ในการนา เสนอข้อมูลรวมทั้งเว็บบราวเซอร์และเว็บเซิฟเวอร์ทา งาน 
บนโพรโตคอลทีซีพี/ไอพีโดยมีโฟร์วอลเป็นยามรักษาการณ์
5.28 เอ็กซ์ทราเน็ต 
องค์กรบางแห่งอนุญาตให้ผู้ใช้บางกลุ่มซึ่งอาจเป็นพลังงาน หรือ 
ลูกค้าสามารถเข้ามาเชื่อมโยงกับระบบอินเทอร์เน็ตในองค์กรของตนเองได้ 
ในระดับจา จัด(การใช้งานในระบบที่ไม่จา จัด ก็คือเปิดไปเว็บไซต์หนึ่งใน 
ระบบอินเทอร์เน็ต) หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นระบบอินทราเน็ตที่เปิดกว้างไปสู่ 
ระบบเครือข่ายภายนอก ซึ่งเรียกระบบนี้ว่า ระบบเอ็กซ์ทราเน็ต (Extranet) 
เช่น ศูนย์บริการ ซ่อมรถยนต์ขนาดใหญ่ อาจเปิดให้ลูกค้าที่นารถมาซ่อมเข้า 
มาดูรายละเอียดข้อมูลการซ่อมรถตนเองซึ่งเป็นข้อมูล ในระบบอินทราเน็ต 
ภายในองค์กรผ่านระบบอินเทอร์เน็ตซึ่งเป็นระบบภายนอกองค์กรได้องค์กร 
สามารถนา ไฟร์วอลใช้เพื่อกาหนดสิทธิและขอบเขตการใช้ข้อมูลจาก 
ภายนอก และ ใช้ในการตรวจสอบผู้ใช้ภายนอก ระบบนี้จึงมีประโยชน์มาก 
สาหรับองค์กรที่มีการเชื่อมโยงกับผู้ใช้ทางอิเล็กทรอนิกส์อย่างใกล้ชิด 
รวมทั้งการแลกเปลี่ยนข้อมูลระบบอีดีไอ
5.29 ระบบเว็บไร้สาย 
ระบบไร้สายช่วยให้ผู้ใช้อุปกรณ์สื่อสารไร้สายเชื่อมต่อกับระบบ 
อินเทอร์เน็ตได้ในสถานที่ที่ต้องการสามารถใช้ประโยชน์จากข้อ มูล 
อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งจะต้องมีวิธีการเชื่อมต่อรวมทั้งการนา เสนอข้อมูลในรูปแบ 
ที่แตกต่างกันออกไป ระบบเว็บไร้สายจึงไม่ใช่ระบบอินเทอร์เน็ตไร้สาย 
งานประยุกต์ประเภท location-based มีการจัดตั้ง สาหรับคนที่มี 
ความสนใจเฉพะกลุ่มเฉพาะเรื่อง เมื่อผู้ใช้ติดต่อเข้ามาทางระบบไร้สายตัว 
โปรแกรมจะค้นที่สถานที่อยู่ผู้ใช้ในขณะนั้น และ จัดการส่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 
ที่มีสถานที่เป็นตัวกาหนดมาให้ เช่น การใช้โทรศัพท์มือถือในการติดต่อทาง 
ศูนย์ให้บริการจะทราบที่อยู่ของผู้ใช้และอาจส่งข้อมูลเกี่ยวกับสถานีบริการ 
น้ามันมาให้โทรศัพท์มือถือของผู้ใช้ก็สามารถแสดงแผนที่สถานีบริการ 
น้า มันที่ใกล้เคียงได้ ซึ่งถ้าผู้ใช้เปลี่ยนสถานที่อยู่ตา แหน่งของสถานีบริการ 
น้า มันที่ใกล้เคียงก็อาจเปลี่ยนไป
5.29 ระบบเว็บไร้สาย 
บริการ M-commerce การประยุกต์ 
บริการเกี่ยวกับข่าวสาร ให้บริการข่าวสารทั่วไป อีเมลล์ การ 
ค้นหาสถานบริการน้า มันโรงภาพยนตร์ 
ร้านอาหาร โดยใช้โทรศัพท์มือถือหรือพีดี 
เอ 
บริการเกยี่วกับรายการทางาน ให้บริการทา ธุรกรรม เช่น การซื้อหุ้นซื้อ 
บัตรคอนเสิร์ต ค้นหาราคาสินค้า 
บริการส่วนบุคคล ให้บริการที่เฉพาะเจาะจงสาหรับความ 
ต้องการของลูกค้าแต่ละราย
5.30 มาตรฐานสาหรับ 
ระบบเว็บไร้สาย 
มาตรฐานสาหรับเว็บไร้สายมีอยู่ 2 แบบคือ มาตรฐานระบบ WAP (Wireless Application 
Protocol) และ มาตรฐานระบบ l-mode ระบบ WAP คือระบบที่ประกอบด้วยโพรโตคอล 
และเทคโนโลยีที่ช่วยให้เซลล์สื่อสาร และ อุปกรณ์สื่อสารไร้สายทีมีจอแสดงผลขนาดเล็ก 
มากมีการเชื่อมต่อผ่านช่องสัญญาณขนาดเล็ก และ มีการเรียกใช้ข้อมูลบนเว็บในปริมาณ 
ที่น้อยมาก ระบบ WAP ภาษาควบคุมเรียกว่า Wireless Markup Language (WML) ซึ่งมี 
พื้นฐานมาจากภาษา XML จึงใช้วิธีการอธิบายคุณสมบัติของข้อมูลแทนที่จะบอกเพียง 
วิธีการแสดงผล ผู้ใช้มีอุปกรณ์สื่อสารประเภท WAP เช่น โทรศัพท์มือถือบางรุ่นจะใช้ 
โปรแกรมบราวเซอร์ขนาดเล็กมาก Micro browser ในการท่องไปในเว็บได้คล้ายกับการ 
ใช้บราวเซอร์ในเครื่องพีซี การขอดูข้อมูลจะกระทาผ่าน WAP เกตเวย์(WAP gateway) 
ซึ่งจะรับข้อมูลจากเครื่องเซิบเวอร์ในรูปแบบภาษา HTML หรือ WML แล้วเปลี่ยน 
รูปแบบไปเป็น WML ก่อนที่จะส่งกลับมาที่โทรศัพท์มือถือซึ่งจะสามารถดูข้อความ 
เหล่านั้นได้ ความซับซ้อนในการเปลี่ยนรูปแบบนี้อาจมีผลทา ให้ความล่าช้าในการสื่อสาร 
ได้
5.31 ความท้าทายใน 
M –Commerce 
การใช้ m-commerce 
การที่จะใช้ เกิดขึ้นได้นั้นจึงต้องมีการพัฒนาเว็บไซต์ขึ้นมาใหม่เพื่อบริการ 
ระบบไร้สายโดยเฉพาะปัญหาบางประการก็ได้รับแก้ไขหรือมีแนวทางการแก้ไขบ้างแล้ว 
เช่น การนา เทคโนโลยีVoice portrays เข้ามาใช้งานซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่ช่วยให้อุปกรณ์ไร้ 
สายสามารถเข้าใจคาสั่งที่เป็นเสียงพูดได้ ผู้ใช้จึงไม่เป็นต้องพิมพ์ข้อความที่ต้องการ (ลง 
บนแป้นพิมพ์ขนาดจิ๋ว) แต่ใช้การออกคา สั่งแทน ตาราง9-6 แสดงตัวอย่างของเทคโนโลยี 
Voice portrays และในส่วนของการตอบสนองก็สามารถใช้เป็นเสียงพูดแทนการแสดงผล 
(บนหน้าขนาดจิ๋ว) 
Voice portrays การประยุกต์ 
Hey Anita ผู้ใช้บริการรับและส่งอีเมลล์ด้วยเสียงพูด สามารถรับฟัง 
ภาษาอังกฤษ เกาหลี จีนกลาง และสเปน 
Tell Me Networks Inc ผู้ใช้สามารถเรียกบริการแท็กซี่โรงแรมบางแห่งได้ 
Be Bocal ช่วยผู้ใช้ในการค้นหาบริการบางอย่าง เช่น สถานที่ส่ง 
พัสดุ FedEx หรือทิศทางบนถนน 
Audio point Inc ให้ข่าวสารเกี่ยวกับรัฐสภาสหรัฐ ข่าวอากาศ และข่าว 
ทั่วไปในเขตเมืองวอชิงตันดีซี
5.32 ผลประโยชน์ที่ 
องค์กรได้รับจากระบบ 
อินเทอร์เน็ต และ 
เทคโนโลยีเว็บระบบ 
อินเทอร์เน็ต และ ระบบ 
อินทราเน็ต และ อิน 
เอ็กซ์เน็ต 
ถูกนามาใช้เป็นเทคโนโลยีพื้นฐานสาหรับการพาณิชย์เล็กทรอ 
นิกส์ การทาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ และ องค์กรดิจิตอลสมัยใหม่เนื่องจาก 
เทคโนโลยีเหล่านี้ให้ประโยชน์ต่อองค์กรมากระบบอินเตอร์มีการใช้งาน 
แพร่หลายไปทั่วโลก ใช้งานง่ายมีค่าใช้จ่ายต่า และ มีความสามารถในการนา 
เทคโนโลยี มัลติมีเดียมาสร้าง โปรแกรมประยุกต์ที่มีระบบโต้ตอบรวมทั้ง 
การให้บริการต่างๆแก่ผู้ใช้ซึ่งช่วยลดค่าใช้จ่ายในการสื่อสาร การทา ธุรกรรม 
ช่วยเพิ่มความสามารถในการทางานร่วมกันและช่วยให้การแพร่ข่าวสาร 
ความรู้ภายในองค์กรได้อย่างรวดเร็ว
5.33 การเชื่อมต่อไปยัง 
ระบบเครือข่ายทั่วโลก 
คุณค่าที่สาคัญมากของระบบอินเทอร์เน็ตคือ 
ความสามารถในการเชื่อมต่อทางอิเล็กทรอนิกส์กับผู้คนมากมาย 
จากสถานที่ต่าง ๆ ทั่วโลกได้อย่างง่ายดายโดยมีค่าใช้จ่ายที่ต่า มาก ช่วยให้ 
องค์กรสามารถติดต่อกับลูกค้าได้อย่างกว้างขวาง และ ทั่วถึงรวมทั้งการเชื่อม 
ต่อกับบริษัทคู่ค้าได้โดยตรง ไม่ว่าบริษัทหรือองค์กร นั้นจะอยู่ใกล้เพียงใด 
ข้ามถนนหรืออยู่คนละซีกโลกก็ตาม หรือนา มาใช้เป็นเครื่องมือสื่อสารใน 
การรวมตัวกันเป็นองค์กรระหว่างชาติได้เป็นอย่างดี 
ระบบอินเทอร์เน็ตยังช่วยทา ให้การร่วมมือระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ 
ภายในองค์กรเดียวกันเป็นไปได้อย่างราบรื่นสะดวกรวดเร็วด้วยค่าใช้จ่ายที่ 
ต่า มากเช่นกัน โดยเฉพาะองค์กรที่มีหน่วยแยกไปตั้งอยู่ที่สถานที่อื่นก็จะช่วย 
ในหน่วยแยกนั้นสามารถติดต่อกับส่วนกลางได้อย่างดีเหมือนเป็นปกติ 
องค์กรขนาดเล็กที่เคยมอง เห็นปัญหาการติดต่อค้าขายกับต่างชาติเป็นเรื่องที่ 
ต้องมีการลงทุนสูงมากสามารถนาระบบอินเทอร์เน็ตเข้าไปใช้เพื่อลด 
ค่าใช้จ่ายส่วนนี้ลงไปได้

More Related Content

What's hot

ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศnprave
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11Jaohjaaee
 
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการบทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการPrakaywan Tumsangwan
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศjureeratlove
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศPrakaywan Tumsangwan
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายSassygirl Sassyboy
 
นวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศนวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศWisut Lakhamsai
 
โคงงานคอมพิวเตอร์
โคงงานคอมพิวเตอร์โคงงานคอมพิวเตอร์
โคงงานคอมพิวเตอร์Chalermkiat Aum
 

What's hot (13)

ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการบทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
5 1 18 ดวงแข ผิวทอง
5 1 18 ดวงแข     ผิวทอง5 1 18 ดวงแข     ผิวทอง
5 1 18 ดวงแข ผิวทอง
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
รายงาน Project2
รายงาน Project2รายงาน Project2
รายงาน Project2
 
นวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศนวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศ
 
โคงงานคอมพิวเตอร์
โคงงานคอมพิวเตอร์โคงงานคอมพิวเตอร์
โคงงานคอมพิวเตอร์
 

Similar to บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร

38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศOrapan Chamnan
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศOrapan Chamnan
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ Peem Jirayut
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ Thanawut Rattanadon
 
ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]orathai
 
ใบงาน เรื่องลักษณะข้อดีและข้อด้อยของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
ใบงาน เรื่องลักษณะข้อดีและข้อด้อยของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ใบงาน เรื่องลักษณะข้อดีและข้อด้อยของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
ใบงาน เรื่องลักษณะข้อดีและข้อด้อยของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์Vida Yosita
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2pianojrtk
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2pianojrtk
 
Computer project3
Computer project3Computer project3
Computer project3ning1414
 

Similar to บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร (20)

Sallai pro
Sallai proSallai pro
Sallai pro
 
Project Sky
Project SkyProject Sky
Project Sky
 
Chapter 02
Chapter 02Chapter 02
Chapter 02
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]
 
ใบงาน เรื่องลักษณะข้อดีและข้อด้อยของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
ใบงาน เรื่องลักษณะข้อดีและข้อด้อยของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ใบงาน เรื่องลักษณะข้อดีและข้อด้อยของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
ใบงาน เรื่องลักษณะข้อดีและข้อด้อยของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Computer project3
Computer project3Computer project3
Computer project3
 

บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร

  • 2. 5.1 การจัดการเทคโนโลยี สารสนเทศ การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้แนวคิด POSCORB P คือ PLANNING งานขนั้แรกเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศก็ คือ การวางแผน หากปราศจากการวางแผนที่ดีแลว้ การนา ไอทีมาใช้ก็สามารถเป็น งานที่ปราศจากเป้าหมายและทิศทาง ไม่รูว้่าจะนา เราไปสู่อะไรกันแน่
  • 3. 5.1 การจัดการเทคโนโลยี สารสนเทศ การวางแผนเทคโนโลยีสารสนเทศนนั้เป็นงานที่ผู้บริหารของหน่วยงาน จะต้องใหค้วามสนใจเป็นพิเศษแผนไอที หน่วยงานจะต้องสอดคลอ้งกับแผนระยะ ยาว หรือ แผนกลยุทธ์ของหน่วยงานเอง ก่อนที่จะมีแผนไอที หน่วยงานจะต้องจัดทา แผนระยะยาว หรือ แผนกลยุทธ์ของหน่วยงานขึ้นก่อนแผนระยะยาวของหน่วยงาน นนั้ จะระบุว่าในสามถึงห้าปีขา้งหน้า หน่วยงานจะดา เนินงานอย่างไร จะขยายตัว อย่างไร และ จะทา อะไรต่อไปในอนาคตสา หรับกลยุทธ์นนั้มีลักษณะเหมือนแผน ระยะยาว เพียงแต่เน้นว่าหน่วยงานจะเปลี่ยนแนวทางการดา เนินธุรกิจไปจับแนวทาง ใหม่ หรือมีนบายใหม่อย่างไรบา้ง ผูบ้ริหารจะตอ้งมีทีมงานสา หรับ นา แผนระยะยาว หรือ แผนกลยุทธ์ของหน่วยงานมาศึกษา ต้องรวบรวมขอ้มูลว่าหน่วยงานอื่นที่ เกี่ยวขอ้งนนั้ไดใ้ช้ ไอที ทา อะไร ไปแลว้บา้ง และมีแนวทางจะประยุกต์ไอที อย่างไร ต่อไป จะต้องศึกษาสิ่งแวดล้อม ว่ากาลังมุ่งหน้าไปทางใด ต่อจากนั้นก็จะต้อง พิจารณาว่าควรนา ดา้นใดมาใชกั้บหน่วยงานบา้ง หน่วยงาน มีความพร้อมทาง ดา้น อุปกรณ์และกา ลังคนมากน้อยแค่ไหน เมื่อพิจารณา เสร็จแลว้ก็จัดวางแผนทางดา้น ไอทีที่ทุกคนในหน่วยงานยอมรับไดอ้อกมาใชเ้ป็นแนวทาง
  • 4. 5.2 แผนงานด้านไอทีที่ เหมาะสมนั้นมีดังนี้ 1. โครงสร้างระบบสารสนเทศ หมายถึง แผนงานที่กา หนดว่าหน่วยงานควรมีระบบ สารสนเทศอะไรบา้งใน ช่วง 3 ถึง 5 ปีขา้งหน้า ระบบเหล่านี้ใช้ฐานขอ้มูลอะไร และ สัมพันธ์กับอย่างไร 2. โครงสร้างฐานข้อมูล หมายถึง แผนงานที่กาหนดว่าหน่วยงานจะต้องสร้าง ฐานขอ้มูลอะไรบา้ง และฐานขอ้มูลเหล่าสัมพันธ์กันอย่างไร 3. โครงสร้างระบบเครือข่าย หมายถึง แผนงานที่กา หนด ว่าหน่วยงานควรจะสร้าง ระบบเครือข่ายเชื่อมโยงกันอย่างไร ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อมโยงภายใน หรือเชื่อมโยงกับ หน่วยงานภายนอก 4. รายละเอียดมาตรบานอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และระบบเครือข่าย ที่ควรจัดหามาใช้ ในงานต่างๆ ของหน่วยงาน 5. แนวทางการประยุกต์ หรือ จัดทา ระบบสารสนเทศโดยพิจารณาจากความจา เป็น เร่งด่วนความต้องการของ ผูบ้ริหาร ความชา นาญของบุคลากร และความเป็นไปได้ ทางเทคโนโลยี
  • 5. O คือ ORGANIZING การจัดรูปแบบงาน ไอทีเป็นงานที่มีความสาคัญอย่างยิ่ง หน่วยงาน หรือบริษัท ขนาดใหญ่นั้นจาเป็นจะต้องมีกลุ่มสาหรับบริหาร และ ปฏิบัติการด้านไอที มินั้นแล้ว การดาเนินงานก็จะไม่ราบรื่นโดยปกติ หน่วยงาน หรือบริษัทขนาดใหญ่จา เป็นจะต้องตั้งศูนย์คอมพิวเตอร์ และ กา หนดให้ผู้บริหารงานเทคโนโลยีสารสนเทศมีตา แหน่ง บริหารระดับสูงถึง ขนาดรองประธานบริษัท ซึ่งเรียกว่า CIO หรือ Chief Information Officer อันเป็นชื่อที่เลียนแบบ CEO ผู้ที่เป็น CIO นั้นไม่ใช่ผู้อา นวยการศูนย์ หรือ สานักคอมพิวเตอร์ เพราะมีหน้าที่บทบาทสูงกว่า คือ หนักไปทางด้านการ วางแผนสารสนเททศของหน่วยงาน การดูแลจัดการให้เกิดระบบสารสนเทศ และการประยุกต์ในด้านการบริหารงานไอทีทั่วไป รวมทั้งการดูแลให้การ ประยุกต์ไอที นั้นสาเร็จลุล่วงด้วยดีภายใต้ผู้อา นวยการศูนย์หรือสานัก คอมพิวเตอร์ของแต่ละหน่วยงาน จะมีตา แหน่งงานหลายกลุ่ม หรือหลายสาย งาน
  • 6. ตาแหน่งงาน หรือสายงาน 1. กลุ่มพัฒนาระบบสารสนเทศ เป็นกลุ่มที่ทา หน้าที่พัฒนาระบบสารสนเทศ ต่าง ๆ ที่หน่วยงานจาเป็นต้องใช้ เช่น ระบบบุคลากร ระบบบัญชีระบบพัสดุ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการต่างๆ กลุ่มงานนี้จา เป็นมากหาก หน่วยงานมี นโยบายที่จะพัฒนาระบบสารสนเทศต่างๆ เอง บุคลากรในกลุ่มนี้อาจจะมี 2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysts) ทาหน้าที่วิเคราะห์ ความต้องการ ด้านสารสนเทศและออกแบบระบบสารสนเทศขึ้นใหม่ เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงาน ทา งานโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องได้สะดวก 3. นักเขียนโปรแกรม (Programmer) ทาหน้าที่เขียนและทดสอบโปรแกรม ต่างๆ เพื่อใช้ในหน่วยงาน 4. ผู้บริหารบานข้อมูล (Database Administrator) ทาหน้าที่วางแผนและ ควบคุมงานข้อมูลหลักของทั้งหน่วยงาน เป็นผู้ประสานงานกับทีมงาน พัฒนาระบบด้านการใช้ฐานข้อมูล
  • 7. 1. กลุ่มงานขอ้มูล กลุ่มงานข้อมูล เป็นกลุ่มงานที่ทา หน้าที่ดูแลเรื่องข้อมูลต่างๆ ที่หน่วยงานต้อง ใช้ นับตั้งแต่การบันทึกข้อมูล การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล และ การจัดเก็บ ต้นฉบับฟอร์มข้อมูลเพื่อใช้อ้างอิงกลุ่มงานนี้ อาจจะมีความสา คัญน้อยลงในอนาคตเมื่อมี การจัดหาอุปกรณ์ที่สามารถบันทึกข้อมูลจากจุดที่เกิดข้อมูลเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ โดยตรง นอกจากนั้นยังเป็นเพราะหน่วยงานหลายแห่งเริ่มกระจายการบันทึกข้อมูล ออกไปให้ผู้ใช้ ดา เนินการเอง กลุ่มงานนี้อาจประกอบด้วย 1.1 พนักงานบันทึกข้อมูล ทา หน้าที่ บันทึกข้อมูลเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ 1.2 พนักงานสอบทางข้อมูล ทา หน้าที่ตรวจว่าข้อมูลที่บันทึกเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์นั้น ถูกต้องตามต้นฉบับ หรือไม่ 1.3 พนักงานลงรหัสข้อมูล ทา หน้าที่ กา หนดรหัสข้อมูลลงในแบบฟอร์มข้อมูลก่อนสงให้ พนักงานบันทึกข้อมูล 1.4 กลุ่มงานปฏิบัติการ เป็นกลุ่มงานที่ทาหน้าที่ดูแลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์ สื่อสารควบคุมดูแล การใช้งานประจา วันจัดทา รายงานการใช้อุปกรณ์ และ ปัญหาขัดข้อง ที่เกิดขึ้นระหว่างการใช้งาน
  • 8. กลุ่มงานปฏิบัติการ 1.4.1 นักโปรแกรมระบบ (System Programmer) ทา หน้าที่ ดูแล ระบบปฏิบัติการ (Operating System) ต่างๆ ของหน่วย เช่น ระบบ UNIX, Windows, Dos คอยเปลี่ยนแปลงปรับปรุงระบบปฏิบัติการตามรายละเอียด การแก้ไขที่ได้รับจากบริษัทผู้ผลิต พิจารณาตรวจสอบสมรรถนะของ ระบบ คอมพิวเตอร์ และ หาทางปรับปรุงการทา งานของระบบให้มีประสิทธิภาพ 1.4.2 พนักงานปฏิบัติการ (Operator) ทาหน้าที่ควบคุมดูแลการทางานของ เครื่อง และอุปกรณ์นาโปรแกรมเข้าทางานในระบบคอมพิวเตอร์ และส่ง ผลลัพธ์ให้กับผู้ใช้ 1.4.3 บรรณารักษ์ระบบ (Librarian) ทาหน้าที่ดูแลรักษาสื่อข้อมูลต่างๆ ของ หน่วยงาน และดูแลรักษาคู่มือของระบบคอมพิวเตอร์
  • 9. กลุ่มงานปฏิบัติการ 1.4.4 กลุ่มงานสื่อสารเป็นกลุ่มงานที่ทา หน้าที่ดูแลระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และ ระบบสื่อสารต่าง ๆ ของหน่วยงาน บุคลากรในกลุ่มนี้ได้แก่ 1. ผู้บริหารระบบเครือข่าย (Network Administrator) หรือบางทีเรียกว่า (System Administrator) ทา หน้าที่วางแผนและจัดหาอุปกรณ์สื่อสารควบคุมดูแลให้การดา เนินงาน ด้านระบบ เครือข่ายให้ ดา เนินไปอย่างราบรื่น 2. วิศวกรสื่อสาร (Communication Engineer) ทา หน้าที่เกี่ยวกับการติดตั้งตรวจสอบ และ ปฏิบัติงานกับอุปกรณ์สื่อสาร และ ซอฟต์แวร์สื่อสารต่าง ๆ 3.กลุ่มงานสนับสนุนผู้ใช้ เป็นกลุ่มงานที่ทาหน้าที่คอยช่วยเหลือให้ผู้ใช้ระบบ คอมพิวเตอร์สามารถปฏิบัติงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จัดหาซอฟต์แวร์ และ อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์จัดฝึกอบรม วิธีใช้ อุปกรณ์ และ ซอฟต์แวร์แก่ผู้ใช้ แกไขปัญหาพื้นฐานให้ ผู้ใช้ เช่น ช่วยกา จัดไวรัสคอมพิวเตอร์ แก้ไขอุปกรณ์ที่เสียหายขั้นต้น บุคลากรเหล่านี้ ได้แก่ ผู้ที่มีความสนใจทางด้านระบบไมโครคอมพิวเตอร์ชอบสอน และ การให้บริการ ผู้ใช้
  • 10. S คือ SCHEDULING การจัดลา ดับของงานพัฒนาระบบสารสนเทศในหน่วยงานนั้นเป็น เรื่องที่มีความสาคัญมาก และผู้บริหารไอทีจาเป็นจะต้องให้ความสนใจมาก พอสมควร งานระบบสารสนเทศรวมทั้งหน่วยงานนั้นเป็นงานที่ใหญ่มาก แม้ว่าหน่วยงานจะสนใจจัดหาซื้อระบบสารสนเทศทั้งระบบมาใช้ ก็ไม่ได้ หมายความว่าหน่วยงานจะสามารถสารสนเทศทั้งระบบมาใช้ ก็ไม่ได้ หมายความว่าหน่วยงานจะสามารถทา ให้ทุกระบบย่อยทา งาน ได้พร้อมกันที่ เป็นเช่นนี้เพราะ การนาระบบสารสนเทศมาใช้นั้นจาเป็นที่เราจะต้อง ออกแบบระบบใหม่ ต้องเปลี่ยนแนวทางการทา งานจากการใช้มือเป็นการใช้ เครื่อง ต้องจัดหาข้อมูลใหม่ งานเหล่านี้ล้วนแล้วแต่ต้องใช้เวลา และ จะต้อง คอย ตรวจสอบความถูกต้องอยู่เสมอ ด้วยเหตุนี้เอง แม้ว่าหน่วยงานจะได้ กา หนดแผนไอทีขึ้นมาแล้วว่าจะมีระบบอะไรบ้าง ผู้บริหารก็ยังจา เป็นที่ จะต้องเลือกว่าจะนา ระบบย่อยอะไรมาใช้ก่อน ระบบใดจะใช้ลา ดับถดัไป
  • 11. การควบคุมงานดา้นไอทีมี ประเด็นที่ตอ้งพิจารณา 1. การควบคุมมาตรบานอุปกรณ์ไอทีทุกด้าน มาตรฐานนั้นเป็นเรื่องที่สา คัญมากสา หรับ งานไอที เพราะเป็น สิ่งที่ช่วยให้เราแน่ใจว่าอุปกรณ์ไอทีต่าง ๆ จะทางานร่วมกันได้ อุปกรณ์สามารถอัพเกรดให้ดีขึ้นได้ตามความ เปลี่ยนแปลง ของอนาคต มาตรฐานนี้ จะต้องจัดทา ขึ้นอย่างรอบคอบ และ ควบคุมให้งานเป็นไปตามมาตรฐาน กล่าวโดยกว้างๆ มาตรฐานในที่นี้หมายถึงการกาหนดว่าอุปกรณ์ต่างๆ จาเป็นจะต้องมีข้อกาหนด คุณลักษณะด้าน เทคนิคเป็นแบบเดียวกัน หรือในเรื่องของซอฟต์แวร์ก็กาหนดให้ใช้แบบ เดียว กันไม่ใช้ต่างแผนก ต่างหาซอฟต์แวร์ คนละแบบมาใช้ เพราะจะทาให้ไม่สามารถ แลกเปลี่ยนข้อมูล และทา งานร่วมกันได้ 2. การควบคุมการพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์ เป็นการควบคุมให้กระบวนการพัฒนา ระบบคอมพิวเตอร์ ดา เนินไปอย่างถูกต้องสามารถพัฒนาสาเร็จตามกา หนดเวลาที่ตั้งไว้ ทา งานได้ตามความต้องการ และ ใช้จ่ายภายในวงเงินงบประมาณที่ตั้งไว้ 3. การควบคุมการปฏิบัติการเป็นการควบคุมให้การปฏิบัติการทุกขั้นตอนดา เนินไปอย่าง ถูกต้องตรงลา ดับขั้นตอนที่กา หนดไว้ การบันทึกเก็บข้อมูลถูกต้องครบถ้วน ไม่มีพนักงาน คนใดดา เนินการให้หน่วยงานเสียหาย
  • 12. การควบคุมงานดา้นไอทีมี ประเด็นที่ตอ้งพิจารณา 4. การควบคุมความมั่นคงปลอดภัยของระบบคอมพิวเตอร์ และ ระบบสื่อสาร เป็นการ ควบคุมดูแลให้ระบบสารสนเทศทั้งหมด ได้รับการรักษาความมั่นคงปลอดภัยครบถ้วน ไม่มีประสงค์ร้ายเปลี่ยนแปลงแก้ไข หรือ ทา ลายระบบได้ 5. การควบคุมงบประมาณ เป็นการควบคุมดูแลการใช้จ่ายต่างๆ ของหน่วยงานทางด้านไอ ทีเพื่อให้แน่ใจ ว่าเงินทุกบาททุกสตางค์นั้นใช้ไปอย่างมีความหมาย และ มีประสิทธิผลคือ ORDERING งานที่เกี่ยวกับการสั่ง การให้การปฏิบัติงานทุกอย่างดาเนินไปอย่างราบรื่น ไม่มีอุปสรรคขัดข้องนั้นเป็นงานที่ต้องอาศัยประสบการณ์ และ ความสามารถของ ผู้บริหารอย่างแท้จริง การสั่งการนี้จะต้องอาศัยทักษะทางด้านการสื่อสาร (Communications) คือการพูดอย่างมีเหตุผล สามารถต่อรอง โน้มน้าวและจูงใจผู้ฟังได้ ผู้บริหารงานด้านไอทีต้องเข้าใจว่า บุคลากร ไอทีนั้นเป็นนักเทคนิค ซึ่งมีความรู้ด้าน เทคนิคดี แต่ก็มักจะใจน้อย และไม่ใคร่ง้อใครหากพูดหูก็อาจจะผลจากองค์กรไปได้ง่าย R คือ REPORTING งานนี้เกี่ยวข้องกับการจัดทา รายงานสรุปเสนอต่อผู้บริหารของ หน่วยงานให้ทราบความเป็นไปในการปฏิบัติงานต่างๆ ของศูนย์คอมพิวเตอร์ การจัดทา รายงานนี้ต้องอาศัยทักษะ ทางด้านการสื่อสารส่วนที่เป็นการเขียน นั้นคือ การจัดทา รายงานจะต้องมีเนื้อหาสาระ สั้นตรงประเด็น และถูกต้อง
  • 13. B คือ BUDGETING งานนี้เกี่ยวกับการจัดทา งบประมาณสาหรับงานไอทีรวม และงาน ของศูนย์คอมพิวเตอร์ การจัดทา งานงบประมาณนั้น ผู้บริหารจะต้องเข้าใจว่า การนา เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้นั้นจา เป็นจะต้องมีค่าใช้จ่ายต่าง ๆ หลาย ด้าน หากผู้บริหารหลงลืมค่าใช้จ่ายบางรายการไปก็จะทาให้เกิดปัญหาใน การปฏิบัติงานได้ ค่าใช้จ่ายที่ควรนา มาพิจารณา มีอยู่หลายหมวดด้วยกัน ที่ ไม่ควรมองข้ามคือ 1. ค่าใช้จ่ายที่จ่ายคอมพิวเตอร์ 2. ค่าใช้จ่ายที่ต้องจ่ายประจา
  • 14. 5.3 ระบบสารสนเทศ สาหรับหน่วยงาน 1. ระบบประมวลธุรกรรม หรือรายการค้า (Transaction Processing System) เป็นระบบสาหรับบันทึกธุรกรรม หรือรายการค้า (Transaction) ต่างๆ ที่เกิด ขึ้นกับบริษัทแล้วดา เนินการที่เกี่ยวข้อง 2. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System หรือ MIS) เป็นระบบสารสนเทศที่จัดทาขึ้นเพื่อผู้บริหารระดับล่าง และ ระดับกลางใช้ ระบบนี้นา ข้อมูล รายการค้ามาสรุปให้เป็นสารสนเทศ แบบ ต่างๆ เป็นกลุ่มตามความสนใจของผู้บริหาร 3. ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหาร(Executive Information System หรือ EIS) เป็นระบบสารสนเทศที่นา ข้อมูลรายการค้าและข้อมูลอื่นๆ ทั้งที่เป็นของ หน่วยงานและของคู่แข่ง พันธมิตร และสิ่งแวดล้อมมาจัดทา เป็นข้อสรุป แล้ว บันทึกไว้ในฐานข้อมูลผู้บริหารเพื่อให้ผู้บริหารเรียกค้นอ อกมาใช้ ประกอบการตัดสินใจได้ทันที
  • 15. 5.3 ระบบสารสนเทศ สาหรับหน่วยงาน 4. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System หรือ DSS) เป็น ระบบที่นาเอาข้อมูลจากฐานข้อมูลคานวณโดยอาศัยสูตรคณิตศาสตร์ หรือ โมเดลทางธุรกิจเพื่อคาดคะเนว่า หากตัดสินใจแบบใดแบบหนึ่ง จะทา ให้ เกิดผลอย่างไรบ้าง 5. ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) เป็นระบบที่เก็บความรู้ และ ความ ชา นาญของผู้เชี่ยวชาญมาจัดประเภทไว้เป็นหมวดหมู่เพื่อให้ระบบสามารถ ทา งานได้ราวกับผู้เชี่ยวชาญเองระบบผู้เชี่ยวชาญที่จัดทา ขึ้น 6. ระบบสารสนเทศสานักงาน (Office Information System) เป็นระบบที่ เกี่ยวเนื่องกับงานสานักงานอัตโนมัติ แต่แทนที่จะเน้นทางด้านเครื่องมือ ก็ เปลี่ยนไปเน้นการเก็บข้อมูลข่าวที่เกิดขึ้นในสา นักงานไว้เป็นหมวดหมู่
  • 16. 5.4 การจัดหาระบบ สารสนเทศ 1. จัดสร้างระบบเอง วิธีนี้เป็นวิธีที่ใช้กันทั่วไปถ้าหากหน่วยงานมีบุคลากร ทางด้านคอมพิวเตอร์เพียงพอ 2. จ้างบริษัทที่ปรึกษามีได้สองแนวทาง คือว่าจ้างเฉพาะในด้านการจัดทา ระบบสารสนเทศ กับ การว่าจ้างในระบบเบ็ดเสร็จ (Turnkey) 3. การซื้อระบบสาเร็จ ระบบ เช่นนี้อาจเป็นส่วนหนึ่งของระบบใหญ่ได้แก่ ระบบพัสดุ ระบบบริหารบุคลากร ระบบบัญชีหรืออาจเป็นระบบทั้งระบบที่ เรียกชื่อตามงาน เช่น ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล ระบบสารสนเทศ โรงเรียน 4. การ Outsourcing คือ การ Outsourcing นี้อาจกา หนดให้บริษัทที่รับทา งาน นี้เป็นผู้จัดหาเครื่อง ซอฟต์แวร์ ระบบ และ บุคลากรมาดา เนินการต่างๆ ให้ อย่างเบ็ดเสร็จหน่วยงานของผู้ว่าจ้างไม่ต้องทาอะไรเลย เพียงแต่รอรับ รายงาน สารสนเทศตามที่ต้องการเท่านั้น
  • 17. 5.5 แนวทางการพัฒนา ระบบสารสนเทศใน หน่วยงาน 1. พัฒนาโดยใช้ระเบียบวิธี(Methodology) อย่างใดอย่างหนึ่งที่หน่วยงาน หรือบริษัทที่ปรึกษามีความชานาญ วิธีที่ใช้กันทั่วไปเพราะใช้ง่าย และ ทุก คนคุ้นเคยมาก ก็คือ การพัฒนาตามวัฏจักรพัฒนาระบบงาน (System Development Life Cycle หรือ SDLC) 2. พัฒนาโดยใช้วิธีการทาต้นแบบ (Prototyping) การพัฒนาระบบโดยวิธี SDLC นั้นใช้เวลาค่อนข้างนานมาก ดังนั้นเมื่อพัฒนาระบบเสร็จแล้วก็อาจ เป็นไปได้ที่ระบบนั้นไม่ถูกใจผู้ใช้ หรือใช้การไม่ได้ เพราะเกิดการ เปลี่ยนแปลงในองค์กรหรือทางเทคโนโลยี ดังนั้นจึงมีผู้คิดวิธีการเร่งรัด พัฒนาระบบให้เสร็จเร็วขึ้น วิธีนี้ เรียกว่าการทา ต้นแบบซึ่งจะต้องอาศัย ซอฟต์แวร์พิเศษสาหรับช่วยในการเขียนโปรแกรมเรียกว่า CASE Tool หรือ Computer Aided Software Engineering
  • 18. 5.6 วัฏจักรพัฒนา ระบบงาน การพัฒนาระบบงาน โดยวิธีวัฏจักรระบบงาน หรือ SDLC นี้ แบ่งเป็นขั้นตอนต่าง ๆ 1. การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) 2. การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 3. การออกแบบระบบใหม่ (System Design) 4.การเขียนโปรแกรม (Programming) 5. การทดสอบระบบ (System Testing) 6. การติดตั้งระบบ (Implementation) 7. การเปลี่ยนเข้าสู่ระบบใหม่ (System Conversion)
  • 19. 5.7 บทบาทและหน้าที่ ของผู้บริหาร ปัญหาที่มักจะเกิดอยู่เสมอก็คือ ผู้ปฏิบัติงาน และ ผู้บริหาร มีความ คาดหมายว่านักวิเคราะห์ระบบจะต้องเป็นผู้รับรู้งานทุกอย่างเกี่ยวกับระบบที่ เข้ามาพัฒนาเรื่องนี้ไม่จริงเลย นักวิเคราะห์รู้แต่กระบวนวิธีการวิเคราะห์ แต่ ไม่ รู้เนื้อหาของสิ่งที่วิเคราะห์ ดังนั้นผู้บริหาร และผู้ปฏิบัติงานจะต้องสื่อสาร ให้นักวิเคราะห์เข้าใจถึงลักษณะการทางาน ปัญหาขัดข้อง และ แน ว ทางแก้ไขที่ตนเองคิดว่าดีที่สุดผู้บริหารของหน่วยงานกาลังพัฒนาระบบ เพื่อให้การทา งานมีประสิทธิภาพมากขึ้น ระบบที่สร้างขึ้นนั้นตนทราบว่า หน่วยงานหรือของระบบที่จะพัฒนาระบบ เพื่อให้การทา งานมีประสิทธิภาพ มากขึ้น ระบบที่สร้างขึ้นนั้นไม่มีนโยบายที่จะนา มาใช้ไล่คนอก แต่เพื่อให้ การทา งานสะดวกขึ้นและบางครั้งอาจต้องมีการโยกย้ายพนักงานบ้างแต่ก็จะ เป็นการโยกย้ายในทางที่ดี และ ไปสู้งานที่มีตา แหน่งดีขึ้นการสื่อสารทา ความเข้าใจแต่แรกจะทา ความเข้าใจแต่แรกจะทา ให้ปัญหาการต่อต้านน้อยลง
  • 20. 5.8 ผู้บริหารกับทักษะ การใช้คอมพิวเตอร์ 1. โปรแกรมนัดหมายเป็นโปรแกรมที่ใช้สาหรับการบันทึกการนัดหมายของ ผู้บริหาร 2. โปรแกรมสเปรดชีต (Spreadsheet) เป็นโปรแกรมช่วยการคา นวณอย่าง ง่าย 3.โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล (Database) สาหรับใช้ในการจัดการข้อมูลของ หน่วยงาน 4. โปรแกรมประมวลคา (Word Processing) 5. โปรแกรมนา เสนอคา บรรยาย (Presentation) เป็นโปรแกรมสา หรับจัดทา คา บรรยาย ประกอบภาพและสีสันสา หรับใช้ในการบรรยายต่างๆ
  • 21. 5.9 การบริหารกับระบบ อินเทอร์เน็ต ระบบอินเทอร์เน็ตเกิดจากความจาเป็นของกระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกาในการ เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ของสถาบันวิจัยและมหาวิทยาลัยต่างๆ เพื่อให้นักวิจัยที่รับ ทุนวิจัยจากกระทรวงกลาโหม สามารถในคอมพิวเตอร์ทางไกลได้ และ สามารถ แลกเปลี่ยนข่าวสารกันทางระบบไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ได้ เครือข่ายแรกที่ตั้งขึ้นนี้ เรียกว่า ARPANET ซึ่งต่อมาได้แปรสภาพไปเป็นเครือข่ายทางด้านการศึกษา และ วิจัย ที่ เรียกว่า อินเทอร์เน็ต เมื่อมีผู้สนใจใช้มากขึ้นระบบอินเทอร์เน็ตก็ขยายตัวไปสู่วงการธุรกิจ และ เปิดรับสมาชิกไม่จา กัดประเภท ประเทศไทยเราได้เริ่มใช้ระบบอินเทอร์เน็ต เป็นครั้งแรก เมื่ออาจารย์ชาวออสเตรเลียนา มาเผยแพร่ และติดตั้งให้ที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ต่อมาจึงได้พ่วงต่อไปยังจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย การ ใช้ระบบอินเทอร์เน็ตในระยะแรกนี้ยังไม่ได้เป็นแบบออนไลน์ คือ ไม่ได้เชื่อมต่อกับ ระบบอินเทอร์เน็ต ตลอดเวลา คงให้ทางประเทศออสเตรเลีย โทรศัพท์เข้ามารับ และ ส่ง จดหมายอิเล็กทรอนิกส์วันละสองหน ต่อมาทั้งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ ศูนย์ เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และ คอมพิวเตอร์แห่งชาติ(เนคเทค) ได้เห็นความสาคัญที่ จะต้องจัดให้มีเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเชื่อมโยงไปยังมหาวิทยาลัย และ สถาบันการศึกษา ต่าง ๆ จึงได้ขออนุมัติการสื่อสารแห่งประเทศไทยเช่าวงจรสื่อสารความเร็วสูงไปยัง สหรัฐอเมริกาเพื่อให้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ในประเทศเชื่อมต่อกับระบบอินเทอร์เน็ตได้ ตลอดเวลา
  • 22. 5.10 ผู้บริหารราชการใน ยุคไอที 1.มีความรับผิดชอบตองานในหน้าที่ 2.มีความสามารถในการทา งานร่วมกันเป็นทีม 3. มีความสามารถในการทา งานได้หลายหน้าที่ 4. มีความสามารถในการสื่อสารทั้งด้วยการพูดและการเขียน 5. มีความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษได้ดีเท่าภาษาไทย 6. มีความสามารถในการวิเคราะห์สถานการณ์ต่างๆ และตัดสินใจ ได้อย่างมีเหตุผล โดยอาศัยข้อมูลและสารสนเทศ
  • 23. 5.10 ผู้บริหารราชการใน ยุคไอที 7. มีความสามารถในการสังเคราะห์ และ สร้างสรรค์งานอันเป็น ประโยชน์ต่อตัวเองต่อหน่วยงาน ต่อชุมชนและต่อประเทศ 8. มีความปรารถนาที่จะทา งานให้ได้ผลงานที่มีคุณภาพ 9. รู้คุณค่าของเวลา 10. รู้วิธีใช้คอมพิวเตอร์อย่างมีประสิทธิภาพ 11. รู้จักใช้ระบบอินเทอร์เน็ต 12. บริหารหน่วยงานอย่างประหยัดไม่ฟุ่มเฟือย 13. เร่งหาทางพัฒนาบุคลากรใต้บังคับบัญชาให้มีประสิทธิภาพ และ มีความเข้าใจไอทีให้มากยิ่งขึ้น
  • 24. 5.11 ระบบอินเทอร์เน็ต นั้นมีบริการที่น่าสนใจ 1. ใช้ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารได้หลายรูปแบบเช่นใช้ส่งข้อความ ผ่านระบบไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic mail) 2. ใช้ในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข่าวสาร เช่น ใช้ระบบ World Wide Web (WWW) ในการเผยแพร่ ข่าวสารในรูปแบบของข้อความหลายมิติ (Hypertext) WWW นี้ใช้วิธีการสร้างภาพหน้าจอภาพรวมเรียกว่า เว็บเพจ (Webpage) และ ภาพแรกสุดของเว็บเพจ เรียกว่าโฮมเพจ (Homepage) เว็บ เพจนี้แสดงข้อความต่างๆ เป็นข้อความหลายมิติข้อความที่ปรากฏบนภาพ
  • 25. 5.12 เทคโนโลยีข่าวสาร ยุคใหม่สา หรับโครงสร้าง ระบบข่าวสารภายใน องค์กรดิจิตอล องค์กร ในปัจจุบันสามารถนาเทคโนโลยีข่าวสารตามที่ได้กล่าวถึงในบท ก่อนหน้านี้มาใช้เป็นโครงสร้างระบบข่าวสารภายในองค์กร (Information System Infrastructures) ซึ่งมีความสามารถในการประสานงานกิจกรรมทั้ง มวลภายในองค์กร หรือภายในอุตสาหกรรมนั้น โครงสร้างระบบข่าวสาร ภายในองค์กรสมัยใหม่ช่วงลดค่าใช้จ่ายอย่างมหาศาล สาหรับสาขาองค์กร และ รายการทางานต่างๆ ทาให้เกิดรากฐานที่มั่งคงสาหรับการพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ การทาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ และ องค์กรดิจิตอลโดยมีระบบ เครือข่ายที่กว้างขวาง และ ระบบอินเทอร์เน็ตเป็นองค์ประกอบที่สา คัญ
  • 26. 5.13 ระบบเครือข่าย องค์กร และ การเชื่อมโยง ระหว่างเครือข่ายแสดง โครงสร้างของระบบ การใช้ระบบเครือข่ายองค์กร (Enterprise Network) และ การ เชื่อมต่อระหว่างระบบเครือข่าย (Internet work) จะช่วยในการแลกเปลี่ยน ข้อมูลผ่านอุปกรณ์ต่างๆ ภายในองค์กร และ ระหว่างองค์กรกับสิ่งแวดล้อม ภายนอกเกิดขึ้นได้อย่างราบรื่นในระบบเครือข่ายองค์กร ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ระบบเครือข่าย และ แหล่งข้อมูล ถูกจัดให้อยู่ในลักษณะทีช่วย เพิ่มประสิทธิภาพในการประมวลผลให้แก่ผู้ใช้งาน และเชื่อมโยงระบบ เครือข่าย ขนาดเล็กเข้าด้วยกันอย่างทั่วถึงทั้งองค์กร ดังนั้นแม้จะเป็นองค์กร ขนาดเล็ก ก็จะประกอบไปด้วยระบบเครือข่ายจา นวนหนึ่ง ช่องสื่อสารที่มี ความกว้างมากจะถูกนามาใช้เป็นช่องสื่อสารอาจนามาใช้เชื่อมต่อระบบ เครือข่ายองค์กรเข้ากับระบบเครือข่ายองค์กรนั้น หรือระบบอินเทอร์เน็ต หรือระบบเครือข่ายโทรคมนาคมสาธารณะ หรือ ระบบเครือข่ายอื่นๆการ เชื่อมต่อระหว่างระบบเครือข่ายขนาดใหญ่ที่มีการจัดการบริหารด้วยตนเอง เข้าด้วยกันเรียกว่า การเชื่อมโยงระบบเครือข่าย (Internet work)
  • 27. 5.14 มาตรฐาน และ การ เชื่อมต่อสาหรับระบบ ดิจิตอลแบบบูรณการ การเชื่อมต่อจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อมาตรฐานสาหรับระบบเครือข่าย ระบบปฏิบัติการ และ ส่วนติดต่อผู้ใช้ มาตรฐานระบบเปิด (Open System) ได้สนับสนุนการเชื่อมต่อระหว่างระบบเครือข่ายโดยการเสนอมาตรฐาน สาหรับอุปกรณ์ทุกชนิดเพื่อให้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างระบบ เครือข่ายโดยถูกสร้างให้เป็นระบบสาธารณะใช้งานได้กับระบบปฏิบัติการ ส่วนติดต่อผู้ใช้มาตรฐานโปรแกรมประยุกต์และระบบเครือข่ายทั่วไป ทา ให้ ซอฟต์แวร์สามารถควบคุมการทา งานของฮาร์ดแวร์ต่างชนิดได้ ซึ่งเป็นที่มา ของคาว่า Portable ภาษาจาวา ถือได้ว่าเป็นภาษาที่สนับสนุนระบบเปิด เช่นเดียวกับระบบปฏิบัติการยูนิกส์
  • 28. 5.15 รูปแบบการ เชื่อมต่อสาหรับระบบ เครือข่าย รูปแบบการเชื่อมต่อสาหรับระบบเครือข่ายมีอยู่หลายชนิด เช่น ระบบทีซีพี/ไอที (Transmission Control Protocol/Internet Protocol TCP/IP) ได้พัฒนาขึ้นมาโดยกระทรวงกลาโหม ประเทศสหรัฐอเมริกา นา มาใช้ระบบ อินเทอร์เน็ตแสดงโครงสร้างของระบบพีซีพี/ไอพีซึ่งประกอบด้วยห้าส่วน 1. โปรแกรมประยุกต์ เป็นส่วนที่ติดต่อกับผู้ใช้โดยจะแปลงรูปแบบข้อมูล 2. ทีซีพี(Transmission Control TCP) ทา หน้าที่ในการนา ส่งข้อมูล 3. โพรโตคอลอินเทอร์เน็ต(Internet Protocol IP) 4. ส่วนติดต่อระบบเครือข่าย(Network Interface) 5. ระบบปฏิบัติการเครือข่ายกายภาพ (Physical Net) กา หนดวิธี การควบคุม อุปกรณ์รับ-ส่งสัญญาณ
  • 29. 5.15 รูปแบบการ เชื่อมต่อสาหรับระบบ เครือข่าย OSI Model (Open System Interconnection 7 - layer Reference Model) OSI Model เป็น medel มาตรฐานในการสื่อสารซึ่งมีวัตถุประสงค์ ใช้สา หรับ การสื่อสารระหว่างระบบ 2 ระบบ ระบบจะเปิดการติดต่อสื่อสารในเค้าโครงสาหรับ ออกแบบ ระบบเครือข่าย จะอนุญาตให้สื่อสารข้ามทุกรูปแบบของระบบคอมพิวเตอร์แยก เป็น 7 ชั้นแต่เกี่ยวเนื่องกันและเป็นรูปแบบมาตรฐาน ISO OSI Model ประกอบด้วย 7 Layer 1. Physical Layer 2. Data link Layer 3. Network Layer 4. Transport Layer 5. Session Layer 6. Presentation Layer 7. Application Layer
  • 30. 5.15 รูปแบบการ เชื่อมต่อสาหรับระบบ เครือข่าย ทั้ง 7 สามารถแบ่งออกได้ 3 กลุ่มย่อย กลุ่มที่ 1 Network support layer ได้แก่ Layer 1, 2, 3 กลุ่มที่ 2 Link ระหว่าง Network support layer กับ user support layer ได้แก่ layer 4 กลุ่มที่ 3 User support layer ได้แก่ layer 5, 6, 7
  • 32. 5.16 รูปแบบการ เชื่อมต่อสาหรับระบบ เครือข่าย โครงสร้างระบบเครือข่ายภายในองค์กรสาหรับองค์กรดิจิตอล ระบบอินเทอร์เน็ต (The Internet) เป็นระบบเครือข่ายที่มีผู้รู้จักมากที่สุดใน โลก มีขนาดใหญ่มากที่สุด มีการเชื่อมโยงระบบเครือข่ายขนาดต่าง ๆ เข้า ด้วยกันเป็นจานวนหลายพันเครือข่าย และ ระบบเครือข่ายขนาดเล็ก อีกนับ ไม่ถ้วนที่กระจายอยู่ทั่วโลก ระบบอินเทอร์เน็ตมีขีดความสามารถมากมายที่ องค์กรสามารถนาไปใช้ในการสื่อสาร และ แลกเปลี่ยนข้อมูลภายในองค์กร หรือระหว่างองค์กรเทคโนโลยี ระบบอินเทอร์เน็ต จึงถูกนามาใช้เป็น เทคโนโลยีหลักในการสร้างระบบเครือข่ายภายในองค์กรที่สนับสนุนการ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์การทา ธุรกิจ อิเล็กทรอนิกส์ และองค์กรดิจิตอล
  • 33. 5.17 ระบบอินเทอร์เน็ต ร ะ บ บ อิน เ ท อ ร์เ น็ต เ ริ่ม น า ม า ใ ช้ใ น ป ร ะ เ ท ศ ส ห รัฐ อ เ ม ริก า โ ด ย กระทรวงกลาโหมเพื่อการเชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์สาหรับนักวิทยาศาสตร์ และ นักวิจัยทั่วโลกเข้าด้วยกันโดยใช้โพรโตคอลทีซีพี/ไอพี แม้ในปัจจุบันนี้บุคคลทั่วไปก็ยัง ไม่สามารถเชื่อมต่อ เข้ากับระบบอินเทอร์เน็ตได้โดยตรง แต่จะเชื่อมต่อเข้ากับจุดติดมี องค์กรตัวแทนเรียกว่า ไอเอสพี (Internet Service Provider) เป็นผู้ใช้บริหาร เช่น บริษัท เอเชียเน็ต ฯ บริษัทสามารถ ฯ บริษัทเอสซีฯเป็นต้น สิ่งที่น่าทึ่งมากที่สุดเรื่องหนึ่งของระบบอินเทอร์เน็ตคือ ระบบอินเทอร์เน็ตไม่ มีเจ้าของ และไม่มีองค์กรที่ทาหน้าที่บริหารจัดการอย่างเป็นทางการ การที่ไม่มีจุด ศูนย์กลางของระบบทา ให้กลายเป็นข้อดีอีกประการหนึ่งคือ ไม่มีผู้ใดสามารถปิดการใช้ บริการระบบอินเทอร์เน็ต(ทั้งระบบ) ได้ไม่ว่าจะโดยเจตนาหรือไม่ก็ตาม ผู้เชี่ยวชาญกลุ่ม หนึ่งให้ความเห็นว่าจะต้องปิดเครื่องเซิฟเวอร์ในระบบฯ นี้ประมาณหนึ่งล้านเครื่องตาม สถานีที่ ต่าง ๆ ทั่วโลกพร้อมกันจึงจะทา ให้ระบบ ฯ นี้หยุดทา งาน
  • 34. 5.18 เทคโนโลยี อินเทอร์เน็ต และ การ ให้บริการ อุปกรณ์ การใช้งาน ตัวอย่าง เครื่องพีซี เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล Dell, IBM, Compaq เครื่องเน็ตเวิร์คพีซี เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่ออกแบบสาหรับการใช้งาน กับระบบอินเทอร์เน็ตโดยเฉพาะ Sun Ray เพจเจอร์ สามารถรับข้อความจากจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ได้ในระดับ จา กัด Motorola โทรศัพท์มือถือรุ่นใหม่โทรศัพท์มือถือที่มีจอภาพขนาดใหญ่และมีแป้นพิมพ์ขนาด เล็กสาหรับการโต้ตอบ Nokia 7110 เครื่องเล่นเกม เครื่องเล่นเกมรุ่นใหม่สามารถเชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่าย ได้ Sega Dreamcast พีดีเอ อุปกรณ์มือถือที่มีความสามารถคล้ายเครื่องพีซีในระดับที่ จา กัดมาก Palm VII เครื่องอีเมล์ อุปกรณ์ที่ออกแบบมาเฉพาะสาหรับการรับและส่งจดหมาย อิเล็กทรอนิกส์ทา งานแบบไร้สาย Mail station เครื่องเซทอปบ๊อซ นา ระบบโปรแกรมเว็บบราวเซอร์เข้ามาทา งานร่วมกับ เครื่องรับโทรทัศน์ที่บ้าน Web TV
  • 35. 5.19 บริการสาหรับการ สื่อสารบนระบบ อินเทอร์เน็ต ชื่อบริการ งานที่ให้บริการ อีเมล์ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ Usenet กลุ่มสนทนาและกระดานอิเล็กทรอนิกส์ LISTSERVs กลุ่มสนทนาและจดหมายอิเล็กทรอนิกส์เฉพาะ กลุ่ม Chatting การสนทนาผ่านเน็ต เทลเน็ต การเข้าไปใช้บริการในคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น เอฟทีพีการถ่ายโอนหรือทา สา เนาแฟ้มข้อมูล โกเฟอร์ การค้นหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ต การท่องใน อินเทอร์เน็ตโดยใช้ไฮเปอร์ลิงค์
  • 36. 5.20 การสืบค้นข้อมูล บนระบบอินเทอร์เน็ต - การสืบค้นข้อมูล (Information retrieval) บนระบบอินเทอร์เน็ตเป็นบริการ หรือ หน้าที่ ลาดับที่สองของ ระบบอินเทอร์เน็ตที่มีให้แก่ผู้ใช้ ฐานข้อมูลจานวนมากเช่น ฐานข้อมูล ห้องสมุดหลายพันแห่งที่ได้รับการออนไลน์แก่ผู้คนทั่วไป เช่น Libray of Congress, university of California, และ Harvard University เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีฐานข้อมูล ของ องค์กรเอกชน อีกจา นวนที่ใช้บริการข้อมูลในทา นองเดียวกันทั้งแบบให้ฟรี และ แบบคิด ค่าบริการเนื่องการจากระบบอินเทอร์เน็ต มีขนาดใหญ่มากและ ไม่มีศูนย์กลางการควบคุม การสืบค้นข้อมูล จึงกระทาได้ยากลาบากมาก เอฟทีพี และ โกเฟอร์ เป็นซอฟต์แวร์ที่ อา นวยความสะดวกในการสืบค้น และ ดึงข้อมูลที่ต้องการใช้แก่ผู้ใช้ - เอฟทีพี(File Transfer Protocl: FTP) เอฟทีพีเป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการถ่ายโอนหรือทา สา เนาแฟ้ม ข้อมูลผ่านระบบอินเทอร์เน็ต ผู้ใช้จะต้องทราบที่อยู่ของโฮสที่ต้องการเพื่อใช้ โปรแกรมนี้ล็อกออน เข้าไปที่โฮสนั้นและจัดการส่งแฟ้มข้อมูลไปเก็บไว้ที่โฮสหรือ คัดลอกแฟ้มข้อมูลมาจากโฮสได้ - โกเฟอร์(Gophersเป็นซอฟต์แวร์อีกตัวหนึ่งที่ช่วยผู้ใช้ค้นหาแฟ้มข้อมูลที่ต้องการผ่าน ระบบอินเทอร์เน็ต และ มีความสามารถในการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูลได้เช่นเดียวกับ โปรแกรมเอฟทีพี โกเฟอร์เป็นซอฟต์แวร์ประเภทผู้ให้บริการ และผู้ใช้บริก าร (Client/Server system)
  • 37. 5.21 ระบบอินเทอร์เน็ต รุ่นใหม่: บรอดแบนด์ และ ระบบอินเทอร์เน็ต โปรแกรมประเภทเว็บ (Web-based computing) ในปัจจุบันมีข้อมูลเป็นเสียง (sound and voice) กราฟิก (graphics) และวิดีทัศน์(full-motion video) เกี่ยวข้องด้วย ปริมาณมาก โดยเฉพาะแนวโน้มการใช้งาน ในอนาคต จะยิ่งมีข้อมูลประเภทเหล่านี้มาก ขึ้นเรื่อยๆ ทา ให้เกิดปัญหากับระบบเครือข่ายที่เริ่มถึงจุดอิ่มตัว ในบางส่วนก็ไม่ตอบสนอง ความต้องการของผู้ใช้ได้ ผู้ใช้จึงสามารถสังเกตเห็นความล่าช้า ในการใช้งานได้ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีผู้ใช้งานเป็นจา นวนมากอาจมีอาการคล้ายกับหยุดนิ่งเกิดขึ้นได้ ระบบอินเทอร์เน็ต ในปัจจุบันจึงไม่น่าเชื่อถือ และ ไม่มีความมั่นคงเพียงพอต่อการใช้งาน ประยุกต์ทางธุรกิจที่มีความสาคัญ มาก ๆ ได้นักวิทยาศาสตร์ และ นักวิจัยกาลังดาเนินการ ปรับปรุงขยายขีดความสามารถของระบบอินเทอร์เน็ตให้มีประสิทธิภาพสูงกว่าเดิมเรียก ระบบใหม่ว่า ระบบอินเทอร์เน็ต 2 (Internet 2) ซึ่งอยู่ในขั้นการทดลองระบบอินเทอร์เน็ต 2 มี โพรโตคอลใหม่เป็นของตนเองรวมทั้งความสามารถในการถ่ายเทข้อมูลที่ความเร็วสูง มาก ผ่านระบบเครือข่ายหลักรียกว่า (gigapops)ซึ่งจะเชื่อมต่อระหว่างโฮสขนาดใหญ่เข้า ด้วยกัน มีความเร็วในการสื่อสารขั้นต่า 1 พันล้านบิตต่อวินาที
  • 38. 5.22 เครือข่าย WWW เครือข่าย WWW (World Wide Web) หรือเรียกสั้นๆ ว่า เครือข่ายเว็บเป็น องค์ประกอบที่สาคัญที่สุดที่ผลักดันให้เกิดการใช้งานระบบอินเทอร์เน็ต ในทางธุรกิจ เครือข่ายเป็นระบบที่มาตรฐานสากลที่ยอมรับทั่วโลกในการ รวมข้อมูลการกระจายและ การแสดงผลข้อมูลที่มีโครงสร้างแบบผู้ให้บริการ และผู้ใช้บริการ (Client/Server architecture) เครือข่ายเว็บมีความสามารถใน การจัดการข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์หลายรูปแบบที่ครอบคลุมความต้องการของ ผู้ใช้ส่วนใหญ่มีส่วนติดต่อผู้ใช้แบบกราฟิกที่น่าสนใจและใช้งานได้ง่าย ใช้ คา สั่งประเภท Hypertext Markup Language(HTML)ในการเชื่อมโยงข้อมูล รวมทั้งเว็บต่างๆ เข้าด้วยกัน
  • 39. 5.23 โปรแกรมเว็บ บราวเซอร์ เป็น ซอฟต์แวร์ที่รู้จักและ สามารถทางานร่วมกับ มาตรฐาน HTML ได้ เป็นอย่างดี องค์กรนาเสนอข้อมูลข่าวสารในระบบอินเทอร์เน็ตในรูปแบบของโฮมเพจ (Homepage) ประกอบด้วยภาพ และ ข้อความสวยงามน่าสนใจ โดยปกติจะเป็นการ นา เสนอข้อมูลที่องค์กรนั้นๆ ต้องประกอบด้วยหมายไปถึงผู้ที่มาเยี่ยมชมซึ่งอาจจะเป็น การให้ความรู้ด้านต่างๆ การให้ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กรหรือการโฆษณาขายสินค้า และ บริการ โดยทั่วไปแล้วโฮมเพจเป็นจุดเริ่มต้นเสมือนประตูบ้านที่จะนา พาผู้ชมไปยังเว็บ เพจ (Web Page) หน้าอื่นๆ ข้อมูลทั้งหมดจะถูกเก็บไว้ไซท์ (Web Site) ซึ่งติดต่ออยู่ที่ เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งที่มี โปรแกรมควบคุมทา หน้าที่เป็นเว็บเซิร์ฟเวอร์ (Web Server) ผู้ที่มีหน้าที่ดูแลจัดการเว็บไซต์เรียกว่า (เว็บมาสเตอร์) (Web Master) โปรแกรมเว็บบราวเซอร์เป็นโปรแกรมที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าไปเยี่ยมชม เว็บไซต์ต่างๆ ได้โดยสะดวก โดยผู้ที่ใช้จะต้องทราบที่อยู่ของเว็บไซท์ที่ต้องการรูปแบบ เรียกว่า Uniform Resource Locator (URL) เช่นเว็บไซท์ของบริษัท Prentice Hall มีที่อยู่ URL คือ http://www.prenhall.com คา ว่า (http) ย่อมมาจาก (hypertext transport protocol) เป็นโพรโตคอลที่ใช้ในการรับและส่งข้อมูลเว็บเพจ
  • 40. 5.24 การสืบค้นหา ข้อมูลบนเครือเว็บ วิธีการค้นหาเว็บเพจในเสิร์ชเอ็นจินที่นิยมใช้มีอยู่สองวิธีคือ การ ลงทะเบียน หมายถึง การเปิดให้เว็บไซต์ต่าง ๆ ส่งข้อมูลเกี่ยวกับเว็บไซต์ ตนเองมาเก็บไว้ที่เว็บไซต์ผู้ใช้บริการ โดยความสมัครใจ และ การใช้ ซอฟต์แวร์สืบค้น เช่น Spiders, bots, และweb crawlers ซึ่งจะเข้าไปค้นหา เว็บไซต์ที่ละไซต์และเก็บรวบรวมข้อมูลของเว็บไซท์นั้นเพื่อการจัดทา สารบัญ โปรแกรม shopping bots เป็นโปรแกรมประเภทเอเย่นต์ (Agemts) ที่ออกแบบมาสา หรับการช่วยเหลือผู้ที่ต้องการซื้อสินค้าหรือบริการผ่านทาง เน็ต เมื่อผู้ใช้กา หนดคุณลักษณะของสิ่งที่ต้องการแล้ว โปรแกรมนี้จะจัดการ ค้นหาเปรียบเทียบแยกประเภทและสรุปรายการสินค้าหรือบริการ ให้โดย อัตโนมัติ
  • 41. 5.25 การบรอดคาสและ “Push” เทคโนโลยี ผู้ใช้ที่นิยมใช้บริการผ่านระบบอินเทอร์เน็ตมีทางเลือกใหม่ ในการรับ ข่าวสาร เรียกว่า “Push”เทคโนโลยี คือแทนที่ผู้ใช้จะท่องไปในเว็บเพื่อค้นหา ข้อมูลที่ต้องการ ผู้ใช้สามารถให้ข้อมูลที่ต้องการนั้นส่งเข้ามายังเครื่องผู้ใช้ โดยอัตโนมัติ นั่นคือเว็บของผู้ให้บริการจะจา ที่อยู่ ของผู้ใช้ (อาจใช้วิธีการ ลงทะเบียน) เอาไว้ เมื่อมีข้อมูลที่น่าสนใจก็จะส่งข้อมูลนั่นด้วยวิธีการบรอด คาส (broadcast) เทคโนโลยีเก่า ที่ใช้กันเป็นส่วนมาก คือ “Push” เทคโนโลยี นั่น คือตัวผู้ใช้จะต้องเข้าไปที่เว็บไซต์เพื่อดึงข้อมูลที่ต้องการมาด้วยตนเอง โปรแกรม Microsoft,s internet Explorer และ Netscape Communicator มี เทคโนโลยี “Push” อยู่ในตัวซึ่งจะคอยติดต่อกับเว็บไซต์ที่ผู้ใช้ต้องการ และ แสดงผลเมื่อเว็บไซต์นั้น ๆ ที่มีข้อมูลใหม่ที่ผู้ใช้สนใจโดยอัตโนมัติ วิธีการ ส่งข้อมูลแบบจา เพาะเจาะจงในลักษณะนี้ว่า มัลลิคาส(Multicast)ซึ่งเป็นวิธี เดียวกันกับที่ใช้ใน LISTSERVs (แต่ในLISTSERVs ใช้ในส่งข้อมูลผ่าน อีเมลล์) ในตลาดการค้าที่สา คัญหลายแห่งก็ใช้วิธีการนี้ในการแจ้งเตือนราคา สินค้าที่เปลี่ยนแปลงไปให้ลูกค้าของตนทราบ
  • 42. 5.26 อินทราเน็ต และ เอ็กซ์ทราเน็ต เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตและเทคโนโลยี เว็บมีมาตรฐานและประสิทธิภาพใน ระดับที่ดีมาก จึงมีการนาเทคโนโลยีทั้งสองแบบนี้มาใช้สร้างเป็นระบบ เครือข่ายเรียกว่า ระบบอินทราเน็ต (Intranet) ซึ่งเป็นระบบเครือข่ายภายในที่ สามารถให้บริการได้ในทุส่วนขององค์กรระบบนี้ใช้โครงสร้างระบบ เครือข่ายเดิมขององค์กรผนวกเข้ากับมาตรฐาน การเชื่อมโยงของเทคโนโลยี อินเทอร์เน็ตและซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นมาสา หรับเว็บ ช่วยให้มีความสามารถ ในการใช้งานโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ได้จากเครื่องคอมพิวเตอร์หลายชนิด ที่องค์กรมีใช้งานอยู่ก่อนแล้ว รวมทั้งอุปกรณ์มือถือรวมทั้งอุปกรณ์มือถือ สมัยใหม่ต่างๆ
  • 43. 5.27 เทคโนโลยี อินทราเน็ต ระบบอินเทอร์เน็ตเป็นระบบเปิดกว้างสาหรับทุกคน แต่ระบบอินทราเน็ต (Intranet) เป็นระบบปิดที่ไม่อนุญาตให้บุคคลภายนอกสร้างงานได้โดยมี ไฟร์วอล (Firewall) ทาหน้าที่ รักษาความปลอดภัยโดยจะตรวจสอบ และไม่อนุญาตให้ บุคคลภายนอกองค์กรผ่านเข้ามายังระบบอินทราเน็ตภายในองค์กรได้ ไฟร์วอลประกอบ ด้วยฮาร์ดแวร์ และ ซอฟต์แวร์ที่วางกั้นกลางระหว่างจุดเชื่อมต่อระบบเครือข่ายภายใน องค์กร และ ระบบเครือข่ายภายนอกซึ่งรวมทั้งระบบอินเทอร์เน็ตเน็ตด้วยไฟร์วอลถูก ออกแบบมาสา หรับการดักจับข้อมูลที่ส่งผ่านระหว่างระบบเครือข่ายทั้งสองตรวจสภาพ โครงสร้าง ข้อมูล และ ทา ลายทุกข้อมูลที่ไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าสู่ภายในระบบ องค์กรสามารถนาระบบอินทราเน็ตไปพัฒนาใช้งานได้โดยไม่จาเป็นต้องจัดหาอุปกรณ์ ใหม่เนื่องจากระบบนี้สามารถทา งานบนระบบเครือข่ายได้เกือบทุกชนิด ซอฟต์แวร์ที่ นา มาใช้นั้นก็เป็นซอฟต์แวร์ตัวเดียวกับที่ใช้นารสร้างเว็บจึงสามารถสร้างเว็บเพจด้วย ภาษา HTML นา มาใช้ในการนา เสนอข้อมูลรวมทั้งเว็บบราวเซอร์และเว็บเซิฟเวอร์ทา งาน บนโพรโตคอลทีซีพี/ไอพีโดยมีโฟร์วอลเป็นยามรักษาการณ์
  • 44. 5.28 เอ็กซ์ทราเน็ต องค์กรบางแห่งอนุญาตให้ผู้ใช้บางกลุ่มซึ่งอาจเป็นพลังงาน หรือ ลูกค้าสามารถเข้ามาเชื่อมโยงกับระบบอินเทอร์เน็ตในองค์กรของตนเองได้ ในระดับจา จัด(การใช้งานในระบบที่ไม่จา จัด ก็คือเปิดไปเว็บไซต์หนึ่งใน ระบบอินเทอร์เน็ต) หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นระบบอินทราเน็ตที่เปิดกว้างไปสู่ ระบบเครือข่ายภายนอก ซึ่งเรียกระบบนี้ว่า ระบบเอ็กซ์ทราเน็ต (Extranet) เช่น ศูนย์บริการ ซ่อมรถยนต์ขนาดใหญ่ อาจเปิดให้ลูกค้าที่นารถมาซ่อมเข้า มาดูรายละเอียดข้อมูลการซ่อมรถตนเองซึ่งเป็นข้อมูล ในระบบอินทราเน็ต ภายในองค์กรผ่านระบบอินเทอร์เน็ตซึ่งเป็นระบบภายนอกองค์กรได้องค์กร สามารถนา ไฟร์วอลใช้เพื่อกาหนดสิทธิและขอบเขตการใช้ข้อมูลจาก ภายนอก และ ใช้ในการตรวจสอบผู้ใช้ภายนอก ระบบนี้จึงมีประโยชน์มาก สาหรับองค์กรที่มีการเชื่อมโยงกับผู้ใช้ทางอิเล็กทรอนิกส์อย่างใกล้ชิด รวมทั้งการแลกเปลี่ยนข้อมูลระบบอีดีไอ
  • 45. 5.29 ระบบเว็บไร้สาย ระบบไร้สายช่วยให้ผู้ใช้อุปกรณ์สื่อสารไร้สายเชื่อมต่อกับระบบ อินเทอร์เน็ตได้ในสถานที่ที่ต้องการสามารถใช้ประโยชน์จากข้อ มูล อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งจะต้องมีวิธีการเชื่อมต่อรวมทั้งการนา เสนอข้อมูลในรูปแบ ที่แตกต่างกันออกไป ระบบเว็บไร้สายจึงไม่ใช่ระบบอินเทอร์เน็ตไร้สาย งานประยุกต์ประเภท location-based มีการจัดตั้ง สาหรับคนที่มี ความสนใจเฉพะกลุ่มเฉพาะเรื่อง เมื่อผู้ใช้ติดต่อเข้ามาทางระบบไร้สายตัว โปรแกรมจะค้นที่สถานที่อยู่ผู้ใช้ในขณะนั้น และ จัดการส่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ที่มีสถานที่เป็นตัวกาหนดมาให้ เช่น การใช้โทรศัพท์มือถือในการติดต่อทาง ศูนย์ให้บริการจะทราบที่อยู่ของผู้ใช้และอาจส่งข้อมูลเกี่ยวกับสถานีบริการ น้ามันมาให้โทรศัพท์มือถือของผู้ใช้ก็สามารถแสดงแผนที่สถานีบริการ น้า มันที่ใกล้เคียงได้ ซึ่งถ้าผู้ใช้เปลี่ยนสถานที่อยู่ตา แหน่งของสถานีบริการ น้า มันที่ใกล้เคียงก็อาจเปลี่ยนไป
  • 46. 5.29 ระบบเว็บไร้สาย บริการ M-commerce การประยุกต์ บริการเกี่ยวกับข่าวสาร ให้บริการข่าวสารทั่วไป อีเมลล์ การ ค้นหาสถานบริการน้า มันโรงภาพยนตร์ ร้านอาหาร โดยใช้โทรศัพท์มือถือหรือพีดี เอ บริการเกยี่วกับรายการทางาน ให้บริการทา ธุรกรรม เช่น การซื้อหุ้นซื้อ บัตรคอนเสิร์ต ค้นหาราคาสินค้า บริการส่วนบุคคล ให้บริการที่เฉพาะเจาะจงสาหรับความ ต้องการของลูกค้าแต่ละราย
  • 47. 5.30 มาตรฐานสาหรับ ระบบเว็บไร้สาย มาตรฐานสาหรับเว็บไร้สายมีอยู่ 2 แบบคือ มาตรฐานระบบ WAP (Wireless Application Protocol) และ มาตรฐานระบบ l-mode ระบบ WAP คือระบบที่ประกอบด้วยโพรโตคอล และเทคโนโลยีที่ช่วยให้เซลล์สื่อสาร และ อุปกรณ์สื่อสารไร้สายทีมีจอแสดงผลขนาดเล็ก มากมีการเชื่อมต่อผ่านช่องสัญญาณขนาดเล็ก และ มีการเรียกใช้ข้อมูลบนเว็บในปริมาณ ที่น้อยมาก ระบบ WAP ภาษาควบคุมเรียกว่า Wireless Markup Language (WML) ซึ่งมี พื้นฐานมาจากภาษา XML จึงใช้วิธีการอธิบายคุณสมบัติของข้อมูลแทนที่จะบอกเพียง วิธีการแสดงผล ผู้ใช้มีอุปกรณ์สื่อสารประเภท WAP เช่น โทรศัพท์มือถือบางรุ่นจะใช้ โปรแกรมบราวเซอร์ขนาดเล็กมาก Micro browser ในการท่องไปในเว็บได้คล้ายกับการ ใช้บราวเซอร์ในเครื่องพีซี การขอดูข้อมูลจะกระทาผ่าน WAP เกตเวย์(WAP gateway) ซึ่งจะรับข้อมูลจากเครื่องเซิบเวอร์ในรูปแบบภาษา HTML หรือ WML แล้วเปลี่ยน รูปแบบไปเป็น WML ก่อนที่จะส่งกลับมาที่โทรศัพท์มือถือซึ่งจะสามารถดูข้อความ เหล่านั้นได้ ความซับซ้อนในการเปลี่ยนรูปแบบนี้อาจมีผลทา ให้ความล่าช้าในการสื่อสาร ได้
  • 48. 5.31 ความท้าทายใน M –Commerce การใช้ m-commerce การที่จะใช้ เกิดขึ้นได้นั้นจึงต้องมีการพัฒนาเว็บไซต์ขึ้นมาใหม่เพื่อบริการ ระบบไร้สายโดยเฉพาะปัญหาบางประการก็ได้รับแก้ไขหรือมีแนวทางการแก้ไขบ้างแล้ว เช่น การนา เทคโนโลยีVoice portrays เข้ามาใช้งานซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่ช่วยให้อุปกรณ์ไร้ สายสามารถเข้าใจคาสั่งที่เป็นเสียงพูดได้ ผู้ใช้จึงไม่เป็นต้องพิมพ์ข้อความที่ต้องการ (ลง บนแป้นพิมพ์ขนาดจิ๋ว) แต่ใช้การออกคา สั่งแทน ตาราง9-6 แสดงตัวอย่างของเทคโนโลยี Voice portrays และในส่วนของการตอบสนองก็สามารถใช้เป็นเสียงพูดแทนการแสดงผล (บนหน้าขนาดจิ๋ว) Voice portrays การประยุกต์ Hey Anita ผู้ใช้บริการรับและส่งอีเมลล์ด้วยเสียงพูด สามารถรับฟัง ภาษาอังกฤษ เกาหลี จีนกลาง และสเปน Tell Me Networks Inc ผู้ใช้สามารถเรียกบริการแท็กซี่โรงแรมบางแห่งได้ Be Bocal ช่วยผู้ใช้ในการค้นหาบริการบางอย่าง เช่น สถานที่ส่ง พัสดุ FedEx หรือทิศทางบนถนน Audio point Inc ให้ข่าวสารเกี่ยวกับรัฐสภาสหรัฐ ข่าวอากาศ และข่าว ทั่วไปในเขตเมืองวอชิงตันดีซี
  • 49. 5.32 ผลประโยชน์ที่ องค์กรได้รับจากระบบ อินเทอร์เน็ต และ เทคโนโลยีเว็บระบบ อินเทอร์เน็ต และ ระบบ อินทราเน็ต และ อิน เอ็กซ์เน็ต ถูกนามาใช้เป็นเทคโนโลยีพื้นฐานสาหรับการพาณิชย์เล็กทรอ นิกส์ การทาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ และ องค์กรดิจิตอลสมัยใหม่เนื่องจาก เทคโนโลยีเหล่านี้ให้ประโยชน์ต่อองค์กรมากระบบอินเตอร์มีการใช้งาน แพร่หลายไปทั่วโลก ใช้งานง่ายมีค่าใช้จ่ายต่า และ มีความสามารถในการนา เทคโนโลยี มัลติมีเดียมาสร้าง โปรแกรมประยุกต์ที่มีระบบโต้ตอบรวมทั้ง การให้บริการต่างๆแก่ผู้ใช้ซึ่งช่วยลดค่าใช้จ่ายในการสื่อสาร การทา ธุรกรรม ช่วยเพิ่มความสามารถในการทางานร่วมกันและช่วยให้การแพร่ข่าวสาร ความรู้ภายในองค์กรได้อย่างรวดเร็ว
  • 50. 5.33 การเชื่อมต่อไปยัง ระบบเครือข่ายทั่วโลก คุณค่าที่สาคัญมากของระบบอินเทอร์เน็ตคือ ความสามารถในการเชื่อมต่อทางอิเล็กทรอนิกส์กับผู้คนมากมาย จากสถานที่ต่าง ๆ ทั่วโลกได้อย่างง่ายดายโดยมีค่าใช้จ่ายที่ต่า มาก ช่วยให้ องค์กรสามารถติดต่อกับลูกค้าได้อย่างกว้างขวาง และ ทั่วถึงรวมทั้งการเชื่อม ต่อกับบริษัทคู่ค้าได้โดยตรง ไม่ว่าบริษัทหรือองค์กร นั้นจะอยู่ใกล้เพียงใด ข้ามถนนหรืออยู่คนละซีกโลกก็ตาม หรือนา มาใช้เป็นเครื่องมือสื่อสารใน การรวมตัวกันเป็นองค์กรระหว่างชาติได้เป็นอย่างดี ระบบอินเทอร์เน็ตยังช่วยทา ให้การร่วมมือระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ภายในองค์กรเดียวกันเป็นไปได้อย่างราบรื่นสะดวกรวดเร็วด้วยค่าใช้จ่ายที่ ต่า มากเช่นกัน โดยเฉพาะองค์กรที่มีหน่วยแยกไปตั้งอยู่ที่สถานที่อื่นก็จะช่วย ในหน่วยแยกนั้นสามารถติดต่อกับส่วนกลางได้อย่างดีเหมือนเป็นปกติ องค์กรขนาดเล็กที่เคยมอง เห็นปัญหาการติดต่อค้าขายกับต่างชาติเป็นเรื่องที่ ต้องมีการลงทุนสูงมากสามารถนาระบบอินเทอร์เน็ตเข้าไปใช้เพื่อลด ค่าใช้จ่ายส่วนนี้ลงไปได้