SlideShare a Scribd company logo
1 of 114
Download to read offline
ภาษาคอมพิวเตอร์
Computer Language
Tanapat Limsaiprom
ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
#TanapatLim
พัฒนาการของภาษาคอมพิวเตอร์
เลขฐานสอง ข้อความภาษาอังกฤษ
X = 5 + 6
PRINT X
10101010
00000001
00001001
2
ประเภทของภาษาคอมพิวเตอร์
ประเภทของภาษาที่จัด
ว่าเป็นภาษาระดับต่า
ภาษาคอมพิวเตอร์
(Computer Language)
ประเภทของภาษาที่จัด
ว่าเป็นภาษาระดับสูง
ประเภทของภาษาที่ทางาน
ภายใต้ระบบปฏิบัติ Windows
„ ภาษาเครื่อง
„ ภาษาแอสเซมบลี
ภาษาฟอร์แทรน ภาษาเบสิก
ภาษาโคบอล ภาษาปาสคาล
ภาษาซี ภาษาเอดา
ภาษาพีแอลวัน
„ โปรแกรมภาษาเชิง
วัตถุ
3
ประเภทของภาษาคอมพิวเตอร์
ประเภทของภาษาที่จัดว่าเป็นภาษาระดับต่า
1. ภาษาเครื่อง (Machine Language) เป็นภาษาที่เขียนเป็นรหัส
เลขฐานสอง ซึ่งคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ทันที กล่าวคือ จะใช้เฉพาะเลข 0
และ 1 เท่านั้น เขียนสลับกันไปมาเพื่อใช้เป็นรหัสสั่งงานให้เครื่องคอมพิวเตอร์
ทางานตามต้องการ
5
ประเภทของภาษาที่จัดว่าเป็นภาษาระดับต่า
2. ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language)
หรือภาษาสัญลักษณ์ (Symbolic language)
อยู่ในรูปของสัญลักษณ์ โดยการนาตัวอักษรย่อหรือสัญลักษณ์ต่างๆมาใช้เขียนแทน
ตัวคาสั่ง ซึ่งจะทาให้สามารถจาและเขียนคาสั่งต่างๆได้ง่ายขึ้นกว่าภาษาเครื่อง
6
ประเภทของภาษาที่จัดว่าเป็นภาษาระดับสูง
พัฒนาเมื่อ ภาษาคอมพิวเตอร์ คุณลักษณะเด่น
1957 FORTRAN
(FORmular TRANslation)
เป็นภาษาที่ประยุกต์ใช้ในงานคานวณทางคณิตศาสตร์
หรือการคานวณแบบสูตร
1960 ALGOL
(ALGOrithmicLanguage)
เป็นภาษาที่มีความยืดหยุ่นกว่าภาษาFORTRAN โดย
เน้นการคานวณ เพื่อแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์และเป็น
ต้นแบบของการพัฒนาภาษาต่าง ๆ หลายภาษา
7
ประเภทของภาษาที่จัดว่าเป็นภาษาระดับสูง
พัฒนาเมื่อ ภาษาคอมพิวเตอร์ คุณลักษณะเด่น
1964 BASIC
Beginner’s All-purpose
Symbolic Instruction Code
เป็นภาษาที่ง่ายต่อการใช้งานและถูกออกแบบมาสาหรับผู้
เริ่มต้นเรียนรู้การใช้ภาษาคอมพิวเตอร์และยังสามารถ
นาไปประยุกต์ใช้งานได้ทั้งทางด้านธุรกิจ บริหาร
คณิตศาสตร์ การคานวณทางสถิติและการเขียนกราฟิก
เป็นต้น
1969 PASCAL
ตั้งชื่อเป็นเกียรติแก่
เบลส์ ปาสคาล
(Blasé Pascal)
เป็นภาษาโครงสร้าง (Structured language) ที่ให้
ผลลัพธ์ที่แน่นอนและแม่นยา ซึ่งถูกเรียกว่าเป็น ภาษา
แห่งระบบแบบแผน (Systematic language) หรือ
เป็นภาษาที่มีระเบียบสูงมาก
8
ประเภทของภาษาที่จัดว่าเป็นภาษาระดับสูง
พัฒนาเมื่อ ภาษาคอมพิวเตอร์ คุณลักษณะเด่น
1972 C เป็นภาษาที่พัฒนามาจากภาษา B และเป็นภาษา
ที่ได้รวมเอาข้อดีของภาษาต่าง ๆ เช่น ภาษา
Pascal LISP และ CPL
จนกลายเป็นภาษาโครงสร้างที่มีประสิทธิภาพใน
ด้านการนาไปประยุกต์ใช้กับงานได้หลากหลาย
1983 ADA
ตั้งชื่อเป็นเกียรติแก่
เลดี้เอดา ออกุสตา (Lady
Ada Augusta Lovelace)
เป็นภาษาที่ถูกพัฒนาขึ้นมาใช้ใน
กระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกา ลักษณะ
ของภาษาจะคล้ายกับภาษา Pascal แต่ซับซ้อน
กว่า
9
ประเภทของภาษาที่ทางานภายใต้ระบบปฏิบัติ
Windows
• เป็นภาษาในกลุ่มนี้เน้นการพัฒนาระบบงานในรูปแบบ
ฐานข้อมูล ในส่วนการออกแบบรูปแบบการแสดงผล สามารถ
สร้างสรรค์ในเชิงงานกราฟิกได้อย่างสวยงาม สามารถใช้อุปกรณ์
ประเภทเมาส์ในการป้อนข้อมูลเข้าระบบ และเลือกคาสั่งงานส่วน
ติดต่อกับผู้ใช้ได้
10
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
ตัวแปรภาษา (Translator Program) เป็นส่วนที่ใช้ในการแปลรหัสคาสั่ง
ของภาษาคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อแปลงให้เป็ นเลขฐานสอง
(ภาษาเครื่อง)
11
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
ลักษณะการทางานของตัวแปลภาษา
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาที่ใช้ภาษาเครื่อง จะถูกเรียกว่า
โปรแกรมต้นฉบับ (Source Program)
12
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
ลักษณะการทางานของตัวแปลภาษา
เมื่อบันทึกโปรแกรมลงสื่อบันทึกข้อมูล เครื่องจะกาหนดชนิดของโปรแกรม
(Type) ตามข้อกาหนดของแต่ละภาษาที่สร้างโดยอัตโนมัติ เช่น ภาษาซีจะมี
ชนิดเป็น C หรือภาษา C++ ที่จะมีชนิดเป็น CPP มีหน้าที่แปลชุดคาสั่งที่ใช้
ในรูปแบบคาสั่งที่ภาษานั้น ๆ กาหนดไว้ ให้เป็นโปรแกรมภาษาเครื่อง
(Object Program) ซึ่งเป็นภาษาเดียวที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถปฏิบัติตาม
คาสั่งได้
13
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
ลักษณะการทางานของตัวแปลภาษา
หลังจากแปลโปรแกรมต้นฉบับแล้ว เครื่องคอมพิวเตอร์ก็จะทาการสร้าง
โปรแกรมเพิ่มขึ้นอีก 1 โปรแกรม ให้มีชนิดของโปรแกรมเป็นชนิด .EXE
หรือ .OBJ เพื่อใช้ทางานในลักษณะของภาษาต่อไป
14
โปรแกรมเมอร์จะเขียนโปรแกรมในภาษาคอมพิวเตอร์แบบต่าง ๆ
โปรแกรมที่ได้จะเรียกว่า โปรแกรมต้นฉบับหรือซอร์สโปรแกรม
(source program) ซึ่งมนุษย์จะอ่านโปรแกรมต้นฉบับนี้ได้แต่
คอมพิวเตอร์จะไม่เข้าใจคาสั่งเหล่านั้น จึงต้องมีการใช้โปรแกรม
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator)
การพัฒนาซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
15
ในการแปลภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาต่าง ๆ ไปเป็นภาษาเครื่อง
โปรแกรมที่แปลจากโปรแกรมต้นฉบับแล้วเรียกว่า ออบเจค
โปรแกรม ( object program ) ซึ่งจะประกอบด้วยรหัสคาสั่งที่
คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนาไปปฏิบัติได้ต่อไป
การพัฒนาซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
16
ประเภทของตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
Assembler
Compiler
Interpreter
ตัวแปรภาษา
17
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
คอมไพเลอร์ (compiler) เป็นตัวแปลภาษาระดับสูง เช่น
ภาษาปาสคาล, โคบอล และ ภาษาฟอร์แทรนให้เป็นภาษาเครื่อง
โปรแกรมต้นฉบับ
(Source program)
คอมไพเลอร์
(Compiler)
โปรแกรมเรียกใช้งาน
(executable program)
ผลลัพธ์
(output)
ข้อมูลนาเข้า
(Input)
18
โปรแกรมแปลภาษาแบบคอมไพเลอร์
คอมไพเลอร์ (Compiler) ทาหน้าที่แปลโปรแกรมต้นฉบับที่เขียนด้วย
ภาษาระดับสูง เช่น ภาษาปาสคาล ภาษาโคบอล และภาษาฟอร์แทรน
ให้เป็นภาษาเครื่อง
19
โปรแกรมแปลภาษาแบบคอมไพเลอร์
หลักการทางานจะแปลโปรแกรมต้นฉบับ ทั้งโปรแกรมให้เป็นรหัสออบเจ็กต์
(Object Code) ในระหว่างการแปลข้อมูลรหัส หากพบข้อผิดพลาด จะแสดง
ข้อความแจ้งข้อผิดพลาดที่จอภาพ และหยุดการแปล เมื่อผู้เขียนโปรแกรม
แก้ไขข้อผิดพลาดเรียบร้อยแล้วให้ทาการแปลใหม่ ถ้าไม่มีข้อผิดพลาดจะได้
โปรแกรมใหม่ที่เรียกว่า โปรแกรมออบเจ็กต์
20
โปรแกรมแปลภาษาแบบคอมไพเลอร์
นาโปรแกรมออบเจ็กต์ที่ได้ไปลิงค์เข้ากับระบบ หรือไลบราลี ได้
ผลลัพธ์มาเป็นภาษาเครื่อง แล้วจึงนาภาษาเครื่องไปสั่งให้เครื่อง
ทางานตามคาสั่ง
21
โปรแกรมแปลภาษาแบบคอมไพเลอร์ (Compiler)
ข้อดี
•สามารถทาการแปลคาสั่งได้อย่างรวดเร็ว
ข้อเสีย
•ต้องเขียนโปรแกรมให้ครบทุกส่วนของโครงสร้างภาษาคอมพิวเตอร์
ที่เลือกใช้งานก่อน
22
อินเตอร์พรีเตอร์ (interpreter) เช่น ภาษาเบสิก (BASIC)
โปรแกรมต้นฉบับ
(Source program)
อินเตอร์พรีเตอร์
(Interpreter)
ผลลัพธ์
(output)
ข้อมูลนาเข้า
(Input)
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
23
โปรแกรมแปลภาษาแบบอินเตอร์พรีเตอร์
• อินเตอร์พรีเตอร์ (interpreter) เป็นโปรแกรมแปลภาษาที่ทา
หน้าที่แปลโปรแกรมภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง เช่นเดียวกับ
คอมไพเลอร์ แต่จะแปลโปรแกรมพร้อมกับทางานตามคาสั่งทีละ
คาสั่งตลอดไปทั้งโปรแกรม ทาให้การแก้ไขโปรแกรมกระทาได้
ง่าย และรวดเร็ว การแปลโดยใช้อินเตอร์พรีเตอร์จะไม่สร้าง
โปรแกรมเรียกใช้งาน ดังนั้นจะต้องทาการประมวลผลคาสั่งใหม่
ทุกครั้งที่มีการเรียกใช้งาน ตัวอย่างภาษาที่ใช้ตัวแปลอินเตอร์พรี
เตอร์ เช่น ภาษาเบสิก (BASIC)
24
โปรแกรมแปลภาษาแบบอินเตอร์พรีเตอร์
•ข้อดี คือสามารถสั่งแสดงผลการทางานได้ทันที โดยไม่ต้องเขียน
ชุดคาสั่งให้จบทั้งโปรแกรม ส่วนใหญ่นิยมใช้กับภาษาคอมพิวเตอร์ที่มี
รูปแบบการเขียนโปรแกรมแบบไม่มีโครงสร้าง
•ข้อเสีย คือจากการที่ไม่มีโปรแกรมที่แปลรหัสแล้วเก็บไว้ หากเขียน
โปรแกรมยาวมาก ๆ ก็จะทาให้การประมวลผลทาได้ช้า หากโปรแกรม
เพราะต้องเริ่มอ่านคาสั่งจากจุดเริ่มของโปรแกรมทุกครั้งที่มีการ
ประมวลผล
25
แอสแซมเบลอ (assembler) เป็นตัวแปลภาษาแอสแซมบลี
(Assembly) ให้เป็นภาษาเครื่อง
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
26
ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language)
•ภาษาแอสเซมบลีมีลักษณะของภาษาในรูปของการใช้รหัสช่วยจา
(mnemonic code) แทนตัวเลขฐานสองของภาษาเครื่องจักร ทาให้
เข้าใจง่ายขึ้นกว่าภาษาเครื่อง หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าเป็น
ภาษาสัญลักษณ์ ซึ่งมีโครงสร้างของภาษาใกล้เคียงกับภาษา
เครื่องจักร
27
ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language)
ภาษาแอสเซมบลีจะประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
Op-code หรือรหัสตัวดาเนินการ เช่น A แทนการบวก (Add) และ
Operand หรือตัวที่ถูกดาเนินการ ซึ่งจะใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษแทน
ตาแหน่งที่อยู่ในหน่วยความจาที่เก็บข้อมูลไว้ ตัวอย่างเช่น
28
คาสั่งของภาษาสัญลักษณ์
A X Y
ความหมายของคาสั่ง คือ ให้บวกค่าข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจาตาแหน่ง
ที่ X กับค่าข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจาตาแหน่งที่ Y เข้าด้วยกัน
A หมายถึง ให้บวกค่าข้อมูล
X หมายถึง ตาแหน่งในหน่วยความจาของค่าข้อมูลตัวตั้ง
Y หมายถึง ตาแหน่งในหน่วยความจาของค่าข้อมูลตัวตั้งบวก
ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language)
29
ข้อดีของภาษาแอสเซมบลี
เป็นภาษาที่เหมาะสาหรับการนาไปใช้ในการเรียนการสอน เพื่อศึกษาการ
ทางานของอุปกรณ์อิเล็คทรอนิกส์ในระบบการทางานของคอมพิวเตอร์ และฝึกทักษะการ
เขียนชุดคาสั่งควบคุมการทางานของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ข้อจากัดของภาษาแอสเซมบลี
1.เป็นภาษาที่ผู้เขียนต้องจาสัญลักษณ์ที่ใช้แทนคาสั่งต่าง ๆ รวมทั้งต้องมีพื้น
ฐานความรู้ด้านอิเล็กทรอนิกส์ ปัจจุบันผู้ใช้ภาษาแอสเซมบลี จึงเป็นกลุ่มผู้ใช้งานเฉพาะ
ด้านและมีจานวนไม่มาก
2.เมื่อเปลี่ยนไปใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นก็จะต้องเปลี่ยนชุดคาสั่งตามชนิดของ
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานนั้นด้วย
ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language)
30
เป็นภาษาระดับสูงที่ใช้เขียนคาสั่งงานเพื่อควบคุมการทางานของ
เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เช่น เครื่องเมนเฟรม (Mainframe
Computer) เป็นภาษาที่ใช้แก้ปัญหาด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
ภาษา FORTRAN จึงเหมาะสาหรับเขียนโปรแกรมเกี่ยวกับสูตร สมการ
หรือฟังก์ชันทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ตัวอย่างของภาษา
FORTRAN บางส่วนมีดังนี้
ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN)
31
READ X
IF((X.GT.0) .AND. (X.LT.100)) THEN
PRINT *, ‘VALUE OF X IS :’,X
ELSE
PRINT * , ‘X IS NOT BETWEEN 0 AND 100’
ความหมายของคาสั่งงาน
READ X
หมายถึง การอ่านค่าลงในตัวแปรชื่อ X
IF((X.GT.0) .AND. (X.LT.100)) THEN
หมายถึง การตรวจสอบค่า X ที่อ่านค่า เข้ามาว่าอยู่ระหว่า 0-100 หรือไม่ ถ้าใช่ให้ทาคาสั่งหลัง THEN
ถ้าไม่ใช่ให้ทาคาสั่งหลัง ELSE
PRINT *, ‘VALUE OF X IS :’,X
หมายถึง ให้พิมพ์ทั้งประโยคด้วยข้อความที่ กาหนดแล้วตามด้วยค่าของตัวแปร X ที่อ่านเข้ามา
PRINT * , ‘X IS NOT BETWEEN 0 AND 100’
หมายถึง พิมพ์ทั้งประโยคโดยแสดงค่าของ X ก่อนประโยคข้อความ
ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN)
32
ข้อดีของภาษาฟอร์แทรน
เป็นภาษาที่มีคาสั่งงานเน้นประสิทธิภาพด้านการคานวณ วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ รวมทั้ง
คาสั่งควบคุมการทางานของอุปกรณ์เครื่องเมนเฟรม
ข้อจากัดของภาษาฟอร์แทรน
เนื่องจากคาสั่งงานเหมาะสาหรับการควบคุมการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เมื่อ
นามาประยุกต์ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก จะต้องปรับใช้คาสั่งมากมาย รวมทั้งเมื่อมีการเปลี่ยน
เครื่องประมวลผลก็ต้องเปลี่ยนรูปแบบคาสั่งทุกครั้ง
ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN)
33
เป็นภาษาระดับสูงที่พัฒนาขึ้นมา โดยมุ่งเน้นการควบคุมเครื่อง
ไมโครคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ในการเรียนการสอน เพื่อฝึกทักษะการเขียน
โปรแกรมควบคุมการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ รูปแบบคาสั่งงานประยุกต์
มาจากข้อความภาษาอังกฤษที่ใช้สื่อสารกันในชีวิตประจาวันที่ใช้งานกันอยู่
แล้ว ทาให้การเขียนคาสั่งงานง่ายขึ้น ตัวอย่างเช่น
ภาษาเบสิก (BASIC)
INPUT X
IF X > 0 AND X < 100 THEN
PRINT “VALUE OF X IS :” ; X
ELSE
PRINT “X IS NOT BETWEEN 0 AND 100”
END IF
ความหมายของคาสั่งงาน
INPUT X หมายถึง การอ่านค่าลงในตัวแปรชื่อ X
IF X > O AND X < 100 THEN หมายถึง การตรวจสอบค่า X ที่อ่านค่า
เข้ามาว่าอยู่ระหว่า 0-100 หรือไม่ ถ้าใช่ให้ทาคาสั่งหลัง THEN
ถ้าไม่ใช่ให้ทาคาสั่งหลัง ELSE
PRINT “VALUE OF X IS : “; X หมายถึง การตรวจสอบค่า X ที่อ่านค่า
เข้ามาว่าอยู่ระหว่า 0-100 หรือไม่ ถ้าใช่ให้ทาคาสั่งหลัง THEN
ถ้าไม่ใช่ให้ทาคาสั่งหลัง ELSE
PRINT “X IS NOT BETWEEN 0 AND 100” หมายถึง พิมพ์ทั้งประโยค
โดยแสดงค่าของ X ก่อนประโยคข้อความ
35
ข้อดีของภาษาเบสิก
คือชุดคาสั่งงานมีรูปแบบการใช้งานง่ายและสั้น ทาให้ผู้ใช้งานสะดวกใน
การนาไปใช้งานในด้านการพัฒนาระบบงาน และงาน
อื่น ๆ ทั่วไป ทั้งด้านงานคานวณในระบบงานทางธุรกิจ และงานด้าน
วิทยาศาสตร์ อีกทั้งยังเหมาะสาหรับผู้เริ่มฝึกทักษะการเขียนโปรแกรมอีกด้วย
ข้อจากัดของภาษาเบสิก
คือเป็นภาษาที่มีรูปแบบของภาษาแบบ “ไม่มีโครงสร้าง” ซึ่งไม่เหมาะ
กับระบบงานขนาดใหญ่ ๆ
ภาษาเบสิก (BASIC)
36
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงในยุคแรก ที่มีการออกแบบการ
เขียนโปรแกรมแบบโครงสร้าง (Structured Program) เน้นการเขียนคาสั่ง
ควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เช่น “คอมพิวเตอร์รุ่น
เมนเฟรมและมินิ” เหมาะสาหรับงานทางด้านธุรกิจและพาณิชยกรรมที่มี
การประมวลผลข้อมูลจานวนมากตัวอย่างลักษณะการเขียนคาสั่ง มีดังนี้
ภาษาโคบอล (COBOL)
37
IDENTIFICATION DIVISION.
PROGRAM-ID. SIMPLE_PROGRAM.
ENVIRONMENT DIVISION.
CONFIGURATION SECTION.
INPUT-OUTPUT SECTION.
FILE-CONTROL.
SELECT data ASSIGN TO DISK.
DATA DIVISION.
FILE SECTION.
PROCEDURE DIVISION.
…
ภาษาโคบอล (COBOL)
38
ความหมายของคาสั่งงาน
ภาษาโคบอลเป็นภาษาที่มีโครงสร้างทางภาษาที่ชัดเจนโดยมีการแบ่งส่วน
ของโปรแกรมเป็น 4 ส่วน หรือ 4 Divisions ซึ่งในแต่ละ Division ก็สามารถแบ่งเป็น
section ได้อีกตามความจาเป็นที่ต้องใช้งานในโปรแกรม
สาหรับการใช้ภาษาโคบอลเขียนโปรแกรมนั้นผู้เขียนโปรแกรม (Programmer)
จะต้องเขียนโปรแกรมยาวมาก ทาให้เมื่อเกิดข้อผิดพลาดขึ้นขณะทาการแปรชุดคาสั่ง
มักจะหาตาแหน่งที่ผิดพลาดของคาสั่งได้ยาก
ภาษาโคบอล (COBOL)
39
ข้อดีของภาษาโคบอล
คือ เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสาหรับการนาไปพัฒนาระบบงานทางด้าน
ธุรกิจที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ที่ไม่ใช่ไมโครคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะ
ระบบงานที่ต้องมีการพิมพ์รายงานเป็นประจา หรือใช้กับระบบงานที่มีการเชื่อมการ
ทางานไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่อง
ข้อจากัดของภาษาโคบอล
คือ ไม่เหมาะสาหรับการนาไปพัฒนาระบบงานกับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก
ชุดคาสั่งต้องเขียนยาวมาก และแก้ไขยาก ใช้เวลาในการพัฒนาโปรแกรมนาน อีกทั้งยัง
ทาให้การแก้ไขข้อผิดพลาดของโปรแกรมทาได้ยากอีกด้วย
ภาษาโคบอล (COBOL)
40
เป็นภาษาระดับสูงที่ได้รับการพัฒนาเพื่อให้สามารถนามาใช้กับเครื่อง
คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กได้ และเป็นภาษาที่มีลักษณะโปรแกรมแบบโครงสร้าง นิยม
นาไปใช้ในการพัฒนาระบบงานทั่วไปอย่างกว้างขวาง รวมทั้งงานทางด้านการเขียน
โปรแกรมเกี่ยวกับ สูตร สมการ และฟังก์ชันทางด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
เพราะการเขียนคาสั่งงานง่าย ใช้เวลาน้อยในการศึกษาวิธีการเขียนคาสั่งงาน
ตัวอย่างของคาสั่งงานในภาษาปาสคาลมีดังนี้
ภาษาปาสคาล (PASCAL)
41
PROGRAM sample;
USES CRT;
VAR
a , b , c : INTEGER;
BEGIN
readLn ( a );
readLn ( b );
C := a + b;
writeln (c);
END.
ความหมายของคาสั่งงาน
จากตัวอย่างโปรแกรมแสดงให้เห็นถึงโครงสร้างของภาษาปาสคาลที่มีการกาหนด
จุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดทุกครั้ง ทาให้ภาษาปาสคาลถูกเรียกว่าเป็น ภาษาแบบโครงสร้างที่มีความ
เป็นระเบียบอย่างมาก โปรแกรมตัวอย่างนี้เป็นการอ่านข้อมูล ผ่านทางคีย์บอร์ด เพื่อนาข้อมูลเข้า
มาทาการประมวลผล แล้วจึงแสดงผลลัพธ์ออกทางจอภาพ 42
ข้อดีของภาษาปาสคาล
คือเป็นภาษาที่มีลักษณะเป็นโครงสร้าง ทาให้ง่ายต่อการศึกษาวิธีการใช้งาน เหมาะ
สาหรับงานทั่วไป ทั้งงานทางด้านธุรกิจ และงานด้านการคานวณทางวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์และวิศวกรรม จึงนิยมนาไปใช้ในการเรียนการสอนสาหรับผู้เริ่มต้นเขียน
โปรแกรม
ข้อจากัดของภาษาปาสคาล
เนื่องจากเป็นภาษาที่ถูกออกแบบมาสาหรับใช้ในการเรียนการสอนทาให้ภาษา
ปาสคาลขาดคุณสมบัติหลาย ๆ อย่างในการนาไปใช้งานจริง
ภาษาปาสคาล (PASCAL)
43
เป็นภาษาระดับสูง ที่มีลักษณะโปรแกรมแบบโครงสร้าง
อีกภาษาหนึ่งที่ได้รับความนิยมนาไปใช้ในงานพัฒนาระบบงาน
เนื่องจากมีคาสั่งในการเข้าถึงการทางานของอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ในระบบการทางานของคอมพิวเตอร์โดยตรง
ตัวอย่างคาสั่งงานของภาษาซีมีดังนี้
ภาษาซี (C)
44
# include <stdio.h>
void main() {
printf(“Hello world”);
getch();
}
ความหมายของคาสั่งงาน
หมายถึงการสั่งให้พิมพ์คาว่า “Hello world” ออกทางจอภาพ
จากนั้นให้รอรับการป้ อนค่าใด ๆ 1 ค่า จากคีย์บอร์ดจึงจะจบการทางาน
ของโปรแกรม
ภาษาซี (C)
45
ข้อดีของภาษาซี
คือ เป็นภาษาระดับสูงที่เหมาะสาหรับการพัฒนาระบบงานเชิงคานวณทั่วไป
นอกจากนี้ภาษาซียังเป็นภาษาที่สามารถเข้าถึงอุปกรณ์ของระบบคอมพิวเตอร์ได้โดยตรง
และมีคาสั่งที่สามารถเชื่อมโยงการใช้งานกับโปรแกรมภาษาแอสเซมบลีได้ ทาให้ภาษาซี
เป็นภาษาที่มีประสิทธิภาพการในการประมวลผลงานได้อย่างรวดเร็ว ทาให้ภาษาซีเหมาะ
สาหรับงานผลิตซอฟต์แวร์สาเร็จรูป
ข้อจากัดของภาษาซี
คือ มีบางคาสั่งที่คล้ายภาษาสัญลักษณ์ จึงยากต่อการจา รวมทั้งมีรูปแบบ
คาสั่งกฎเกณฑ์การใช้งานมาก จึงอาจจะไม่เหมาะสาหรับผู้เริ่มต้นเขียนโปรแกรม
ภาษาซี (C)
46
ภาษาที่มีกลไกสนับสนุนการสร้างวัตถุ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าระบบ เพื่อใช้ใน
การสร้างโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming) ที่ประกอบขึ้นจาก
ระบบที่ทางานเกี่ยวข้องกันจานวนมาก ภาษา Smalltalk ที่พัฒนาโดยกลุ่มนัก
ค้นคว้าของบริษัท Xerox
ภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Language)
47
เป็นภาษาที่เน้นการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุอย่างแท้จริงเป็นภาษาแรก นอกจากนี้
ภาษาซีก็ได้ถูกพัฒนาให้เป็นโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยเช่นกัน โดยใช้ชื่อว่า ภาษา C++ ซึ่ง
พัฒนาขึ้นโดย Bjarne Stroutrup จากบริษัท AT&T นอกจากนี้ภาษา FORTRAN90,
Ada95, Modula-3 และ Prolog II ก็ถูกพัฒนาให้สนับสนุนโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยเช่นกัน
แต่ภาษา Eiffel และภาษา Smalltalk ก็เป็นอีกภาษาหนึ่งที่ถูกออกแบบมาโดยเน้นการ
คิดแบบเชิงวัตถุเป็นหลัก ซึ่งทาให้ผู้ใช้ต้องคิดและเขียนโปรแกรมเป็นเชิงวัตถุทั้งหมด
อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
ภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Language)
48
ข้อดีของภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ
คือสามารถพัฒนาระบบงานขนาดใหญ่ ที่มีลักษณะการเขียนโปรแกรมแบบแบ่งเป็น
ส่วนย่อย หรือเรียกว่า “โมดูล” ภาษาในกลุ่มนี้มีการออกแบบคาสั่งงานในรูปแบบของ
เครื่องมืออานวยความสะดวก ที่เรียกว่า “ทูล” เพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถคลิกเมาส์
เพื่อเลือกคาสั่งงานได้อย่างสะดวก และรวดเร็ว โดยไม่ต้องจดจาคาสั่งทุกคาสั่งและมีคาสั่ง
งานที่เอื้อต่อการแสดงผลในลักษณะกราฟิกได้อย่างสวยงาม และมีประสิทธิภาพ
ภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Language)
49
ข้อจากัดของภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ
คือ คาสั่งงานจะมีลักษณะเชิงกราฟิก ส่งผลให้รูปแบบการเขียนคาสั่งมีข้อความ
การสั่งงานที่มีความยาวมาก รายละเอียดรูปแบบการนาคาสั่งงานไปใช้งานมีมาก
และหลายลักษณะรวมทั้งการวิเคราะห์ระบบงานพัฒนาโปรแกรมเปลี่ยนไปเป็นการ
มองเชิงวัตถุ ดังนั้นการใช้งานโปรแกรมกลุ่มนี้ให้มีประสิทธิภาพ ผู้ใช้งานควรมีพื้น
ฐานความรู้ในทักษะการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงมาก่อน
ภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Language)
50
การเลือกใช้ภาษาคอมพิวเตอร์
1) ภาษามาตรฐานที่ใช้ในองค์การ ในหน่วยงานควรมีภาษามาตรฐานใช้พัฒนา
เพราะทาให้เกิดความสะดวกในการดูแลระบบ
2) ความเหมาะสมและคุณสมบัติของภาษา เพราะภาษาแต่ละภาษาได้ถูก
ออกแบบมาเพื่องานเฉพาะอย่าง
3) การทางานร่วมกับโปรแกรมอื่น ควรเลือกภาษาที่ใกล้เคียงกันเพื่อให้
โปรแกรมทางานร่วมกับโปรแกรมอื่น ๆ ได้อย่างไม่มีอุปสรรค
4) การทางานร่วมกับระบบอื่น ๆ ควรเลือกภาษาที่เป็นพื้นฐานในการพัฒนา
โปรแกรม จะทาให้โปรแกรมทางานได้ทุกระบบ
51
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ( Application Software )
• พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้เฉพาะด้านเท่านั้น
– แบ่งออกตามเกณฑ์ที่ใช้แบ่งได้ดังนี้
• แบ่งตามลักษณะการผลิต
• แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน
52
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ( Application Software)
–แบ่งตามลักษณะการผลิต ได้ 2 ประเภทคือ
• ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ
• ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้โดยทั่วไป
53
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ( Application Software)
• แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน ได้ 3 กลุ่มใหญ่คือ
• กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ
• กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย
• กลุ่มใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร
54
55
การจัดหาซอฟต์แวร์มาใช้งาน
1. แบบสาเร็จรูป (Package Software)
2. แบบว่าจ้าง (Custom Software)
3. แบบทดลองใช้ (Shareware)
4. แบบใช้งานฟรี (Freeware)
5. แบบโอเพ่นซอร์ส (Public-Domain/Open Source)
56
1. แบบสาเร็จรูป (Package Software)
• หาซื้อได้กับตัวแทนจาหน่ายซอฟต์แวร์ที่ได้รับการแต่งตั้งจากบริษัทผู้ผลิต
โดยตรง
• นาไปติดตั้งเพื่อการใช้งานได้โดยทันที โดยมีบรรจุภัณฑ์และเอกสารคู่มือ
การใช้งานไว้แล้ว
• อาจเข้าไปในเว็บไซท์ของบริษัทผู้ผลิตเพื่อซื้อได้เช่นกัน
แบบว่าจ้าง ( Custom Software)
•เหมาะกับลักษณะงานที่เป็นแบบเฉพาะ
•จาเป็นต้องผลิตขึ้นมาใช้เองหรือว่าจ้างให้ทา
•อาจมีค่าใช้จ่ายที่แพงพอสมควร
57
58
แบบทดลองใช้ (Shareware)
•ลูกค้าสามารถทดสอบการใช้งานของโปรแกรมก่อนได้ฟรี
•ผู้ผลิตจะกาหนดระยะเวลาของการใช้งานหรือเงื่อนไขอื่น เช่น ใช้ได้
ภายใน 30 วัน หรือ ใช้ได้ แต่ปรับลดคุณสมบัติบางอย่างลง
•อาจดาวน์โหลดได้จากเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
แบบใช้งานฟรี (Freeware)
• สามารถดาวน์โหลดบนอินเทอร์เน็ตได้
• ส่วนใหญ่จะเป็นโปรแกรมขนาดเล็กและใช้เวลาเพียงไม่กี่นาทีในการดาวน์โหลด
• ให้ใช้งานได้ฟรี แต่ไม่สามารถนาไปพัฒนาต่อหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้
• ลิขสิทธิ์เป็นของบริษัทหรือทีมงานผู้ผลิต
59
แบบโอเพ่นซอร์ส (Public-Domain/Open Source)
• Open Source = ซอฟต์แวร์ที่มีการเปิดให้แก้ไขปรับปรุงตัวโปรแกรม
ต่างๆได้
• นาเอาโค้ดโปรแกรมไปพัฒนาและประยุกต์ใช้ได้ภายใต้เงื่อนไขที่กาหนด
• มีนักพัฒนาจากทั่วโลก ช่วยกันเขียนโค้ดและนาไปแจกจ่ายต่อ
• ประหยัดเงินและค่าใช้จ่าย
• การพัฒนาโปรแกรมทาได้เร็วขึ้น
60
ระบบปฏิบัติการแบบฝัง (embeded OS)
• พบเห็นได้ในอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาขนาดเล็ก เช่น พีดีเอ
หรือ smart phone บางรุ่น
• สนับสนุนการทางานแบบเคลื่อนที่ได้เป็นอย่างดี
61
62
ระบบปฏิบัติการแบบฝัง (embeded OS)
•บางระบบมีคุณสมบัติที่ใกล้เคียงกับระบบปฏิบัติ
การแบบเดี่ยว เช่น ดูหนัง ฟังเพลงหรือเชื่อมต่อ
อินเทอร์เน็ตได้
ระบบปฏิบัติการบนมือถือ
•Android OS
•iPhone iOS
Smartphone
•Symbian
•Windows Phone 7
•BlackBerry
อาจารย์จินตนา อัศวรัตน์:jinny_asavarat@hotmail.com
http://www.learners.in.th/blog/ajarnkai
63
ระบบปฏิบัติการแบบฝัง (Embedded OS)
• Pocket PC OS (Windows CE เดิม)
–ย่อขนาดการทางานของ Windows ให้มีขนาดที่เล็กลง
(scaled-down version)
–รองรับการทางานแบบ multi-tasking ได้
–มักติดตั้งบนเครื่อง Pocket PC หรืออาจพบเห็นในมือถือ
ประเภท smart phone บางรุ่น
64
65
3.ระบบปฏิบัติการแบบฝัง (Embedded OS)
•Palm OS
–พัฒนาขึ้นมาก่อน Pocket PC OS
–ลักษณะงานที่ใช้จะคล้ายๆกัน
–ใช้กับเครื่องที่ผลิตขึ้นโดยบริษัท
ปาล์มและบางค่ายเท่านั้น เช่น Visor
(ของค่ายHandspring) และ CLIE
(ของค่าย Sony)
3.ระบบปฏิบัติการแบบฝัง (Embedded OS)
• Symbian OS
–รองรับกับเทคโนโลยีการสื่อสารแบบไร้สาย (wireless)
โดยเฉพาะ
–นิยมใช้กับโทรศัพท์มือถือประเภท smart phone
–สนับสนุนการทางานแบบหลายๆงานในเวลาเดียวกัน (multi-
tasking)
66
โปรแกรมอรรถประโยชน์
หรือโปรแกรมยูทิลิตี้ (Utility Program)
•ส่วนใหญ่จะมีขนาดของไฟล์ที่เล็กกว่าระบบปฏิบัติการ
•มีคุณสมบัติในการใช้งานค่อนข้างหลากหลายหรือใช้งานได้แบบ
อรรถประโยชน์
•นิยมเรียกสั้นๆว่า ยูทิลิตี้(utility)
•อาจแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดคือ
–ยูทิลิตี้สาหรับระบบปฏิบัติการ (OS utility programs)
–ยูทิลิตี้อื่นๆ (stand-alone utility programs)
67
68
ยูทิลิตี้สาหรับระบบปฏิบัติการ
(OS Utility Programs)
• ตัวอย่างของยูทิลิตี้ที่ทางานด้านต่างๆ
–ประเภทการจัดการไฟล์ (File Manager)
–ประเภทการลบทิ้งโปรแกรม (Uninstaller)
–ประเภทการสแกนดิสก์ (Disk Scanner)
–ประเภทการจัดเรียงพื้นที่เก็บข้อมูล (Disk Defragmenter)
–ประเภทรักษาหน้าจอ (Screen Saver)
ยูทิลิตี้สาหรับระบบปฏิบัติการ
(OS Utility Programs)
• ประเภทการจัดการไฟล์ (File Manager)
–มีหน้าที่หลักในการจัดการเกี่ยวกับ
ไฟล์ต่างๆเช่น การคัดลอก การ
เปลี่ยนชื่อ การลบและการย้ายไฟล์
เป็นต้น
–ระบบปฏิบัติการ Windows รุ่นใหม่ๆ
ยังได้เพิ่มคุณสมบัติที่เรียกว่า image
viewer เพื่อนามาปรับใช้กับไฟล์
รูปภาพได้
อาจารย์จินตนา อัศวรัตน์:jinny_asavarat@hotmail.com
http://www.learners.in.th/blog/ajarnkai
69
ยูทิลิตี้สาหรับระบบปฏิบัติการ
(OS Utility Programs)
• ประเภทการลบทิ้งโปรแกรม
(Uninstaller)
–ลบหรือกาจัดโปรแกรมที่ไม่ได้ใช้
ออกไปจากระบบ
–ทาให้พื้นที่เก็บข้อมูลมีเหลือเพิ่ม
มากขึ้น
–ทางานได้อย่างง่ายดาย
70
ยูทิลิตี้สาหรับระบบปฏิบัติการ
(OS Utility Programs)
• ประเภทการสแกนดิสก์ (Disk
Scanner)
–สแกนหาข้อผิดพลาดต่างๆพร้อมทั้ง
หาทางแก้ปัญหาในดิสก์
–ประยุกต์ใช้เพื่อสแกนหาไฟล์ที่ไม่
ต้องการใช้งาน (unnecessary files)
เมื่อใช้คอมพิวเตอร์ไประยะหนึ่งได้
71
ยูทิลิตี้สาหรับระบบปฏิบัติการ
(OS Utility Programs)
• ประเภทการจัดเรียงพื้นที่เก็บ
ข้อมูล (Disk Defragmenter)
– ช่วยในการจัดเรียงไฟล์ข้อมูลให้
เป็นระเบียบ และเป็นกลุ่มเป็น
ก้อน
–เมื่อต้องการใช้งานไฟล์ข้อมูล
ในภายหลังจะเข้าถึงข้อมูลได้
ง่าย และรวดเร็วกว่าเดิม
72
ยูทิลิตี้สาหรับระบบปฏิบัติการ
(OS Utility Programs)
• ประเภทรักษาหน้าจอ (Screen Saver)
–ช่วยถนอมอายุการใช้งานของ
จอคอมพิวเตอร์ให้ยาวนานมากขึ้น
–ใช้ภาพเคลื่อนไหวไปมา และเลือก
ลวดลายหรือภาพได้ด้วยตนเอง
–อาจพบเห็นกับการตั้งค่ารหัสผ่านของ
โปรแกรมรักษาหน้าจอเอาไว้ได้
73
73
ยูทิลิตี้อื่นๆ (Stand-Alone Utility Programs)
• เป็นยูทิลิตี้ที่ทางานด้านอื่นโดยเฉพาะไม่เกี่ยวกับระบบปฎิบัติการ
• มักทางานเฉพาะอย่าง หรือด้านใดด้านหนึ่ง
• มีทั้งที่แจกให้ใช้ฟรีและเสียเงิน
• มีให้เลือกใช้เยอะและหลากหลายมาก
• ใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กถึงขนาดใหญ่
74
ยูทิลิตี้อื่นๆ (Stand-Alone Utility Programs)
• โปรแกรมป้ องกันไวรัส (Anti Virus Program)
– ติดตั้งไว้เพื่อป้ องกันและแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับ
โปรแกรมประสงค์ร้าย
– ต้องอัพเดทข้อมูลใหม่อยู่เสมอเพื่อให้รู้จักและ
หาทางยั้บยั้งไวรัสใหม่ๆที่เกิดขึ้นทุกวัน
– ควรติดตั้งไว้ในเครื่องทุกเครื่อง
75
ยูทิลิตี้อื่นๆ (Stand-Alone Utility Programs)
• โปรแกรมไฟร์วอลล์ (Personal Firewall)
–ป้ องกันการบุกรุกจากผู้ไม่ประสงค์ดี
–สามารถติดตามและตรวจสอบรายการต่างๆของผู้บุกรุกได้
–เหมาะกับเครื่องที่ต้องการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลเป็ น
อย่างมาก
76
ยูทิลิตี้อื่นๆ (Stand-Alone Utility Programs)
• โปรแกรมบีบอัดไฟล์ (File Compression Utility)
–เป็นโปรแกรมที่ทาหน้าที่บีบอัดไฟล์ให้มี
ขนาดที่เล็กลง
–ไฟล์ที่ได้จากการบีบอัดไฟล์บางครั้ง นิยม
เรียกว่า ซิปไฟล์ (zip files)
–ยูทิลิตี้ที่นิยมใช้และรู้จักกันเป็นอย่างดี เช่น
PKZip, WinZip เป็นต้น
ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์
•แบ่งตามลักษณะการผลิตได้เป็น 2 ประเภท
–ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาเอง (proprietary software)
–ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้โดยทั่วไป (off-the-shelf software)
78
78
ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาเอง
(proprietary software)
เพราะหน่วยงานไม่สามารถหาซอฟต์แวร์ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพดี
เพียงพอกับความต้องการได้
• วิธีการพัฒนาอาจทาได้ 2 วิธีคือ
–in-house developed สร้างและพัฒนาโดยหน่วยงานในบริษัทเอง
–contract หรือ outsource เป็นการจ้างบุคคลภายนอกให้ทาขึ้นมา
79
ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้โดยทั่วไป
(Off-the-shelf Software)
• มีวางขายตามท้องตลาดทั่วไป (off-the-shelf) โดยบรรจุหีบห่ออย่างดีและ
สามารถนาไปติดตั้งและใช้งานได้ทันที
• บางครั้งนิยมเรียกว่า โปรแกรมสาเร็จรูป (package software)
แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ
–โปรแกรมเฉพาะ (customized package)
–โปรแกรมมาตรฐาน (standard package)
80
โปรแกรมเฉพาะ (customized package)
• เป็นโปรแกรมที่อาจต้องขอให้ผู้ผลิตทาการเพิ่มเติมคุณสมบัติบางอย่างลงไป
เพียงเล็กน้อย
• เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานแบบเฉพาะองค์กรมากขึ้น
• บางครั้งนิยมเรียกว่าเป็นซอฟต์แวร์ตามคาสั่ง (tailor-made software)
81
โปรแกรมมาตรฐาน
(standard package)
• สามารถใช้ได้กับงานทั่วไป
• มีคุณสมบัติที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน
• ใช้งานง่าย ศึกษาคู่มือและรายละเอียดการใช้เพียงเล็กน้อย
• ไม่จาเป็นต้องไปปรับปรุงหรือแก้ไขส่วนของโปรแกรมเพิ่มเติม
• เช่น กลุ่มโปรแกรมสาเร็จรูปทางด้าน Microsoft Office
82
ข้อดีของซอฟต์แวร์ที่พัฒนาเอง
• สามารถเพิ่มเงื่อนไขและความต้องการต่างๆได้ไม่จากัด
• สามารถควบคุมให้เป็นไปตามที่ต้องการได้ตลอดระยะเวลาการพัฒนา
นั้น
• ยืดหยุ่นการทางานได้ดีกว่า เมื่อข้อมูลใดๆมีการเปลี่ยนแปลง
83
ข้อเสียของซอฟต์แวร์ที่พัฒนาเอง
• ใช้เวลาในการออกแบบและพัฒนานานมาก เพื่อให้ได้คุณสมบัติตรงตามที่
ต้องการ
• ทีมงานถูกกดดัน เพราะจะถูกคาดหวังว่าต้องได้คุณสมบัติตรงตามความ
ต้องการทุกประการ
• เสียเวลาดูแลและบารุงรักษาระบบนั้นๆตามมา
• เสี่ยงต่อความผิดพลาดสูง อาจทาให้เกิดปัญหาขึ้นมาได้
84
85
ข้อดีของซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้โดยทั่วไป
•ซื้อได้ในราคาถูก เพราะนาออกมาจาหน่ายเป็นจานวนมาก
•ความเสี่ยงในการใช้งานต่า และสามารถศึกษาคุณสมบัติและ
ประสิทธิภาพของโปรแกรมได้โดยตรงจากคู่มือที่มีให้
•โปรแกรมที่ได้มีคุณภาพดีกว่า เนื่องจากมีผู้ใช้หลายรายทดสอบและแจ้ง
แก้ไขปัญหาให้กับผู้ผลิตมาเป็นอย่างดีแล้ว
86
ข้อเสียของซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้โดยทั่วไป
• คุณสมบัติบางอย่างเกินความจาเป็นและต้องการ
• คุณสมบัติบางอย่างอาจไม่มีให้ใช้
• เมื่อต้องการเพิ่มคุณสมบัติต้องจ่ายเงินมากขึ้น แต่ในบางโปรแกรมก็ไม่
สามารถทาได้
• ไม่ยืดหยุ่น จึงไม่เหมาะสมกับงานที่จาเป็นต้องปรับเปลี่ยนหรือแก้ไขระบบ
อยู่บ่อยๆ
ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์
แบ่งตามกลุ่มการใช้งานได้ 3 กลุ่มดังนี้
–กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ (business)
–กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย (graphic and
multimedia)
–กลุ่มสาหรับการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร (web and
communications)
87
ซอฟต์แวร์กลุ่มการใช้งานด้านธุรกิจ
•มุ่งเน้นให้ใช้งานเพื่อประโยชน์สาหรับงานทางด้าน
ธุรกิจโดยเฉพาะ
•ทาให้การทางานมีประสิทธิภาพดีขึ้นมากกว่าการใช้
แรงงานคน
•ตัวอย่างงาน เช่น ใช้สาหรับการจัดพิมพ์รายงาน
เอกสาร นาเสนองาน รวมถึงการบันทึกนัดหมายต่างๆ
88
ซอฟต์แวร์กลุ่มการใช้งานด้านธุรกิจ
อาจแบ่งซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ออกเป็นประเภท ได้ดังนี้
–ซอฟต์แวร์ประมวลผลคา (Word processing)
–ซอฟต์แวร์ตารางคานวณ (Spreadsheet)
–ซอฟต์แวร์ฐานข้อมูล (Database)
–ซอฟต์แวร์นาเสนองาน (Presentation)
–ซอฟต์แวร์สาหรับพีดีเอ (PDA Software)
–ซอฟต์แวร์แบบกลุ่ม (Software Suite)
–ซอฟต์แวร์สาหรับจัดการโครงการ (Project management)
–ซอฟต์แวร์สาหรับงานบัญชี (Accounting)
89
ซอฟต์แวร์ประมวลผลคา (Word processing)
• เป็นกลุ่มของโปรแกรมที่ช่วยในการประมวลผล
คา
• สามารถจัดการเอกสารต่างๆได้ เช่น ขนาด
ตัวอักษรใหญ่ เล็ก รูปแบบตัวอักษร เป็นต้น
• นาเอารูปภาพมาผนวกเข้ากับเอกสารได้ (คลิป
อาร์ตและภาพถ่าย)
• ตัวอย่างโปรแกรม เช่น MicrosoftWord, Sun
StarOffice Writer
90
ซอฟต์แวร์ตารางคานวณ (Spreadsheet)
• กลุ่มของซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องกับการ
คานวณต่างๆ
• นาเอา ตารางคานวณ (spreadsheet) มา
ใช้ในการทางาน
• หน่วยที่เล็กที่สุดบริเวณทางานเรียกว่า
เซล
• นิยมใช้กับงานด้านบัญชีและรายการ
คานวณอื่น
• ตัวอย่างโปรแกรม เช่น Microsoft
Excel,Sun StarOffice Calc
91
ซอฟต์แวร์ฐานข้อมูล (Database)
• สร้างและรวบรวมข้อมูลต่างๆให้อยู่
เป็นระบบ
• แก้ไขปรับปรุงรายการข้อมูลต่างๆ
เช่น การเพิ่มข้อมูล การเปลี่ยนแปลง
ข้อมูล การลบข้อมูล หรือการจัดเรียง
ข้อมูลให้เป็นไปได้โดยง่าย
• ตัวอย่างโปรแกรม เช่น Microsoft
Access,Oracle, MySQL
92
ซอฟต์แวร์นาเสนองาน (Presentation)
• ช่วยในเรื่องของการนาเสนองานเป็นหลัก
• อาจใส่ข้อมูลที่เป็นตัวอักษร รูปภาพ
ตลอดจนเสียงต่างๆรวมถึงเทคนิคการ
นาเสนอให้มีความสวยงามและน่าสนใจได้
• การนาเสนองานบางครั้งนิยมเรียกว่า slide
show
• ตัวอย่างโปรแกรม เช่น Microsoft
PowerPoint, Sun StarOffice Impress
93
94
ซอฟต์แวร์สาหรับพีดีเอ (PDA Software)
• เป็นซอฟต์แวร์เฉพาะที่มีการใช้งานในพีดีเอ
• อาจเป็นซอฟต์แวร์ที่เรียกว่า PIM (Personal Information Manager) ซึ่งทางาน
แบบพื้นฐานทั่วไป
• ทางานร่วมกันกับเครื่องพีซีได้โดยการถ่ายโอนข้อมูล (synchronization)
• บางโปรแกรมที่เห็นบนพีซีอาจนามาใช้บนพีดีเอได้
• ตัวอย่างโปรแกรม เช่น Microsoft Pocket Outlook, Microsoft Pocket Excel,
QuickNotes
ซอฟต์แวร์แบบกลุ่ม (Software Suite)
• นาเอาซอฟต์แวร์หลายตัวมาจาหน่ายรวมกัน
เป็นกลุ่มเดียว
• ทาให้การทางานคล่องตัวและสะดวก
• เนื่องจากจัดกลุ่มซอฟท์แวร์ที่ทางานใกล้เคียง
กันไว้เป็นกลุ่มเดียว
• ราคาจาหน่ายถูกกว่าการเลือกซื้อซอฟต์แวร์
แต่ละตัวมาใช้
• ตัวอย่างโปรแกรม เช่น Microsoft Office, Sun
StarOffice, Pladao Office
95
ซอฟต์แวร์สาหรับจัดการโครงการ
(Project management)
• ใช้กับการวิเคราะห์และวางแผนโครงการเป็น
หลัก
• จัดการเกี่ยวกับกิจกรรมงาน (schedule)
ติดตามงาน วิเคราะห์และหาต้นทุน ค่าใช้จ่าย
ต่างๆของโครงการได้ง่ายขึ้น
• ตัวอย่างโปรแกรม เช่น Microsoft Project,
Macromedia Sitespring
96
ซอฟต์แวร์สาหรับงานบัญชี (Accounting)
• บันทึกข้อมูลและแสดงรายงานทางการเงินต่าง ๆ
• ออกรายงานงบกาไรขาดทุน งบดุล รวมถึงรายงานซื้อ-ขายได้
• ตัวอย่างโปรแกรม เช่น Intuit QuickBooks, Peachtree Complete Accounting
ซอฟต์แวร์กลุ่มการใช้งาน
ด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย
• เพื่อช่วยสาหรับจัดการงานด้านกราฟิกและมัลติมีเดียให้ง่ายขึ้น
• มีความสามารถเสมือนเป็นผู้ช่วยในการออกแบบงาน
• มีความสามารถหลากหลาย เช่น ตกแต่งภาพ วาดรูป ปรับเสียง ตัดต่อ
ภาพเคลื่อนไหวรวมถึงการสร้างและออกแบบพัฒนาเว็บไซท์
98
ซอฟต์แวร์กลุ่มการใช้งาน
ด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย
อาจแบ่งซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ออกเป็นประเภท ได้ดังนี้
–ซอฟต์แวร์สาหรับงานออกแบบ (CAD - Computer-aided design)
–ซอฟต์แวร์สาหรับสิ่งพิมพ์ (Desktop publishing)
–ซอฟต์แวร์สาหรับตกแต่งภาพ (Paint/image editing)
–ซอฟต์แวร์สาหรับการตัดต่อวิดีโอและเสียง (Video and audio editing)
–ซอฟต์แวร์สาหรับสร้างสื่อมัลติมีเดีย (Multimedia authoring)
–ซอฟต์แวร์สาหรับสร้างเว็บ (Web page authoring)
99
ซอฟท์แวร์สาหรับงานออกแบบ
(CAD - Computer-aided design)
• ช่วยสาหรับการออกแบบแผนผัง
การออกแบบและตกแต่งบ้าน
รวมถึงการจัดองค์ประกอบอื่นๆ
• เหมาะสาหรับงานด้านวิศกรรม
สถาปัตยกรรม รวมถึงงานด้าน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีบาง
ประเภท
• ตัวอย่างโปรแกรม เช่นAutodesk
AutoCAD, Microsoft Visio
Professional
100
ซอฟท์แวร์สาหรับสิ่งพิมพ์
(Desktop publishing)
• สาหรับการจัดการกับสิ่งพิมพ์ เช่นหนังสือ
วารสาร หนังสือพิมพ์ โบร์ชัวร์แผ่นพับ โล
โก้
• เหมาะกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับสื่อ
สิ่งพิมพ์ เช่น สานักพิมพ์ โรงพิมพ์หรือ
บริษัทออกแบบกราฟิก
• ตัวอย่างโปรแกรม เช่น Adobe InDesign,
Adobe PageMaker, Corel VENTURA,
QuarkXPress , MS Publisher
101
ซอฟท์แวร์สาหรับตกแต่งภาพ
(Paint/image editing)
• สาหรับการสร้างและจัดการรูปภาพ การจัดองค์ประกอบแสง-สีของภาพ รวมถึงการวาด
ภาพลายเส้น
• เหมาะสาหรับออกแบบงานกราฟิก เช่น งานพาณิชย์ศิลป์ งานออกแบบและตกแต่งสินค้า
• ตัวอย่างโปรแกรม เช่น Adobe Illustrator,Adboe Photoshop,
CorelDRAW,Macromedia FreeHand
102
ซอฟต์แวร์สาหรับการตัดต่อวิดีโอและเสียง
(Video and audio editing)
• ใช้จัดการกับข้อมูลเสียง เช่น ผสมเสียง
แก้ไขเสียง สร้างเอฟเฟ็คต์หรือเสียงใหม่ๆ
• เหมาะสาหรับใช้กับงานวงการตัดต่อ
ภาพยนตร์ โทรทัศน์ สตูดิโอบันทึกเสียง
หรืองานบนอินเทอร์เน็ตบางชนิด
• ตัวอย่างโปรแกรม เช่น Adobe
Premiere,Cakewalk SONAR, Pinnacle
Studio DV
103
ซอฟต์แวร์สาหรับสร้างสื่อมัลติมีเดีย
(Multimedia authoring)
• ซอฟต์แวร์ที่เป็นการผนวกเอาสื่อหลาย
ชนิด(multimedia) มาประกอบกันเพื่อให้
การนาเสนองานมีความน่าสนใจ
• อาจสร้างชิ้นงานประเภทสื่อปฎิสัมพันธ์กับ
ผู้ใช้ (interractive) เช่น บทเรียน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนได้
• ตัวอย่างโปรแกรมเช่น Toolbook
Instructor,Macromedia Authorware,
Macromedia Director Shockwave Studio
104
ซอฟต์แวร์สาหรับสร้างเว็บ
(Web page authoring)
• สามารถจัดการและออกแบบเว็บไซท์
ได้โดยง่าย
• สามารถแทรกข้อมูลประเภทเสียง
ข้อความ รูปภาพเคลื่อนไหว เพื่อ
นาเสนอบนเว็บไซท์ได้เป็นอย่างดี
• ตัวอย่างโปรแกรม เช่น Adobe GoLive,
Macromedia Dreamweaver,
Macromedia Fireworks, Macromedia
Flash, Microsoft FrontPage
105
ซอฟต์แวร์การใช้งานบนเว็บและการสื่อสาร
• เน้นเฉพาะการใช้งานด้านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
• ส่วนใหญ่ใช้สาหรับการติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูล
• เกิดขึ้นมาเป็นจานวนมาก และพัฒนาออกมาหลายเวอร์ชั่น หลาย
โปรแกรม เนื่องจากการขยายตัวของการใช้งานที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
106
ซอฟต์แวร์การใช้งานบนเว็บและการสื่อสาร
•กลุ่มของโปรแกรมประเภทนี้ เช่น
–ซอฟต์แวร์สาหรับจัดการอีเมล์ (Electronic mail Software)
–ซอฟต์แวร์สาหรับท่องเว็บ (Web browser)
–ซอฟต์แวร์สาหรับจัดประชุมทางไกล (Video Conference)
–ซอฟต์แวร์สาหรับถ่ายโอนไฟล์ (File Transfer)
–ซอฟต์แวร์ประเภทส่งข้อความด่วน (Instant Messaging)
–ซอฟท์แวร์สาหรับสนทนาบนอินเทอร์เน็ต (Internet Relay Chat)
107
ซอฟต์แวร์สาหรับจัดการอีเมล์
(Electronic mail Software)
• กลุ่มของซอฟต์แวร์ที่ใช้สาหรับการส่ง
ข้อความจดหมาย
• สามารถตรวจรับจดหมายเข้า ส่ง
จดหมายออกหรือสาเนาจดหมายได้
• นอกจากนั้นยังแทรกรูปภาพหรือไฟล์
เพื่อส่งแนบไปกับจดหมายได้
• ตัวอย่างโปรแกรมเช่น Microsoft Outlook
108
109
ซอฟต์แวร์สาหรับท่องเว็บ (Web browser)
• มักเรียกย่อว่า บราวเซอร์ (browser)
• เป็นโปรแกรมหลักสาหรับการเรียกดูข้อมูล
บนเว็บไซท์ที่เผยแพร่อยู่ในอินเทอร์เน็ต
• มีคุณสมบัติสาหรับการรับชมเว็บเพจได้ดี
เช่น แสดงผลหลายภาษา ชมเว็บเพจแบบ
ออฟไลน์ ทางานร่วมกับโปรแกรมเสริมได้
• ตัวอย่างโปรแกรม เช่น Microsoft Internet
Explorer, Nestcape Comunication,
Opera
110
ซอฟต์แวร์สาหรับจัดประชุมทางไกล
(Video Conference)
• สาหรับการประชุมแบบทางไกลโดยเฉพาะ
• สามารถให้ข้อมูลที่เป็นทั้งภาพเคลื่อนไหว
และเสียงที่ใช้ในการประชุมและถ่ายทอด
ออกไปในระยะไกลได้
• อาจพบเห็นกับการนาเอาไปประยุกต์ใช้ใน
การติดต่อสื่อสารระหว่างเพื่อนหรือคน
รู้จักที่อยู่ต่างถิ่นได้
• ตัวอย่างโปรแกรม เช่น Microsoft
Netmeeting , Webex , Skype
ซอฟต์แวร์สาหรับถ่ายโอนไฟล์ (File Transfer)
•นามาใช้ในการถ่ายโอนไฟล์ข้อมูล (file
transfer) บนอินเทอร์เน็ต
•เหมาะสาหรับนักพัฒนาเว็บไซท์และ
ผู้ดูแลเว็บไซท์เพื่อส่งข้อมูลขึ้นไปเก็บไว้
บนอินเทอร์เน็ต
•ตัวอย่างโปรแกรม เช่น Cute_FTP,
WS_FTP
ซอฟต์แวร์ประเภทส่งข้อความด่วน
(Instant Messaging)
• ผู้รับและผู้ส่งสามารถที่จะเปิดการเชื่อมต่อ
โปรแกรมและส่งข้อความถึงกันได้โดยทันที ผ่าน
เบอร์อีเมล์หรือหมายเลขที่ระบุ
• การพูดคุยผ่านข้อความนี้จะเป็นแบบส่วนตัวมาก
ขึ้น
• บางโปรแกรมอาจสนทนาแบบกลุ่มได้ด้วย
• ตัวอย่างโปรแกรม เช่น ICQ , MSN
Messenger,Yahoo Messenger, Line
112
ซอฟต์แวร์สาหรับสนทนาบนอินเทอร์เน็ต
(Internet Relay Chat)
• โปรแกรมสาหรับการสนทนาเฉพาะกลุ่ม
• เรียกสั้นๆว่าโปรแกรม แชท (chat)
• ติดต่อกันโดยพิมพ์ข้อความโต้ตอบกันไปมา
• ผู้สนทนาสามารถตั้งห้องและพูดคุยกันในแชทรูม
(chat room) ได้
• ตัวอย่างโปรแกรม เช่น PIRCH, MIRC
113
จบ

More Related Content

What's hot

คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4Nuttapoom Tossanut
 
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-731 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-736 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
13 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-713 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-7naraporn buanuch
 
26 ธนาวุฒิ 3_7
26 ธนาวุฒิ 3_726 ธนาวุฒิ 3_7
26 ธนาวุฒิ 3_7naraporn buanuch
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมSarocha Makranit
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)พัน พัน
 
20 ณัฐดามาศ-ปวช.3-7
20 ณัฐดามาศ-ปวช.3-720 ณัฐดามาศ-ปวช.3-7
20 ณัฐดามาศ-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
08 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-908 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-9naraporn buanuch
 
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-733 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์Primprapa Palmy Eiei
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาRavib Prt
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาmadamfong
 
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-76 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
06 ธนศักดิ์-3-9
06 ธนศักดิ์-3-906 ธนศักดิ์-3-9
06 ธนศักดิ์-3-9naraporn buanuch
 

What's hot (20)

คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
 
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-731 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
 
Chepter2
Chepter2Chepter2
Chepter2
 
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-736 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
 
13 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-713 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-7
 
26 ธนาวุฒิ 3_7
26 ธนาวุฒิ 3_726 ธนาวุฒิ 3_7
26 ธนาวุฒิ 3_7
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
 
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)
 
งาน #1
งาน #1งาน #1
งาน #1
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
20 ณัฐดามาศ-ปวช.3-7
20 ณัฐดามาศ-ปวช.3-720 ณัฐดามาศ-ปวช.3-7
20 ณัฐดามาศ-ปวช.3-7
 
08 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-908 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-9
 
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-733 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
 
15 ชมมาศ-3-7
15 ชมมาศ-3-715 ชมมาศ-3-7
15 ชมมาศ-3-7
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-76 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
 
06 ธนศักดิ์-3-9
06 ธนศักดิ์-3-906 ธนศักดิ์-3-9
06 ธนศักดิ์-3-9
 

Similar to Computer Language

U1 computer language
U1 computer languageU1 computer language
U1 computer languageIrinApat
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
32 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-732 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7naraporn buanuch
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์Diiz Yokiiz
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3Diiz Yokiiz
 
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-745 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
19 อมรเทพ-ปวช.3-7
19 อมรเทพ-ปวช.3-719 อมรเทพ-ปวช.3-7
19 อมรเทพ-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
24 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-724 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาJiranan Thongrit
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาJiranan Thongrit
 
หลักการพื้นฐานในการเขียนโปรแกรม
หลักการพื้นฐานในการเขียนโปรแกรมหลักการพื้นฐานในการเขียนโปรแกรม
หลักการพื้นฐานในการเขียนโปรแกรมอารีรัตน์ ธานี
 
1 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-71 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-7naraporn buanuch
 
การสร้างงานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ttyuj tgyhuj
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาChatchaChantavaranurak
 
08 สวัสดิวรรษ-2-8
08 สวัสดิวรรษ-2-808 สวัสดิวรรษ-2-8
08 สวัสดิวรรษ-2-8naraporn buanuch
 

Similar to Computer Language (20)

โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
 
U1 computer language
U1 computer languageU1 computer language
U1 computer language
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
32 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-732 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-7
 
16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7
 
Introprogramphp
IntroprogramphpIntroprogramphp
Introprogramphp
 
Intro program php
Intro program phpIntro program php
Intro program php
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
 
บทที่ 1
บทที่ 1 บทที่ 1
บทที่ 1
 
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-745 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
 
19 อมรเทพ-ปวช.3-7
19 อมรเทพ-ปวช.3-719 อมรเทพ-ปวช.3-7
19 อมรเทพ-ปวช.3-7
 
24 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-724 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-7
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
หลักการพื้นฐานในการเขียนโปรแกรม
หลักการพื้นฐานในการเขียนโปรแกรมหลักการพื้นฐานในการเขียนโปรแกรม
หลักการพื้นฐานในการเขียนโปรแกรม
 
1 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-71 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-7
 
การสร้างงานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
08 สวัสดิวรรษ-2-8
08 สวัสดิวรรษ-2-808 สวัสดิวรรษ-2-8
08 สวัสดิวรรษ-2-8
 

More from ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม

More from ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม (20)

Tanapat-AWS-Certifacate-6-10.pdf
Tanapat-AWS-Certifacate-6-10.pdfTanapat-AWS-Certifacate-6-10.pdf
Tanapat-AWS-Certifacate-6-10.pdf
 
Tanapat-AWS-certificate-1-5.pdf
Tanapat-AWS-certificate-1-5.pdfTanapat-AWS-certificate-1-5.pdf
Tanapat-AWS-certificate-1-5.pdf
 
AWS Identity and access management , tanapat limsaiprom
AWS Identity and access management , tanapat limsaipromAWS Identity and access management , tanapat limsaiprom
AWS Identity and access management , tanapat limsaiprom
 
AWS Technical Essential , Tanapat Limsaiprom
AWS Technical Essential , Tanapat LimsaipromAWS Technical Essential , Tanapat Limsaiprom
AWS Technical Essential , Tanapat Limsaiprom
 
AWS Amazon DynamoDB
AWS Amazon DynamoDB AWS Amazon DynamoDB
AWS Amazon DynamoDB
 
Hr clinic2
Hr clinic2Hr clinic2
Hr clinic2
 
ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2
ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2
ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2
 
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
 
Mt60307 ch7-data visulization
Mt60307 ch7-data visulizationMt60307 ch7-data visulization
Mt60307 ch7-data visulization
 
Chapter 6 predictive Analytics
Chapter 6 predictive AnalyticsChapter 6 predictive Analytics
Chapter 6 predictive Analytics
 
Ch4 e retailing strategy v62-a4
Ch4 e retailing strategy v62-a4Ch4 e retailing strategy v62-a4
Ch4 e retailing strategy v62-a4
 
Chapter5 descriptive statistic
Chapter5 descriptive statisticChapter5 descriptive statistic
Chapter5 descriptive statistic
 
Ch2 bi gdata
Ch2 bi gdataCh2 bi gdata
Ch2 bi gdata
 
Chapter 2 : Data Management
Chapter 2 : Data ManagementChapter 2 : Data Management
Chapter 2 : Data Management
 
Ch1 Business Information foundation concept
Ch1 Business Information foundation conceptCh1 Business Information foundation concept
Ch1 Business Information foundation concept
 
Chapter2 e-retailing
Chapter2 e-retailingChapter2 e-retailing
Chapter2 e-retailing
 
Chapter2 module 4 Peopleware
Chapter2 module 4 PeoplewareChapter2 module 4 Peopleware
Chapter2 module 4 Peopleware
 
Chapter 2 Module 2 Hardware
Chapter 2 Module 2 HardwareChapter 2 Module 2 Hardware
Chapter 2 Module 2 Hardware
 
Chapter2 M1-foundation concepts-thai-62 feb
Chapter2 M1-foundation concepts-thai-62 febChapter2 M1-foundation concepts-thai-62 feb
Chapter2 M1-foundation concepts-thai-62 feb
 
Tv Rating
Tv RatingTv Rating
Tv Rating
 

Computer Language