SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรม (PROGRAMMING LANGUAGES)
หมายถึงภาษาประดิษฐ์ชนิดหนึ่งที่ออกแบบขึ้นมาเพื่อสื่อสารชุดคาสั่งแก่
เครื่องจักรโดยเฉพาะคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร ์(COMPUTER
LANGUAGE)
• ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึงชุดคาสั่งต่างๆ ที่จะสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางาน ซึ่งการเขียนคาสั่งเหล่านั้นเรียกว่า โปรแกรม
• 1.คาสั่งรับข้อมูลและแสดงผล
• 2.คาสั่งคานวณ
• 3.คาสั่งที่มีการเลือกทิศทาง
• 4.คาสั่งเข้าออกของข้อมูล
• ภาษาเครื่อง คือเขียนคาสั่งเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางาน ภาษาเครื่องเขียนภาษาที่เขียนเป็นรหัสฐานสอง
• ภาษาระดับต่า เป็นภาษาระดับต่าที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนั้นมีอยู่เพียงภาษาเดียวคือ ภาษาแอสแซมบลี
• ภาษาระดับสูง คือ ภาษาที่เขียนได้ง่าย
โปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์
• 1.อินเทอร์พรีเดอร์ เป็นโปรแกรมภาษาระดับสูง เป็นภาษาเครื่องซึ่งจะแปลคาสั่งเมื่อแปลเสร็จก็ทางานตามคาสั่งนั้น
• 2.คอมไพเลอร์ เป็นโปรแกรมแปลภาษาซึ่งทาการแปลภาษาระดับสูงเป็นภาษษเครื่องโดยจะทาการแปลคาสั่งทั้งหมดให้เสร็จก่อนทั้ง
โปรแกรม
• Source program Tramslation Program objectProgram
องค์ประกอบของโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์
• ในการเขียนโปรแกรมแต่ละภาษาจะมีการใช้คาสั่งที่ต่างกัน แต่ส่วนใหญ่จะมีองค์ประกอบที่คล้ายกัน โดยองค์ประกอบท สาคัญ 2 ส่วน
คือ ไฟล์ส่วน หัวโปรแกรมและ ไฟล์โปรแกรม
• 1.ส่วนหัวของโปรแกรม เป็นส่วนที่จะต้องเขียนไว้เพื่อให้ใช้งานฟังก์ชั่นกรณีที่ต้องการ
• 2.ส่วนฟังก์ชั่นหลัก เป็นฟังก์ชั่นหลักของโปรแกรม โดยภายนอกในวงเล็บ (main())
• 3.ส่วนคาสั่ง เป็นส่วนที่ใช้เขียนประโยคคาสั่ง
• 4.ส่วนแสดงผล เป็นส่วนที่ใช้สาหรับแสดงข้อความเพื่ออธิบายสิ่งที่ต้องการ
• 5.ส่วนปิดโปรแกรม ใช้ปีกกาปิด ( } ) แสดงการจบของการเขียนโปรแกรม
สรุสาระการเรียนรู้หน่วยที่ 2
• ภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึง ชุดคาสั่งต่าง ๆ ที่จะสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางาน ซึ่งการเขียนคาสั่ง
เหล่านั้นเรียกว่า โปรแกรม ถ้ามีหลายคาสั่งจะเรียกว่า ชุดคาสั่ง
หน่วยที่ 3 ขั้นตอนการแก้ไขปัญหา
• การแก้ไขปัญหาโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหา จะต้องมีการวางแผนเป็นขั้นเป็นตอน เพื่อที่จะสามารถ
เขียนโปรแกรมได้ตามความต้องการ จึงจาเป็นต้องเข้าใจปัญหาในการวิเคราะห์ความต้องการ
จะต้องหาวิธีแก้ไขปัญหาต่าง ๆ
การวิเคราะห์ปัญหา
• 1.สิ่งที่ต้องการ หมายถึง การวิเคราะห์หากว่าต้องการให้ผลลัพธ์ออกมาในรูปแบบเช่น ต้องการให้ผลลัพธ์ออกมาในรูปแบบ การฟฟิก
ตาราง ต่างๆ เป็นต้น
• 2.การนาข้อมูลเข้า หมายถึง การวิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ ที่จะป้อนเข้าไปในโปรแกรมเพื่อประมวณผลนั้นทมีอะไรบ้าง
• 3.กราประมวลผล หมายถึง การวิเคราะห์หรือการนาเอาค่าของข้อมูลขาเข้ามากระทาทางคณิตศาสตร์เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ
• 4.การแสดงผลลัพธ์ที่ต้องการ หมายถึง เมื่อข้อมูลผ่านการคานวณและได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการแล้วจะมีการออกแบบการแสดงผลลัพธ์
อย่างไรเพื่อให้เข้าใจง่าย
การวิเคราะห์ขั้นตอนเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างง่าย
• 1.กาหนดปัญหาต่าง ๆ และสิ่งที่ต้องการ
• คือ การกาหนดปัญหาต่าง ๆ และสิ่งที่ตต้องการเป็นขั้นตอนแรกที่มีความสาคัญ เพราะผู้แก้ปัญหาต้องทาความ
เข้าใจกับปัญหาต่าง ๆ
• 2.กาหนดข้อมูลเข้า และข้อมูลออก
• คือต้องพิจารณาถึงลักษณะของการใช้ข้อมูลว่าข้อมูลต่าง ๆ ที่จะส่งให้เครื่องอคมพิวเตอร์ประมวลผลหรือแก้ไข
ปัญหา
• 3.ทดลองแก้ไขปัญหาด้วยตัวเอง
• คือ ทดลองแก้ไขปัญหาด้ยวตัวเองโดยหาวิธีการในการแก้ไขปัญหานั้น ๆ ว่ามีวิธีการอย่างไรถึงจะถูกต้องและ
รวดเร็วมากที่สุด
การกาหนดค่าตัวแปร
• ตัวแปร และชนิดข้อมูลเป็นสิ่งที่ต้องมีอยู่คู่กันเสมอ ไม่สามารถแยกจากกันได้เพราะเมื่อกาหนดค่าตัวแปลขึ้นมา
เมื่อใดก็ตามกาหนดชนิดข้อมูลให้กับตัวแปรนั้นด้วยเสมอ(ยกเว้นโปรแกรมบางภาษาที่อาจกาหนดชนิดข้อมูลให้
อัตโนมัติ)
การเขียนอัลกอริทึม และรหัสเทียม
• การออกแบบโปรแกรม เป็นการขียนแผนผังหรือการออกแบบขั้นตอนการทางานของโปรแกรม ในขั้นตอนนี้จะนาผลงานที่ได้
จากการวิเคราะห์ปัญหามาออกแบบ และเขียนขั้นตอนการทางานออกมาในรูปแบบของสัญลักษณ์ต่าง ๆ
• การเขียนอัลกอริทึม หมายถึง การอธิบายลาดับขั้นตอนการทางานในลักษณะของข้อความตั้งแต่ต้นจนจบ
• การเขียนรหัสเทียม เป็นส่วนที่ต่อจากการเขียนอัลกิริทึม โดยรหัสเทียมจะเป็นการเขียนขั้นตอนการทางานของโปรแกรม
ตั้งแต่เริ่มต้นจนกระทั่งได้ผลลัพธ์และการแสดงผลลัพธ์ตามที่ได้วิเคราะห์ออกมา
สรุปสาระการเรียนรู้หน่วยที่ 3
• สิ่งที่สาคัญที่สุดในขั้นตอนการแก้ปัญหานั้นคือการวิเคราะห์ปัญหา โดยอาจจะต้องวิเคราะห์จากสิ่งที่
ต้องการ ทาความเข้าใจต่าง ๆ และกาหนดให้ชัดเจน
• การเขียนอัลกอริทึมคือ การอธิบายหลักขั้นตอนการทางานในลักษณะของข้อความ
• การเขียนรหัสเทียม คือ การเขียนขั้นตอนการทางานของโปรแกรม ตั้งแต่เริ่มจนได้ผลลัพธ์ตามที่
วิเคราะห์ออกมา

More Related Content

What's hot

การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Last'z Regrets
 
ตอนที่ 1
ตอนที่ 1ตอนที่ 1
ตอนที่ 1wachiradej
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์Diiz Yokiiz
 
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-745 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมSarocha Makranit
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา Chanikan Kongkaew
 
การเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมการเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมthorthib
 
08 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-908 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-9naraporn buanuch
 
19 อมรเทพ-ปวช.3-7
19 อมรเทพ-ปวช.3-719 อมรเทพ-ปวช.3-7
19 อมรเทพ-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
10 ชยานนท์ 3-9
10 ชยานนท์ 3-910 ชยานนท์ 3-9
10 ชยานนท์ 3-9naraporn buanuch
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมKh ook
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาRavib Prt
 
04 ปรเมษฐ์ 3-9
04 ปรเมษฐ์  3-904 ปรเมษฐ์  3-9
04 ปรเมษฐ์ 3-9naraporn buanuch
 
24 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-724 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์Adisak' Jame
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Pete Panupong
 

What's hot (20)

การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
ตอนที่ 1
ตอนที่ 1ตอนที่ 1
ตอนที่ 1
 
10 ธิบดี-3-7
10 ธิบดี-3-710 ธิบดี-3-7
10 ธิบดี-3-7
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-745 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
 
09 ณัฐพล-3-9
09 ณัฐพล-3-909 ณัฐพล-3-9
09 ณัฐพล-3-9
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
 
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมการเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรม
 
08 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-908 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-9
 
19 อมรเทพ-ปวช.3-7
19 อมรเทพ-ปวช.3-719 อมรเทพ-ปวช.3-7
19 อมรเทพ-ปวช.3-7
 
10 ชยานนท์ 3-9
10 ชยานนท์ 3-910 ชยานนท์ 3-9
10 ชยานนท์ 3-9
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
04 ปรเมษฐ์ 3-9
04 ปรเมษฐ์  3-904 ปรเมษฐ์  3-9
04 ปรเมษฐ์ 3-9
 
24 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-724 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-7
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 

Similar to 30 วีรภัทร-ปวช.3-7

41 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-741 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-7naraporn buanuch
 
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-743 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-7naraporn buanuch
 
08 สวัสดิวรรษ-2-8
08 สวัสดิวรรษ-2-808 สวัสดิวรรษ-2-8
08 สวัสดิวรรษ-2-8naraporn buanuch
 
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-76 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7naraporn buanuch
 
42 ธันชลัส-ปวช..3-7
42 ธันชลัส-ปวช..3-742 ธันชลัส-ปวช..3-7
42 ธันชลัส-ปวช..3-7naraporn buanuch
 
27 กฤษณะ-ปวช.3-7
27 กฤษณะ-ปวช.3-727 กฤษณะ-ปวช.3-7
27 กฤษณะ-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_Aoy-Phisit Modify-Computer
 
20 ณัฐดามาศ-ปวช.3-7
20 ณัฐดามาศ-ปวช.3-720 ณัฐดามาศ-ปวช.3-7
20 ณัฐดามาศ-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
18 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-718 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
1 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-71 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-7naraporn buanuch
 
26 ธนาวุฒิ 3_7
26 ธนาวุฒิ 3_726 ธนาวุฒิ 3_7
26 ธนาวุฒิ 3_7naraporn buanuch
 
06 ธนศักดิ์-3-9
06 ธนศักดิ์-3-906 ธนศักดิ์-3-9
06 ธนศักดิ์-3-9naraporn buanuch
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
03 ทัศน์พล-ปวช.3-7
03 ทัศน์พล-ปวช.3-703 ทัศน์พล-ปวช.3-7
03 ทัศน์พล-ปวช.3-7naraporn buanuch
 

Similar to 30 วีรภัทร-ปวช.3-7 (20)

41 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-741 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
 
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-743 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
 
44 กฤษณะ-3-7
44 กฤษณะ-3-744 กฤษณะ-3-7
44 กฤษณะ-3-7
 
08 สวัสดิวรรษ-2-8
08 สวัสดิวรรษ-2-808 สวัสดิวรรษ-2-8
08 สวัสดิวรรษ-2-8
 
Introprogramphp
IntroprogramphpIntroprogramphp
Introprogramphp
 
Intro program php
Intro program phpIntro program php
Intro program php
 
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-76 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
 
16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7
 
42 ธันชลัส-ปวช..3-7
42 ธันชลัส-ปวช..3-742 ธันชลัส-ปวช..3-7
42 ธันชลัส-ปวช..3-7
 
27 กฤษณะ-ปวช.3-7
27 กฤษณะ-ปวช.3-727 กฤษณะ-ปวช.3-7
27 กฤษณะ-ปวช.3-7
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
 
20 ณัฐดามาศ-ปวช.3-7
20 ณัฐดามาศ-ปวช.3-720 ณัฐดามาศ-ปวช.3-7
20 ณัฐดามาศ-ปวช.3-7
 
18 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-718 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-7
 
1 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-71 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-7
 
26 ธนาวุฒิ 3_7
26 ธนาวุฒิ 3_726 ธนาวุฒิ 3_7
26 ธนาวุฒิ 3_7
 
06 ธนศักดิ์-3-9
06 ธนศักดิ์-3-906 ธนศักดิ์-3-9
06 ธนศักดิ์-3-9
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
03 ทัศน์พล-ปวช.3-7
03 ทัศน์พล-ปวช.3-703 ทัศน์พล-ปวช.3-7
03 ทัศน์พล-ปวช.3-7
 

More from naraporn buanuch

03 พิพีฒน์-3-9
03 พิพีฒน์-3-903 พิพีฒน์-3-9
03 พิพีฒน์-3-9naraporn buanuch
 
02 กิตติพงศ์-ปวช.3-9
02 กิตติพงศ์-ปวช.3-902 กิตติพงศ์-ปวช.3-9
02 กิตติพงศ์-ปวช.3-9naraporn buanuch
 
37 กรวิชญ์-3-7
37 กรวิชญ์-3-737 กรวิชญ์-3-7
37 กรวิชญ์-3-7naraporn buanuch
 
29 จิราวรรณ์
29 จิราวรรณ์29 จิราวรรณ์
29 จิราวรรณ์naraporn buanuch
 
22 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-722 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-7naraporn buanuch
 
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-717 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7naraporn buanuch
 

More from naraporn buanuch (8)

07 ทศพล-3-9
07 ทศพล-3-907 ทศพล-3-9
07 ทศพล-3-9
 
03 พิพีฒน์-3-9
03 พิพีฒน์-3-903 พิพีฒน์-3-9
03 พิพีฒน์-3-9
 
02 กิตติพงศ์-ปวช.3-9
02 กิตติพงศ์-ปวช.3-902 กิตติพงศ์-ปวช.3-9
02 กิตติพงศ์-ปวช.3-9
 
49 ปัณณพร 3-7
49 ปัณณพร 3-749 ปัณณพร 3-7
49 ปัณณพร 3-7
 
37 กรวิชญ์-3-7
37 กรวิชญ์-3-737 กรวิชญ์-3-7
37 กรวิชญ์-3-7
 
29 จิราวรรณ์
29 จิราวรรณ์29 จิราวรรณ์
29 จิราวรรณ์
 
22 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-722 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-7
 
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-717 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
 

30 วีรภัทร-ปวช.3-7

  • 1. หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม (PROGRAMMING LANGUAGES) หมายถึงภาษาประดิษฐ์ชนิดหนึ่งที่ออกแบบขึ้นมาเพื่อสื่อสารชุดคาสั่งแก่ เครื่องจักรโดยเฉพาะคอมพิวเตอร์
  • 2. ภาษาคอมพิวเตอร ์(COMPUTER LANGUAGE) • ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึงชุดคาสั่งต่างๆ ที่จะสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางาน ซึ่งการเขียนคาสั่งเหล่านั้นเรียกว่า โปรแกรม • 1.คาสั่งรับข้อมูลและแสดงผล • 2.คาสั่งคานวณ • 3.คาสั่งที่มีการเลือกทิศทาง • 4.คาสั่งเข้าออกของข้อมูล • ภาษาเครื่อง คือเขียนคาสั่งเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางาน ภาษาเครื่องเขียนภาษาที่เขียนเป็นรหัสฐานสอง • ภาษาระดับต่า เป็นภาษาระดับต่าที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนั้นมีอยู่เพียงภาษาเดียวคือ ภาษาแอสแซมบลี • ภาษาระดับสูง คือ ภาษาที่เขียนได้ง่าย
  • 3. โปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ • 1.อินเทอร์พรีเดอร์ เป็นโปรแกรมภาษาระดับสูง เป็นภาษาเครื่องซึ่งจะแปลคาสั่งเมื่อแปลเสร็จก็ทางานตามคาสั่งนั้น • 2.คอมไพเลอร์ เป็นโปรแกรมแปลภาษาซึ่งทาการแปลภาษาระดับสูงเป็นภาษษเครื่องโดยจะทาการแปลคาสั่งทั้งหมดให้เสร็จก่อนทั้ง โปรแกรม • Source program Tramslation Program objectProgram
  • 4. องค์ประกอบของโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ • ในการเขียนโปรแกรมแต่ละภาษาจะมีการใช้คาสั่งที่ต่างกัน แต่ส่วนใหญ่จะมีองค์ประกอบที่คล้ายกัน โดยองค์ประกอบท สาคัญ 2 ส่วน คือ ไฟล์ส่วน หัวโปรแกรมและ ไฟล์โปรแกรม • 1.ส่วนหัวของโปรแกรม เป็นส่วนที่จะต้องเขียนไว้เพื่อให้ใช้งานฟังก์ชั่นกรณีที่ต้องการ • 2.ส่วนฟังก์ชั่นหลัก เป็นฟังก์ชั่นหลักของโปรแกรม โดยภายนอกในวงเล็บ (main()) • 3.ส่วนคาสั่ง เป็นส่วนที่ใช้เขียนประโยคคาสั่ง • 4.ส่วนแสดงผล เป็นส่วนที่ใช้สาหรับแสดงข้อความเพื่ออธิบายสิ่งที่ต้องการ • 5.ส่วนปิดโปรแกรม ใช้ปีกกาปิด ( } ) แสดงการจบของการเขียนโปรแกรม
  • 5. สรุสาระการเรียนรู้หน่วยที่ 2 • ภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึง ชุดคาสั่งต่าง ๆ ที่จะสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางาน ซึ่งการเขียนคาสั่ง เหล่านั้นเรียกว่า โปรแกรม ถ้ามีหลายคาสั่งจะเรียกว่า ชุดคาสั่ง
  • 6. หน่วยที่ 3 ขั้นตอนการแก้ไขปัญหา • การแก้ไขปัญหาโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหา จะต้องมีการวางแผนเป็นขั้นเป็นตอน เพื่อที่จะสามารถ เขียนโปรแกรมได้ตามความต้องการ จึงจาเป็นต้องเข้าใจปัญหาในการวิเคราะห์ความต้องการ จะต้องหาวิธีแก้ไขปัญหาต่าง ๆ
  • 7. การวิเคราะห์ปัญหา • 1.สิ่งที่ต้องการ หมายถึง การวิเคราะห์หากว่าต้องการให้ผลลัพธ์ออกมาในรูปแบบเช่น ต้องการให้ผลลัพธ์ออกมาในรูปแบบ การฟฟิก ตาราง ต่างๆ เป็นต้น • 2.การนาข้อมูลเข้า หมายถึง การวิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ ที่จะป้อนเข้าไปในโปรแกรมเพื่อประมวณผลนั้นทมีอะไรบ้าง • 3.กราประมวลผล หมายถึง การวิเคราะห์หรือการนาเอาค่าของข้อมูลขาเข้ามากระทาทางคณิตศาสตร์เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ • 4.การแสดงผลลัพธ์ที่ต้องการ หมายถึง เมื่อข้อมูลผ่านการคานวณและได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการแล้วจะมีการออกแบบการแสดงผลลัพธ์ อย่างไรเพื่อให้เข้าใจง่าย
  • 8. การวิเคราะห์ขั้นตอนเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างง่าย • 1.กาหนดปัญหาต่าง ๆ และสิ่งที่ต้องการ • คือ การกาหนดปัญหาต่าง ๆ และสิ่งที่ตต้องการเป็นขั้นตอนแรกที่มีความสาคัญ เพราะผู้แก้ปัญหาต้องทาความ เข้าใจกับปัญหาต่าง ๆ • 2.กาหนดข้อมูลเข้า และข้อมูลออก • คือต้องพิจารณาถึงลักษณะของการใช้ข้อมูลว่าข้อมูลต่าง ๆ ที่จะส่งให้เครื่องอคมพิวเตอร์ประมวลผลหรือแก้ไข ปัญหา • 3.ทดลองแก้ไขปัญหาด้วยตัวเอง • คือ ทดลองแก้ไขปัญหาด้ยวตัวเองโดยหาวิธีการในการแก้ไขปัญหานั้น ๆ ว่ามีวิธีการอย่างไรถึงจะถูกต้องและ รวดเร็วมากที่สุด
  • 9. การกาหนดค่าตัวแปร • ตัวแปร และชนิดข้อมูลเป็นสิ่งที่ต้องมีอยู่คู่กันเสมอ ไม่สามารถแยกจากกันได้เพราะเมื่อกาหนดค่าตัวแปลขึ้นมา เมื่อใดก็ตามกาหนดชนิดข้อมูลให้กับตัวแปรนั้นด้วยเสมอ(ยกเว้นโปรแกรมบางภาษาที่อาจกาหนดชนิดข้อมูลให้ อัตโนมัติ)
  • 10. การเขียนอัลกอริทึม และรหัสเทียม • การออกแบบโปรแกรม เป็นการขียนแผนผังหรือการออกแบบขั้นตอนการทางานของโปรแกรม ในขั้นตอนนี้จะนาผลงานที่ได้ จากการวิเคราะห์ปัญหามาออกแบบ และเขียนขั้นตอนการทางานออกมาในรูปแบบของสัญลักษณ์ต่าง ๆ • การเขียนอัลกอริทึม หมายถึง การอธิบายลาดับขั้นตอนการทางานในลักษณะของข้อความตั้งแต่ต้นจนจบ • การเขียนรหัสเทียม เป็นส่วนที่ต่อจากการเขียนอัลกิริทึม โดยรหัสเทียมจะเป็นการเขียนขั้นตอนการทางานของโปรแกรม ตั้งแต่เริ่มต้นจนกระทั่งได้ผลลัพธ์และการแสดงผลลัพธ์ตามที่ได้วิเคราะห์ออกมา
  • 11. สรุปสาระการเรียนรู้หน่วยที่ 3 • สิ่งที่สาคัญที่สุดในขั้นตอนการแก้ปัญหานั้นคือการวิเคราะห์ปัญหา โดยอาจจะต้องวิเคราะห์จากสิ่งที่ ต้องการ ทาความเข้าใจต่าง ๆ และกาหนดให้ชัดเจน • การเขียนอัลกอริทึมคือ การอธิบายหลักขั้นตอนการทางานในลักษณะของข้อความ • การเขียนรหัสเทียม คือ การเขียนขั้นตอนการทางานของโปรแกรม ตั้งแต่เริ่มจนได้ผลลัพธ์ตามที่ วิเคราะห์ออกมา