SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
1
เรื่อง พระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง
หลักคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้าเป็นหลักความจริงที่พระพุทธองค์ได้ทรงค้นพบโดยมิได้
ทรงสร้างสรรค์ขึ้นเอง และมิได้ทรงรับคาสั่งสอนมาจากเทพเจ้าหรือพระเจ้าองค์ใดทั้งสิ้นดังที่
กล่าวแล้วนั้นพระพุทธศาสนาจึงนับว่าเป็นศาสนาที่ต่างไปจากศาสนาอื่นๆอยู่มาก
หลักคาสอนที่สนับสนุนความจริงดังกล่าวนี้ คือ หลักคาสอนเรื่อ ศรัทธาและปัญญา
ศรัทธา คือ ความเชื่อ ศรัทธาในพระพุทธศาสนาเป็นความเชื่อที่ประกอบด้วยปัญญาหรือ
เหตุผล ซึ่งเรียกว่า ศรัทธาเพื่อปัญญา แม้ว่าพระพุทธเจ้าจะทรงสอนให้คนมีศรัทธา แต่ศรัทธา
ของพระองค์นั้นต้องผ่านการพิจารณาไตร่ตรองด้วยปัญญาให้รอบคอบเสียก่อน ดังที่ ทรงสอน
ชาวกาลามะแห่งเกสปุตตนิคม ในแคว้นโกศล ว่า
อย่าเพิ่งปลงใจเชื่อ เพียงเพราะฟังตามๆกันมา เพียงเพราะถือปฏิบัติกันสืบๆมา เพียง
เพราะข่าวเล่าลือ เพียงเพราะการอ่านตาราหรือคัมภีร์ เพียงเพราะการให้เหตุผลแบบตรรกะ
เพียงเพราะการอนุมานเอาตามอาการที่ปรากฏ เพียงเพราะเห็นว่าเข้ากันได้ตรงตามทฤษฎีหรือ
ความคิดเห็นของตน เพียงเพราะเห็นว่ามีรูปลักษณะน่าเชื่อถือ และเพียงเพราะถือว่าสมณะหรือ
นักบวชผู้นี้ เป็นครูของเรา
แต่เมื่อใดได้ใช้ปัญญาพิจารณาโดยรอบคอบแล้ว และเห็นว่าสิ่งที่ทาลงไปนั้น ไม่ทาให้
ตนเองและผู้อื่นเดือดร้อน อีกทั้งนักปราชญ์ไม่ติเตียน ก็จงทาสิ่งนั้น แต่หากสิ่งใดเมื่อทาลงไป
แล้วตนเองและผู้อื่นเดือดร้อน นักปราชญ์ติเตียน ก็จงอย่าได้ทาสิ่งนั้นเลย
หลักคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้านั้นมีข้อสังเกตประการหนึ่ง คือ หากทรงสอนเรื่อง
ศรัทธาไว้ในที่ใด ก็จะทรงสอนปัญญากากับไว้ในที่นั้นด้วย นั่นก็หมายความว่า ทรงสอนให้ใช้
ศรัทธาที่ประกอบด้วยปัญญาเสมอไป
ตัวอย่างเช่น ในหลักคาสอนหมวด พละ 5 ( ธรรมอันเป็นกาลัง ) ประกอบด้วย
ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ และปัญญา หรือใน อริยทรัพย์ 7 ( ทรัพย์ภายในอันประเสริฐ )
ประกอบด้วย ศรัทธา ศีล หิริ โอตตัปปะ พหุสัจจะ จาคะ และปัญญา
2
จะเห็นว่า ศรัทธาในพระพุทธศาสนาต้องมีปัญญากากับด้วยเสมอ ซึ่งต่างจากศาสนา
อื่นบางศาสนาที่จะสอนให้ศรัทธาอย่างเดียว คือ ถ้าพระคัมภีร์สอนไว้อย่างนี้ ก็จะต้องเชื่อตาม
โดยไม่มีข้อแม้ ถ้าหากไม่เชื่อถือว่าเป็นคนบาป แต่สาหรับพระพุทธศาสนา แม้แต่การสอน
หลักธรรมของพระพุทธเจ้า พระพุทธองค์ก็ไม่ได้ทรงบังคับให้เชื่อตามที่พระองค์สอน พระองค์
ทรงแนะนาให้พิจารณาไตร่ตรองด้วยเหตุด้วยผลและเห็นด้วยเสียก่อนแล้วจึงเชื่อ
http://www.kr.ac.th/ebook2/julaporn/02.html
3
การพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง
ศรัทธา ในกระบวนการพัฒนาตามหลักพุทธศาสนานั้น หมายถึง ความเชื่อมั่น การ
ซาบซึ้ง ความมั่นใจเหตุเท่าที่ตนสามารถพิจารณาเห็นได้ โดยมีเหตุผลว่า จุดหมายหรือ
เป้ าหมายที่อยู่ข้างหน้านั้นเป็นไปได้จริง และมีคุณค่าควรที่จะไปให้ถึง ศรัทธาจึงเป็นบันไดขั้น
แรกที่จะนาไปสู่ปัญญาหรือความรู้ ซึ่งตรงกันข้ามกับศรัทธาที่เป็นแบบ มอบตัว มอบความ
ไว้วางใจให้กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง โดยไม่คิดหาเหตุผล ศรัทธาที่ถูกต้องเป็นสื่อนาไปสู่การพัฒนา
ปัญญา แบ่งออกเป็น 3 ประการ
1. เชื่อมั่นในความดีงามของมนุษย์ หมายถึง เชื่อว่าความดีงามนั้งมนุษย์สามารถสร้างขึ้น
เองได้ ด้วยความพากเพียร ไม่ใช่จากสิ่งศักดิ์สิทธิ
2. เชื่อมั่นในกฎแห่งการกระทาและผลของการกระทา หมายถึง เชื่อมั่นว่าไม่มีสิ่งใดเกิดขึ้น
ลอยๆโดยไม่มีเหตุปัจจัยให้เกิด เมื่อมีการกระทาใดๆลงไปย่อมมีผลของการกระทานั้นๆ
3. เชื่อมั่นว่ามนุษย์ต้องรับผิดชอบต่อการกระทาและผลของการกระทานั้น ข้อนี้ สืบ
เนื่องมาจากข้อ 1 และ 2 จะทาให้คนมีความละเอียดรอบคอบ ในการการกระทาของตนเอง
เพราะเมื่อทาอะไรลงไปแล้วต้องได้รับผลการการกระทานั้นไม่ทางตรงก็ทางอ้อม
ปัญญา หมายถึง ความรู้ความหยั่งรู้เหตุผล ความรู้มีอยู่ 2 ประเภท คือ ความรู้ที่มีมาแต่
กาเนิด (สหชาติปัญญา) เป็นความรู้พื้นฐานที่ทุกคนพึงมี มากบ้างน้อยบ้างแล้วแต่บุคคล บาง
คนก็มีความรู้พิเศษที่คนอื่นไม่มีซึ่งคนอื่นไม่มีภาษาไทยเรียกว่า พรสวรรค์ เช่นสามารถภาพได้
งดงาม ทั้งๆที่ไม่เคยเรียนมาเลย และความรู้ที่มีขึ้นด้วยการศึกษา (โยคปัญญา) คือความรู้ที่
แสวงหาเอาภายหลัง ดังคาที่ว่า “ปัญญามีได้เพราะการฝึกฝนพัฒนา ปัญญาเสื่อมไปเพราะไม่มี
การฝึกฝนพัฒนา” และความรู้ประการหลังนี่เองที่ต้องการเน้นให้ได้ศึกษา ปัญญาที่ถูกต้องใน
กระบวนการพัฒนา มีลักษณะ 3 ประการ คือ
4
1. ความรู้จักเหตุแต่ความเสื่อมและโทษของความเสื่อม (อปายโกศล) หมายถึง รู้ว่าอะไรคือ
ความเสื่อม และอะไรคือเหตุทาให้เกิดความเสื่อม
2. ความรู้จักเหตุแห่งความเจริญและประโยชน์ของความเจริญ (อายโกศล) หมายถึง รู้ว่า
อะไรคือความดี ความเจริญที่แท้และก็รู้ด้วยว่าอะไรคือสาเหตุให้เกิดความดีความเจริญนั้น
3. ความรู้จักวิธีการละเหตุความเสื่อมและวิธีการสร้างเหตุแห่งความเจริญ (อุปายโกศล)
หมายถึง รู้ทั้งสองด้านคือรู้แบบครบวงจร(ข้อ 1 และ ข้อ 2)
จากการที่พระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้องดังกล่าวข้างต้น ที่เปิด
โอกาสให้ทุกคนให้ได้ใช้สติปัญญาความคิดเห็นของตนพิจารณาอย่างเต็มที่ก่อนแล้ว จึงค่อยเชื่อ
http://kalenli1.blogspot.com/2012/06/blog-post_11.html
5
พระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง
พระพุทธศาสนาส่งเสริมทั้งปัญญาที่หมายถึง ความรู้ทั่ว รู้ชัด ได้แก่ ความเข้าใจ ความหยั่งรู้
เหตุผล และศรัทธา คือ ความเชื่อ แต่ศรัทธาในทางพระพุทธศาสนาเน้นให้เชื่ออย่างมีปัญญา
คือ เชื่อได้แต่ให้เชื่ออย่างมีเหตุมีผล และตั้งอยู่บนพื้นฐานของความเป็นจริงของชีวิต ซึ่งอาจ
จาแนกได้คือ
1. ศรัทธาเป็นเพียงขั้นหนึ่งในกระบวนการพัฒนาปัญญา และกล่าวไว้ว่าเป็นอันดับแรก
เพราะปัญญาทาให้ศรัทธาเป็นศรัทธาที่ถูกต้องตามหลัก ไม่ผิดพลาดกลายเป็นความงมงาย
2. ศรัทธาตามหลักของพระพุทธศาสนา ต้องเป็นความเชื่อที่ซาบซึ้งนับเนื่องด้วยเหตุผล
คือมีปัญญารองรับและเป็นทางสืบต่อแก่ปัญญาได้ มิใช่เพียงความรู้สึกมอบตัว มอบความ
ไว้วางใจให้สิ้นเชิงโดยไม่ต้องถามหาเหตุผล
3. คุณประโยชน์ของศรัทธาต้องเป็นไปเพื่อทาให้เกิดวิริยะ คือความเพียรพยายามที่จะ
ปฏิบัติทดลองสิ่งที่เชื่อด้วยศรัทธานั้น ให้เห็นผลประจักษ์จริงแก่ตน ซึ่งนาไปสู่กระบวนการสร้าง
ปัญญาในที่สุด
4. ศรัทธาต้องเป็นไปเพื่อปัญญา ดังนั้นศรัทธาที่ถูกต้องจึงต้องส่งเสริม ความคิดวิจัย
วิจารณ์จึงจะเกิดความก้าวหน้าแก่ปัญญาตามจุดหมาย ในขณะเดียวกันแม้ตัวศรัทธาเองจะ
มั่นคงแน่นแฟ้ นได้ก็เพราะได้คิดเห็นเหตุผลจนมั่นใจ หมดความเคลือบแคลงสงสัยใด ๆ โดยนัย
นี้ ศรัทธาตามหลักพระพุทธศาสนาจึงส่งเสริมการคิดหาเหตุผลเพื่อควบคุมศรัทธาให้อยู่ใน
ความหมายที่ถูกต้อง
ดังนั้นธรรมหมวดใดก็ตามในพุทธธรรม ถ้ามีศรัทธาเป็นส่วนประกอบข้อหนึ่งแล้ว
จะต้องมีปัญญาอีกข้อหนึ่งด้วยเสมอไป และตามปกติศรัทธาย่อมมาเป็นข้อหนึ่ง พร้อมกับที่
ปัญญาเป็นข้อสุดท้ายแต่ในกรณีที่กล่าวถึงปัญญาไม่จาเป็นต้องกล่าวถึงความศรัทธาไว้ด้วย
ดังนั้นปัญญาจึงสาคัญกว่าศรัทธา
หลักศรัทธา (ความเชื่อ) ตามแนวพระพุทธศาสนา
6
1. กัมมศรัทธา เชื่อเรื่องกฎแห่งกรรม เชื่อว่าทุกคนมีกรรม บาปและบุญมีจริง 2. วิบากศรัทธา
เชื่อเรื่องวิบาก หรือผลของกรรม เชื่อว่าคนทาดีได้ดี ทาชั่วได้ชั่ว
3. กัมมสกตาศรัทธา เชื่อว่าสัตว์มีกรรมเป็นของตนเอง เชื่อว่าทุกคนเป็นเจ้าของจะต้อง
รับผิดชอบผลกรรมของตนเองไม่ช้าก็เร็ว
4. ตถาคตโพธิศรัทธา เชื่อการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้าเป็นการตรัสรู้สัจธรรมจริง หลักความเชื่อ
ทั้ง 4 ประการนี้ เป็นความเชื่อพื้นฐานที่ชาวพุทธควรเชื่อไว้ เพื่อรับรองว่าพระพุทธเจ้าตรัสรู้จริง
เพราะถ้าไม่เชื่อก็จะไม่ยอมรับการนับถือ หรือการปฏิบัติธรรมก็ไม่มี
หลักการพัฒนาปัญญาตามแนวพระพุทธศาสนา
ปัญญา ได้แก่ ความฉลาดรอบรู้ในการศึกษาเล่าเรียน การคิดตริตรอง และอบรม
ปฏิบัติอย่างมีเหตุผล ซึ่งการพัฒนาปัญญาที่ถูกต้องเป็นไปตามลาดับ ดังนี้
1. สุตมยปัญญา ได้แก่ ปัญญาที่เกิดจากการฟัง และการเล่าเรียน โดยการฟังคือ การรับสาร
หรือ สาระทั้งปวงจากสื่อต่าง ๆ มิใช่แต่การฟังทางหูอย่างเดียวต้องมีสมาธิในการฟัง
2. จินตมยปัญญา ได้แก่ ปัญญาที่เกิดจากการคิดหาเหตุผล เพราะเมื่อฟังมากเรียนมากต้อง
นามาคิด รู้จักไตร่ตรองให้รอบคอบ พิจารณาด้วยปัญญาให้เป็นผลดี ผลเสีย ที่เรียกว่า “ โยนิโส
มนสิการ ” คือ การพิจารณาในใจโดยแยบคาย รอบคอบ
3. ภาวนามยปัญญา ได้แก่ ปัญญา ที่เกิดจากการอบรม หรือการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง เป็น
การนาความคิดมาฝึกอบรมให้เข้าใจ เห็นผลจากการปฏิบัติจริง หรือเรียกว่า ปัญญาย่อมเกิด
จากการปฏิบัติ
หลักสังคมชมพูทวีป
ชมพูทวีปในสมัยพระพุทธกาลคือพื้นที่ประเทศอินเดียและเนปาลในปัจจุบัน ซึ่งในปัจจุบันไม่
ปรากฏการใช้ชื่อนี้ แล้ว จะพบได้ก็เมื่อมีการพูดถึงประวัติของพระพุทธเจ้า และสังคมอินเดียใน
7
สมัยพุทธกาลสังคมของชมพูทวีปในสมัยพุทธกาล ได้มีการแบ่งชั้นวรรณะอย่างชัดเจน โดยแบ่ง
ออกเป็น 4 วรรณะ คือ
1. วรรณะกษัตริย์ ได้แก่ ชนชั้นสูง เหล่าพระบรมวงศานุวงศ์ พวกทหาร นักรบ นักปกครอง
2. วรรณะพราหมณ์ ได้แก่ นักบวช เจ้าลัทธิที่มีหน้าที่สั่งสอนวิทยาการต่าง ๆ และทาพิธีกรรม
ทางศาสนา
3. วรรณะแพศย์ ได้แก่ พวกพ่อค้า เศรษฐี คหบดี เป็นชนชั้นกลาง มีหน้าที่ทาการค้าขาย
4. วรรณะศูทร ได้แก่ กรรมกร ลูกจ้าง เป็นคนชั้นต่า ทางานหนัก
นอกจากนี้ สังคมของอินเดีย ยังมีวรรณะพิเศษอีกหนึ่งวรรณะที่เรียกว่า “จัณฑาล” คือ
พวกที่เกิดจากบิดามารดามีวรรณะต่างกัน เช่น มารดาอยู่ในวรรณะสูง บิดาอยู่ในวรรณะต่า ลูก
จึงกลายเป็นพวกจัณฑาล สังคมไม่ยอมรับ ได้รับการดูถูกเหยียดหยามมากกว่าพวกศูทรสังคม
สมัยพุทธกาล การถือเรื่องชั้นวรรณะรุนแรงมาก ทาให้เกิดความไม่ยุติธรรม มีความแตกแยกใน
สังคม
เพราะอาชีพบางอาชีพจะห้ามไม่ให้พวกวรรณะต่าทา แม้แต่คัมภีร์พระเวทของพราหมณ์ก็ห้ามมิ
ให้พวกศูทรเรียน เป็นต้น
ศาสนาพราหมณ์เปรียบเทียบวรรณะ 4 พวก ไว้ว่า กษัตริย์เกิดจากแขนของพระพรหมพราหมณ์
เกิดจากปากของพระพรหม แพศย์เกิดจากขาของพระพรหม และศูทรเกิดจากเท้าของพระพรหม
คติความเชื่อทางศาสนาในสมัยพุทธกาล
ความเชื่อในสมัยพุทธกาลมากมาย ตามหลักฐานทางคัมภีร์พระพุทธศาสนากล่าวว่ามี
62 ลัทธิและในศาสนาเชนกล่าวว่ามีลัทธิมากถึง 336 ลัทธิ นับว่าในสังคมอินเดียเป็นบ่อเกิดของ
ลัทธิความเชื่ออย่างแท้จริง และมีเสรีภาพในการเผยแผ่อย่างอิสระ
การแบ่งกลุ่มความเชื่อทางศาสนาอาจแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ
8
1. ความเชื่อในเรื่อง จิตวิญญาณ ได้แก่ ความเชื่อในเรื่องสภาพดินฟ้ าอากาศ ต้นไม้ ภูเขา เป็น
ต้น เป็นความเชื่อในเรื่องของความเปลี่ยนแปลงธรรมชาติว่ามีวิญญาณสิงสถิตอยู่ เป็นวิญญาณ
ของเทพเจ้า ซึ่งทั้งชนพื้นเมืองและพวกอารยชนต่าง ๆ ก็ยอมรับนับถือในเรื่องวิญญาณที่สถิตอยู่
กับต้นไม้
2. ความเชื่อในศาสนาพราหมณ์ ได้แก่ ความเชื่อในคัมภีร์พระเวทที่มีอิทธิพลมากในสมัยนั้นซึ่ง
มีเทพเจ้า คือ พระพรหม เป็นผู้สร้างโลก สร้างจักรวาล สร้างชีวิตมนุษย์ สร้างสัตว์ และมีการ
บวงสรวงต่อเทพเจ้า โดยใช้ชีวิตสัตว์บูชายัญ เพื่อขอพรให้ได้สิ่งที่ตนต้องการ
3. ความเชื่อในลัทธิอิสระต่าง ๆ ได้แก่ กลุ่มที่เป็นนักบวชที่มีความต้องการค้นหาความจริงอย่าง
อิสระไม่ยอมรับความเชื่อเดิมในศาสนาพราหมณ์ จึงตั้งสานักของตนเองขึ้นสอนผู้คนที่มีความ
เชื่อเหมือนตนเอง กลุ่มลัทธิอิสระมี 6 คน คือ ปูรณกัสสป มักขลิโคศาละ อชิตเกสกัมพล
ปกุธกัจจายนะ สัญชัยเวลัฏฐบุตร และนิครนถาฏบุตร ครูทั้ง 6 คนนี้ ได้รับการยกย่องว่าเป็น
นักปราชญ์ในสมัยนั้นเพราะมีอายุมาก และมีลูกศิษย์มากมาย บางลัทธิ เช่น ครูสัญชัย เคยเป็น
อาจารย์ของพระสารีบุตร และพระโมคคัลลานะก่อนที่ท่านทั้งสองจะมาบวชในพระพุทธศาสนา
และอีกท่านคือ ท่านนิคครนถนาฏบุตร หรือ มหาวีระศาสดาของศาสนาเชน ลัทธินี้ มีทัศนะที่
คล้ายคลึงกับพระพุทธศาสนา เช่น ในเรื่องสาเหตุแห่งทุกข์และวินัย 5 ซึ่งคล้ายกับศีล 5 ข้อของ
พระพุทธศาสน
https://sites.google.com/site/doungmanee5307/home/phraphuthth-sasna-nen-kar-phathna-sraththa-laea-
payya-thi-thuk-tx

More Related Content

What's hot

กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงLakkana Wuittiket
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานkrunueng1
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
กฎหมายทะเบียนราษฎร
กฎหมายทะเบียนราษฎรกฎหมายทะเบียนราษฎร
กฎหมายทะเบียนราษฎรYosiri
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6Thanawut Rattanadon
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์kruood
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55Decode Ac
 
หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มkkrunuch
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3O'Orh ChatmaNee
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือSAKANAN ANANTASOOK
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานKhemjira_P
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจไพบููลย์ หัดรัดชัย
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆLooktan Kp
 

What's hot (20)

ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
กฎหมายทะเบียนราษฎร
กฎหมายทะเบียนราษฎรกฎหมายทะเบียนราษฎร
กฎหมายทะเบียนราษฎร
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
 
หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่ม
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
 

Similar to ใบความรู้ เรื่องพระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง

พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์native
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา Min Kannita
 
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตรเหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตรsolarcell2
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่งพัน พัน
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) niralai
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารPanuwat Beforetwo
 
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทยPart1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทยwiriya kosit
 
ศีลเป็นเยี่ยมในโลก
ศีลเป็นเยี่ยมในโลกศีลเป็นเยี่ยมในโลก
ศีลเป็นเยี่ยมในโลกKiat Chaloemkiat
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปีPa'rig Prig
 
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตกจริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตกBeeBee ComEdu
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
developing baby while pregnant
developing baby while pregnantdeveloping baby while pregnant
developing baby while pregnantSunshine Friday
 
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์PhusitSudhammo
 
ส งคมศ กษา
ส งคมศ กษาส งคมศ กษา
ส งคมศ กษาAoy Amm Mee
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาพัน พัน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 

Similar to ใบความรู้ เรื่องพระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง (20)

พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา
 
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตรเหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหาร
 
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทยPart1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
 
ศีลเป็นเยี่ยมในโลก
ศีลเป็นเยี่ยมในโลกศีลเป็นเยี่ยมในโลก
ศีลเป็นเยี่ยมในโลก
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
 
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตกจริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
developing baby while pregnant
developing baby while pregnantdeveloping baby while pregnant
developing baby while pregnant
 
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
 
ส งคมศ กษา
ส งคมศ กษาส งคมศ กษา
ส งคมศ กษา
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 

More from native

โปรแกรมเมอร์
โปรแกรมเมอร์โปรแกรมเมอร์
โปรแกรมเมอร์native
 
แผ่นพับ โรคกระเพาะ
แผ่นพับ โรคกระเพาะแผ่นพับ โรคกระเพาะ
แผ่นพับ โรคกระเพาะnative
 
แผ่นพับ โรคมือเท้าปาก
แผ่นพับ โรคมือเท้าปากแผ่นพับ โรคมือเท้าปาก
แผ่นพับ โรคมือเท้าปากnative
 
แผ่นพับ โรคไข้หวัด
แผ่นพับ โรคไข้หวัดแผ่นพับ โรคไข้หวัด
แผ่นพับ โรคไข้หวัดnative
 
แผ่นพับ โรคตาแดง
แผ่นพับ โรคตาแดงแผ่นพับ โรคตาแดง
แผ่นพับ โรคตาแดงnative
 
ใบความรู้ โอเปร่า เรื่อง ขลุ่ยวิเศษ
ใบความรู้ โอเปร่า เรื่อง ขลุ่ยวิเศษใบความรู้ โอเปร่า เรื่อง ขลุ่ยวิเศษ
ใบความรู้ โอเปร่า เรื่อง ขลุ่ยวิเศษnative
 
โอโซน
โอโซนโอโซน
โอโซนnative
 
คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีการใช้มากที่สุด
คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีการใช้มากที่สุดคำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีการใช้มากที่สุด
คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีการใช้มากที่สุดnative
 
บันทึกเหตุการณ์(วิชา ลิขิตภาษา)
บันทึกเหตุการณ์(วิชา ลิขิตภาษา)บันทึกเหตุการณ์(วิชา ลิขิตภาษา)
บันทึกเหตุการณ์(วิชา ลิขิตภาษา)native
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนnative
 
ไวรัสกับไวรอยด์แตกต่างกันอย่างไร
ไวรัสกับไวรอยด์แตกต่างกันอย่างไรไวรัสกับไวรอยด์แตกต่างกันอย่างไร
ไวรัสกับไวรอยด์แตกต่างกันอย่างไรnative
 
มงคลชีวิต
มงคลชีวิตมงคลชีวิต
มงคลชีวิตnative
 
กลุ่มดาว88กลุ่ม
กลุ่มดาว88กลุ่มกลุ่มดาว88กลุ่ม
กลุ่มดาว88กลุ่มnative
 
โทมัส_เอดิสัน
โทมัส_เอดิสันโทมัส_เอดิสัน
โทมัส_เอดิสันnative
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะnative
 
ดวงอาทิตย์ The sun
ดวงอาทิตย์  The sunดวงอาทิตย์  The sun
ดวงอาทิตย์ The sunnative
 
ระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar systemระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar systemnative
 
รายงานวิชาพระพุทธ
รายงานวิชาพระพุทธรายงานวิชาพระพุทธ
รายงานวิชาพระพุทธnative
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซีnative
 
ใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติ
ใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติ
ใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติnative
 

More from native (20)

โปรแกรมเมอร์
โปรแกรมเมอร์โปรแกรมเมอร์
โปรแกรมเมอร์
 
แผ่นพับ โรคกระเพาะ
แผ่นพับ โรคกระเพาะแผ่นพับ โรคกระเพาะ
แผ่นพับ โรคกระเพาะ
 
แผ่นพับ โรคมือเท้าปาก
แผ่นพับ โรคมือเท้าปากแผ่นพับ โรคมือเท้าปาก
แผ่นพับ โรคมือเท้าปาก
 
แผ่นพับ โรคไข้หวัด
แผ่นพับ โรคไข้หวัดแผ่นพับ โรคไข้หวัด
แผ่นพับ โรคไข้หวัด
 
แผ่นพับ โรคตาแดง
แผ่นพับ โรคตาแดงแผ่นพับ โรคตาแดง
แผ่นพับ โรคตาแดง
 
ใบความรู้ โอเปร่า เรื่อง ขลุ่ยวิเศษ
ใบความรู้ โอเปร่า เรื่อง ขลุ่ยวิเศษใบความรู้ โอเปร่า เรื่อง ขลุ่ยวิเศษ
ใบความรู้ โอเปร่า เรื่อง ขลุ่ยวิเศษ
 
โอโซน
โอโซนโอโซน
โอโซน
 
คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีการใช้มากที่สุด
คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีการใช้มากที่สุดคำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีการใช้มากที่สุด
คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีการใช้มากที่สุด
 
บันทึกเหตุการณ์(วิชา ลิขิตภาษา)
บันทึกเหตุการณ์(วิชา ลิขิตภาษา)บันทึกเหตุการณ์(วิชา ลิขิตภาษา)
บันทึกเหตุการณ์(วิชา ลิขิตภาษา)
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
ไวรัสกับไวรอยด์แตกต่างกันอย่างไร
ไวรัสกับไวรอยด์แตกต่างกันอย่างไรไวรัสกับไวรอยด์แตกต่างกันอย่างไร
ไวรัสกับไวรอยด์แตกต่างกันอย่างไร
 
มงคลชีวิต
มงคลชีวิตมงคลชีวิต
มงคลชีวิต
 
กลุ่มดาว88กลุ่ม
กลุ่มดาว88กลุ่มกลุ่มดาว88กลุ่ม
กลุ่มดาว88กลุ่ม
 
โทมัส_เอดิสัน
โทมัส_เอดิสันโทมัส_เอดิสัน
โทมัส_เอดิสัน
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ดวงอาทิตย์ The sun
ดวงอาทิตย์  The sunดวงอาทิตย์  The sun
ดวงอาทิตย์ The sun
 
ระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar systemระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar system
 
รายงานวิชาพระพุทธ
รายงานวิชาพระพุทธรายงานวิชาพระพุทธ
รายงานวิชาพระพุทธ
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
ใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติ
ใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติ
ใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติ
 

ใบความรู้ เรื่องพระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง

  • 1. 1 เรื่อง พระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง หลักคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้าเป็นหลักความจริงที่พระพุทธองค์ได้ทรงค้นพบโดยมิได้ ทรงสร้างสรรค์ขึ้นเอง และมิได้ทรงรับคาสั่งสอนมาจากเทพเจ้าหรือพระเจ้าองค์ใดทั้งสิ้นดังที่ กล่าวแล้วนั้นพระพุทธศาสนาจึงนับว่าเป็นศาสนาที่ต่างไปจากศาสนาอื่นๆอยู่มาก หลักคาสอนที่สนับสนุนความจริงดังกล่าวนี้ คือ หลักคาสอนเรื่อ ศรัทธาและปัญญา ศรัทธา คือ ความเชื่อ ศรัทธาในพระพุทธศาสนาเป็นความเชื่อที่ประกอบด้วยปัญญาหรือ เหตุผล ซึ่งเรียกว่า ศรัทธาเพื่อปัญญา แม้ว่าพระพุทธเจ้าจะทรงสอนให้คนมีศรัทธา แต่ศรัทธา ของพระองค์นั้นต้องผ่านการพิจารณาไตร่ตรองด้วยปัญญาให้รอบคอบเสียก่อน ดังที่ ทรงสอน ชาวกาลามะแห่งเกสปุตตนิคม ในแคว้นโกศล ว่า อย่าเพิ่งปลงใจเชื่อ เพียงเพราะฟังตามๆกันมา เพียงเพราะถือปฏิบัติกันสืบๆมา เพียง เพราะข่าวเล่าลือ เพียงเพราะการอ่านตาราหรือคัมภีร์ เพียงเพราะการให้เหตุผลแบบตรรกะ เพียงเพราะการอนุมานเอาตามอาการที่ปรากฏ เพียงเพราะเห็นว่าเข้ากันได้ตรงตามทฤษฎีหรือ ความคิดเห็นของตน เพียงเพราะเห็นว่ามีรูปลักษณะน่าเชื่อถือ และเพียงเพราะถือว่าสมณะหรือ นักบวชผู้นี้ เป็นครูของเรา แต่เมื่อใดได้ใช้ปัญญาพิจารณาโดยรอบคอบแล้ว และเห็นว่าสิ่งที่ทาลงไปนั้น ไม่ทาให้ ตนเองและผู้อื่นเดือดร้อน อีกทั้งนักปราชญ์ไม่ติเตียน ก็จงทาสิ่งนั้น แต่หากสิ่งใดเมื่อทาลงไป แล้วตนเองและผู้อื่นเดือดร้อน นักปราชญ์ติเตียน ก็จงอย่าได้ทาสิ่งนั้นเลย หลักคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้านั้นมีข้อสังเกตประการหนึ่ง คือ หากทรงสอนเรื่อง ศรัทธาไว้ในที่ใด ก็จะทรงสอนปัญญากากับไว้ในที่นั้นด้วย นั่นก็หมายความว่า ทรงสอนให้ใช้ ศรัทธาที่ประกอบด้วยปัญญาเสมอไป ตัวอย่างเช่น ในหลักคาสอนหมวด พละ 5 ( ธรรมอันเป็นกาลัง ) ประกอบด้วย ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ และปัญญา หรือใน อริยทรัพย์ 7 ( ทรัพย์ภายในอันประเสริฐ ) ประกอบด้วย ศรัทธา ศีล หิริ โอตตัปปะ พหุสัจจะ จาคะ และปัญญา
  • 2. 2 จะเห็นว่า ศรัทธาในพระพุทธศาสนาต้องมีปัญญากากับด้วยเสมอ ซึ่งต่างจากศาสนา อื่นบางศาสนาที่จะสอนให้ศรัทธาอย่างเดียว คือ ถ้าพระคัมภีร์สอนไว้อย่างนี้ ก็จะต้องเชื่อตาม โดยไม่มีข้อแม้ ถ้าหากไม่เชื่อถือว่าเป็นคนบาป แต่สาหรับพระพุทธศาสนา แม้แต่การสอน หลักธรรมของพระพุทธเจ้า พระพุทธองค์ก็ไม่ได้ทรงบังคับให้เชื่อตามที่พระองค์สอน พระองค์ ทรงแนะนาให้พิจารณาไตร่ตรองด้วยเหตุด้วยผลและเห็นด้วยเสียก่อนแล้วจึงเชื่อ http://www.kr.ac.th/ebook2/julaporn/02.html
  • 3. 3 การพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง ศรัทธา ในกระบวนการพัฒนาตามหลักพุทธศาสนานั้น หมายถึง ความเชื่อมั่น การ ซาบซึ้ง ความมั่นใจเหตุเท่าที่ตนสามารถพิจารณาเห็นได้ โดยมีเหตุผลว่า จุดหมายหรือ เป้ าหมายที่อยู่ข้างหน้านั้นเป็นไปได้จริง และมีคุณค่าควรที่จะไปให้ถึง ศรัทธาจึงเป็นบันไดขั้น แรกที่จะนาไปสู่ปัญญาหรือความรู้ ซึ่งตรงกันข้ามกับศรัทธาที่เป็นแบบ มอบตัว มอบความ ไว้วางใจให้กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง โดยไม่คิดหาเหตุผล ศรัทธาที่ถูกต้องเป็นสื่อนาไปสู่การพัฒนา ปัญญา แบ่งออกเป็น 3 ประการ 1. เชื่อมั่นในความดีงามของมนุษย์ หมายถึง เชื่อว่าความดีงามนั้งมนุษย์สามารถสร้างขึ้น เองได้ ด้วยความพากเพียร ไม่ใช่จากสิ่งศักดิ์สิทธิ 2. เชื่อมั่นในกฎแห่งการกระทาและผลของการกระทา หมายถึง เชื่อมั่นว่าไม่มีสิ่งใดเกิดขึ้น ลอยๆโดยไม่มีเหตุปัจจัยให้เกิด เมื่อมีการกระทาใดๆลงไปย่อมมีผลของการกระทานั้นๆ 3. เชื่อมั่นว่ามนุษย์ต้องรับผิดชอบต่อการกระทาและผลของการกระทานั้น ข้อนี้ สืบ เนื่องมาจากข้อ 1 และ 2 จะทาให้คนมีความละเอียดรอบคอบ ในการการกระทาของตนเอง เพราะเมื่อทาอะไรลงไปแล้วต้องได้รับผลการการกระทานั้นไม่ทางตรงก็ทางอ้อม ปัญญา หมายถึง ความรู้ความหยั่งรู้เหตุผล ความรู้มีอยู่ 2 ประเภท คือ ความรู้ที่มีมาแต่ กาเนิด (สหชาติปัญญา) เป็นความรู้พื้นฐานที่ทุกคนพึงมี มากบ้างน้อยบ้างแล้วแต่บุคคล บาง คนก็มีความรู้พิเศษที่คนอื่นไม่มีซึ่งคนอื่นไม่มีภาษาไทยเรียกว่า พรสวรรค์ เช่นสามารถภาพได้ งดงาม ทั้งๆที่ไม่เคยเรียนมาเลย และความรู้ที่มีขึ้นด้วยการศึกษา (โยคปัญญา) คือความรู้ที่ แสวงหาเอาภายหลัง ดังคาที่ว่า “ปัญญามีได้เพราะการฝึกฝนพัฒนา ปัญญาเสื่อมไปเพราะไม่มี การฝึกฝนพัฒนา” และความรู้ประการหลังนี่เองที่ต้องการเน้นให้ได้ศึกษา ปัญญาที่ถูกต้องใน กระบวนการพัฒนา มีลักษณะ 3 ประการ คือ
  • 4. 4 1. ความรู้จักเหตุแต่ความเสื่อมและโทษของความเสื่อม (อปายโกศล) หมายถึง รู้ว่าอะไรคือ ความเสื่อม และอะไรคือเหตุทาให้เกิดความเสื่อม 2. ความรู้จักเหตุแห่งความเจริญและประโยชน์ของความเจริญ (อายโกศล) หมายถึง รู้ว่า อะไรคือความดี ความเจริญที่แท้และก็รู้ด้วยว่าอะไรคือสาเหตุให้เกิดความดีความเจริญนั้น 3. ความรู้จักวิธีการละเหตุความเสื่อมและวิธีการสร้างเหตุแห่งความเจริญ (อุปายโกศล) หมายถึง รู้ทั้งสองด้านคือรู้แบบครบวงจร(ข้อ 1 และ ข้อ 2) จากการที่พระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้องดังกล่าวข้างต้น ที่เปิด โอกาสให้ทุกคนให้ได้ใช้สติปัญญาความคิดเห็นของตนพิจารณาอย่างเต็มที่ก่อนแล้ว จึงค่อยเชื่อ http://kalenli1.blogspot.com/2012/06/blog-post_11.html
  • 5. 5 พระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง พระพุทธศาสนาส่งเสริมทั้งปัญญาที่หมายถึง ความรู้ทั่ว รู้ชัด ได้แก่ ความเข้าใจ ความหยั่งรู้ เหตุผล และศรัทธา คือ ความเชื่อ แต่ศรัทธาในทางพระพุทธศาสนาเน้นให้เชื่ออย่างมีปัญญา คือ เชื่อได้แต่ให้เชื่ออย่างมีเหตุมีผล และตั้งอยู่บนพื้นฐานของความเป็นจริงของชีวิต ซึ่งอาจ จาแนกได้คือ 1. ศรัทธาเป็นเพียงขั้นหนึ่งในกระบวนการพัฒนาปัญญา และกล่าวไว้ว่าเป็นอันดับแรก เพราะปัญญาทาให้ศรัทธาเป็นศรัทธาที่ถูกต้องตามหลัก ไม่ผิดพลาดกลายเป็นความงมงาย 2. ศรัทธาตามหลักของพระพุทธศาสนา ต้องเป็นความเชื่อที่ซาบซึ้งนับเนื่องด้วยเหตุผล คือมีปัญญารองรับและเป็นทางสืบต่อแก่ปัญญาได้ มิใช่เพียงความรู้สึกมอบตัว มอบความ ไว้วางใจให้สิ้นเชิงโดยไม่ต้องถามหาเหตุผล 3. คุณประโยชน์ของศรัทธาต้องเป็นไปเพื่อทาให้เกิดวิริยะ คือความเพียรพยายามที่จะ ปฏิบัติทดลองสิ่งที่เชื่อด้วยศรัทธานั้น ให้เห็นผลประจักษ์จริงแก่ตน ซึ่งนาไปสู่กระบวนการสร้าง ปัญญาในที่สุด 4. ศรัทธาต้องเป็นไปเพื่อปัญญา ดังนั้นศรัทธาที่ถูกต้องจึงต้องส่งเสริม ความคิดวิจัย วิจารณ์จึงจะเกิดความก้าวหน้าแก่ปัญญาตามจุดหมาย ในขณะเดียวกันแม้ตัวศรัทธาเองจะ มั่นคงแน่นแฟ้ นได้ก็เพราะได้คิดเห็นเหตุผลจนมั่นใจ หมดความเคลือบแคลงสงสัยใด ๆ โดยนัย นี้ ศรัทธาตามหลักพระพุทธศาสนาจึงส่งเสริมการคิดหาเหตุผลเพื่อควบคุมศรัทธาให้อยู่ใน ความหมายที่ถูกต้อง ดังนั้นธรรมหมวดใดก็ตามในพุทธธรรม ถ้ามีศรัทธาเป็นส่วนประกอบข้อหนึ่งแล้ว จะต้องมีปัญญาอีกข้อหนึ่งด้วยเสมอไป และตามปกติศรัทธาย่อมมาเป็นข้อหนึ่ง พร้อมกับที่ ปัญญาเป็นข้อสุดท้ายแต่ในกรณีที่กล่าวถึงปัญญาไม่จาเป็นต้องกล่าวถึงความศรัทธาไว้ด้วย ดังนั้นปัญญาจึงสาคัญกว่าศรัทธา หลักศรัทธา (ความเชื่อ) ตามแนวพระพุทธศาสนา
  • 6. 6 1. กัมมศรัทธา เชื่อเรื่องกฎแห่งกรรม เชื่อว่าทุกคนมีกรรม บาปและบุญมีจริง 2. วิบากศรัทธา เชื่อเรื่องวิบาก หรือผลของกรรม เชื่อว่าคนทาดีได้ดี ทาชั่วได้ชั่ว 3. กัมมสกตาศรัทธา เชื่อว่าสัตว์มีกรรมเป็นของตนเอง เชื่อว่าทุกคนเป็นเจ้าของจะต้อง รับผิดชอบผลกรรมของตนเองไม่ช้าก็เร็ว 4. ตถาคตโพธิศรัทธา เชื่อการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้าเป็นการตรัสรู้สัจธรรมจริง หลักความเชื่อ ทั้ง 4 ประการนี้ เป็นความเชื่อพื้นฐานที่ชาวพุทธควรเชื่อไว้ เพื่อรับรองว่าพระพุทธเจ้าตรัสรู้จริง เพราะถ้าไม่เชื่อก็จะไม่ยอมรับการนับถือ หรือการปฏิบัติธรรมก็ไม่มี หลักการพัฒนาปัญญาตามแนวพระพุทธศาสนา ปัญญา ได้แก่ ความฉลาดรอบรู้ในการศึกษาเล่าเรียน การคิดตริตรอง และอบรม ปฏิบัติอย่างมีเหตุผล ซึ่งการพัฒนาปัญญาที่ถูกต้องเป็นไปตามลาดับ ดังนี้ 1. สุตมยปัญญา ได้แก่ ปัญญาที่เกิดจากการฟัง และการเล่าเรียน โดยการฟังคือ การรับสาร หรือ สาระทั้งปวงจากสื่อต่าง ๆ มิใช่แต่การฟังทางหูอย่างเดียวต้องมีสมาธิในการฟัง 2. จินตมยปัญญา ได้แก่ ปัญญาที่เกิดจากการคิดหาเหตุผล เพราะเมื่อฟังมากเรียนมากต้อง นามาคิด รู้จักไตร่ตรองให้รอบคอบ พิจารณาด้วยปัญญาให้เป็นผลดี ผลเสีย ที่เรียกว่า “ โยนิโส มนสิการ ” คือ การพิจารณาในใจโดยแยบคาย รอบคอบ 3. ภาวนามยปัญญา ได้แก่ ปัญญา ที่เกิดจากการอบรม หรือการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง เป็น การนาความคิดมาฝึกอบรมให้เข้าใจ เห็นผลจากการปฏิบัติจริง หรือเรียกว่า ปัญญาย่อมเกิด จากการปฏิบัติ หลักสังคมชมพูทวีป ชมพูทวีปในสมัยพระพุทธกาลคือพื้นที่ประเทศอินเดียและเนปาลในปัจจุบัน ซึ่งในปัจจุบันไม่ ปรากฏการใช้ชื่อนี้ แล้ว จะพบได้ก็เมื่อมีการพูดถึงประวัติของพระพุทธเจ้า และสังคมอินเดียใน
  • 7. 7 สมัยพุทธกาลสังคมของชมพูทวีปในสมัยพุทธกาล ได้มีการแบ่งชั้นวรรณะอย่างชัดเจน โดยแบ่ง ออกเป็น 4 วรรณะ คือ 1. วรรณะกษัตริย์ ได้แก่ ชนชั้นสูง เหล่าพระบรมวงศานุวงศ์ พวกทหาร นักรบ นักปกครอง 2. วรรณะพราหมณ์ ได้แก่ นักบวช เจ้าลัทธิที่มีหน้าที่สั่งสอนวิทยาการต่าง ๆ และทาพิธีกรรม ทางศาสนา 3. วรรณะแพศย์ ได้แก่ พวกพ่อค้า เศรษฐี คหบดี เป็นชนชั้นกลาง มีหน้าที่ทาการค้าขาย 4. วรรณะศูทร ได้แก่ กรรมกร ลูกจ้าง เป็นคนชั้นต่า ทางานหนัก นอกจากนี้ สังคมของอินเดีย ยังมีวรรณะพิเศษอีกหนึ่งวรรณะที่เรียกว่า “จัณฑาล” คือ พวกที่เกิดจากบิดามารดามีวรรณะต่างกัน เช่น มารดาอยู่ในวรรณะสูง บิดาอยู่ในวรรณะต่า ลูก จึงกลายเป็นพวกจัณฑาล สังคมไม่ยอมรับ ได้รับการดูถูกเหยียดหยามมากกว่าพวกศูทรสังคม สมัยพุทธกาล การถือเรื่องชั้นวรรณะรุนแรงมาก ทาให้เกิดความไม่ยุติธรรม มีความแตกแยกใน สังคม เพราะอาชีพบางอาชีพจะห้ามไม่ให้พวกวรรณะต่าทา แม้แต่คัมภีร์พระเวทของพราหมณ์ก็ห้ามมิ ให้พวกศูทรเรียน เป็นต้น ศาสนาพราหมณ์เปรียบเทียบวรรณะ 4 พวก ไว้ว่า กษัตริย์เกิดจากแขนของพระพรหมพราหมณ์ เกิดจากปากของพระพรหม แพศย์เกิดจากขาของพระพรหม และศูทรเกิดจากเท้าของพระพรหม คติความเชื่อทางศาสนาในสมัยพุทธกาล ความเชื่อในสมัยพุทธกาลมากมาย ตามหลักฐานทางคัมภีร์พระพุทธศาสนากล่าวว่ามี 62 ลัทธิและในศาสนาเชนกล่าวว่ามีลัทธิมากถึง 336 ลัทธิ นับว่าในสังคมอินเดียเป็นบ่อเกิดของ ลัทธิความเชื่ออย่างแท้จริง และมีเสรีภาพในการเผยแผ่อย่างอิสระ การแบ่งกลุ่มความเชื่อทางศาสนาอาจแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ
  • 8. 8 1. ความเชื่อในเรื่อง จิตวิญญาณ ได้แก่ ความเชื่อในเรื่องสภาพดินฟ้ าอากาศ ต้นไม้ ภูเขา เป็น ต้น เป็นความเชื่อในเรื่องของความเปลี่ยนแปลงธรรมชาติว่ามีวิญญาณสิงสถิตอยู่ เป็นวิญญาณ ของเทพเจ้า ซึ่งทั้งชนพื้นเมืองและพวกอารยชนต่าง ๆ ก็ยอมรับนับถือในเรื่องวิญญาณที่สถิตอยู่ กับต้นไม้ 2. ความเชื่อในศาสนาพราหมณ์ ได้แก่ ความเชื่อในคัมภีร์พระเวทที่มีอิทธิพลมากในสมัยนั้นซึ่ง มีเทพเจ้า คือ พระพรหม เป็นผู้สร้างโลก สร้างจักรวาล สร้างชีวิตมนุษย์ สร้างสัตว์ และมีการ บวงสรวงต่อเทพเจ้า โดยใช้ชีวิตสัตว์บูชายัญ เพื่อขอพรให้ได้สิ่งที่ตนต้องการ 3. ความเชื่อในลัทธิอิสระต่าง ๆ ได้แก่ กลุ่มที่เป็นนักบวชที่มีความต้องการค้นหาความจริงอย่าง อิสระไม่ยอมรับความเชื่อเดิมในศาสนาพราหมณ์ จึงตั้งสานักของตนเองขึ้นสอนผู้คนที่มีความ เชื่อเหมือนตนเอง กลุ่มลัทธิอิสระมี 6 คน คือ ปูรณกัสสป มักขลิโคศาละ อชิตเกสกัมพล ปกุธกัจจายนะ สัญชัยเวลัฏฐบุตร และนิครนถาฏบุตร ครูทั้ง 6 คนนี้ ได้รับการยกย่องว่าเป็น นักปราชญ์ในสมัยนั้นเพราะมีอายุมาก และมีลูกศิษย์มากมาย บางลัทธิ เช่น ครูสัญชัย เคยเป็น อาจารย์ของพระสารีบุตร และพระโมคคัลลานะก่อนที่ท่านทั้งสองจะมาบวชในพระพุทธศาสนา และอีกท่านคือ ท่านนิคครนถนาฏบุตร หรือ มหาวีระศาสดาของศาสนาเชน ลัทธินี้ มีทัศนะที่ คล้ายคลึงกับพระพุทธศาสนา เช่น ในเรื่องสาเหตุแห่งทุกข์และวินัย 5 ซึ่งคล้ายกับศีล 5 ข้อของ พระพุทธศาสน https://sites.google.com/site/doungmanee5307/home/phraphuthth-sasna-nen-kar-phathna-sraththa-laea- payya-thi-thuk-tx