SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
นางสาวสุมิตรา สาเภาพล
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีกาญจนบุรี
จะเลี้ยงสัตว์อย่างไร
..ให้ได้กาไร
เอ..จะทาอย่างไรดีหว่า?
ช่วยกันคิดหน่อย...
1. สัตว์/ผลิตภัณฑ์จากสัตว์มีราคาดี
สัตว์มีน้อยไม่พอกับความต้องการ เกษตรกรขยายกรเลี้ยงเพิ่มขึ้น
(เกิดโรคระบาด น้าท่วม
อาหารสัตว์ราคาแพง ฯลฯ)
สัตว์-ผลผลิตสัตว์ออกสู่ตลาดน้อย สัตว์/ผลิตภัณฑ์มีปริมาณมากเกินราคาสัตว์/ผลผลิตสูง..
ราคาสัตว์/ผลิตภัณฑ์ลดลง….
ได้กาไร ขาดทุน
2. ลดต้นทุนให้ต่าลง
โดยการเพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนการผลิต แม้ราคาสัตว์ต่า แต่เกษตรกรยังสามารถดารง
ธุรกิจได้ถ้าหากสัตว์มีราคาดี เกษตรกรจะยิ่งเพิ่มกาไรมากขึ้นที่สาคัญเกษตรกรสามารถทาได้ด้วย
ตนเองที่ฟาร์ม
การลดต้นทุนการเลี้ยงสัตว์จึงเป็นวิธีการที่ดีที่สุด
ความสาคัญของอาหารต่อการเลี้ยงสัตว์
ออกแรงกันหาคาตอบหน่อยสิ..
1. อาหารสัตว์เป็นต้นทุนส่วนใหญ่ (60-70 %) ของต้นทุนของการเลี้ยงสัตว์ทั้งหมด
2. อาหารยังมีผลต่อลักษณะต่างๆ ต่อไปดังนี้
การเจริญเติบโต (Averate dairy grain, ADG)
ประสิทธิภาพการใช้อาหาร (Feed conversion ratio, FCR)
คุณภาพซาก (ปริมาณเนื้อแดง/ไขแดง)
การให้ผลผลิตอื่นๆ เช่น นม ไข่
ประสิทธิภาพการสืบพันธุ์
สุขภาพ และภูมิต้านทานโรคของสัตว์
อายุการใช้งานของสัตว์
อาหารคุณภาพดีเป็นปัจจัยสาคัญมากในการเลี้ยงสัตว์ให้ประสบผลสาเร็จ และต้นทุนการผลิตต่า
หลักการผลิตอาหารคุณภาพดีและราคาถูก
เวทีประลองลองความสามารถ
1. อาหารที่มีคุณค่าทางโภชนะครบตามความต้องการของสัตว์
กินไปแล้ว/ย่อยแล้ว/ดูดซึมแล้วได้โภชนะต่างๆ ในปริมาณเพียงพอต่อความต้องการ
ระดับโภชนะในอาหารต้องมีการปรับให้เหมาะสมตามสายพันธุ์สัตว์-ปริมาณของการกินอาหาร
2. เลือกใช้วัตถุดิบอาหารที่มีคุณภาพดีและราคาถูก
วัตถุดิบอาหารแป้ง : ปลายข้าว ข้าวโพด ข้างฟ่าง มันสาปะหลัง ฯลฯ
วัตถุดิบอาหารโปรตีนสูง : กากถั่วเหลือง กากถั่วลิสง กากเมล็ดทานตะวัน กากเมล็ดงา ฯลฯ
ไม่ควรใช้วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่มีสารพิษ : กากเมล็ดนุ่น กากเมล็ดฝ้าย กากเรปซีด ฯลฯ
3. มีการตรวจคุณภาพวัตถุดิบอาหารสัตว์
เพื่อให้ได้วัตถุดิบอาหารที่สะอาดและบริสุทธิ์ ปราศจากการปลอมปนและปนเปื้อนมีน้อยที่สุด
4. ผ่านกระบวนการผลิตที่ถูกต้องเหมาะสม
อาหารผ่านขบวนการบดละเอียด การผสม การอัดเม็ด หรือการเอ็กทรูดอย่างเหมาะสม
• ชช ช่วยกันตอบหน่อย
ปัจจัยที่จำเป็นในกำรสังเครำะห์โปรตีน
1. กรดอะมิโน 20 ชนิด ทั้งจำเป็นและไม่จำเป็นในอำหำร
2. ฮอร์โมนประเภทสร้ำงสรรค์ (Anabolic hormone)
 ฮอร์โมนเพื่อกำรเจริญเติบโต (Growth hormone)
 ฮอร์โมนอินซูลิน (Insulin)
 ฮอร์โมนเพศ (Sex hormone)
เทสโทสเตอโรน (Testosterone) เพศผู้
เอสโตรเจน (Estrogen) เพศเมีย
โปรเจสเตอโรน (Progesterone) เพศเมีย
3. ไวตำมินเอ และธำตุสังกะสี
4. พลังงำน (แป้ งและไขมัน) สำร ATP
การเจริญเติบโต
การสังเคราะห์โปรตีน การให้ผลผลิตต่างๆ
(Protein Synthesis) ภูมิต้านทานโรค
การสร้างน้าเชื้อ
ฯลฯ
ฮอร์โมนสร้างสรรค์ ฮอร์โมนทาลาย
(Anabolic hormone) (Catabolic hormone)
GH - Cortisol
Insulin - Glucocorticoid
Sex hormone - Adrenalin
ความเครียด (Stress)
อากาศร้อน เลี้ยงหนาแน่น โตเร็วมากให้ สารพิษในอาหาร ฯลฯ
ผลผลิตมาก
ฮอร์โมนทาลาย ฮอร์โมนสร้างสรรค์ โภชนะ
คอร์ติซอล - เพื่อการเจริญเติบโต - กรดอะมิโน
กลูโคคอร์ติคอยด์ - อินซูลิน - ไวตามินเอ
อะดรีนาลิน - เพศ - ธาตุสังกะสี
- พลังงาน
ความเครียด แหล่งความเครียด
การสังเคราะห์โปรตีน
โปรตีน โปรตีน โปรตีน โปรตีน โปรตีน โปรตีน โปรตีน
นม ไข่ ขน ในเซลล์ น้าย่อย ภูมิต้านทานโรค ในสมอง
สัตว์ สัตว์ สัตว์ การแบ่ง การย่อย สัตว์ คนมี
ให้นมดี ให้ไข่ดี ให้ขนดี เซลล์ อาหารดี มีภูมิต้าน สมองดี
โรคทานดี ฉลาด
การเติบโต เนื้อเยื่อต่างๆ
การเติบโต อวัยวะต่างๆ
การเติบโต ร่างกาย
ทฤษฎีความเครียด
สภำพแวดล้อม
ควำมหนำแน่น
กำรเจริญเติบโต
สำรพิษในอำหำร
เชื้อโรค
อื่นๆ
สภำพแวดล้อม
ควำมหนำแน่น
กำรเจริญเติบโต
สำรพิษในอำหำร
เชื้อโรค
อื่นๆ
สภำพแวดล้อม
ควำมหนำแน่น
กำรเจริญเติบโต
สำรพิษในอำหำร
เชื้อโรค
อื่นๆ
1. ผลรวมของความเครียดทั้งหมดต้องไม่เกินระดับที่สัตว์สามารถทนทานได้
2. การเพิ่มขนาดของแหล่งความเครียดแหล่งใดแหล่งหนึ่ง ผู้เลี้ยงสัตว์จาเป็ นต้องหาทางลดขนาดแหล่งความเครียดอื่น เพื่อให้สัตว์ได้รับปริมาณ
ความเครียดรวมเท่าเดิม หรือน้อยลง
1 2 3
แหล่งความเครียดในการเลี้ยงสัตว์
มีอะไรบ้างที่เกี่ยวข้อง?
1. สภาพแวดล้อม
อุณหภูมิของอากาศ/การระบายความร้อนจากร่างกาย
ก๊าซพิษ (NH3 H2S NO2)
เสียงรบกวน
2. ความหนาแน่นของการเลี้ยง ยิ่งเลี้ยงหนาแน่น สัตว์ยิ่งเครียดมาก
3. การเติบโตและการให้ผลผลิต ยิ่งโตเร็ว/ให้ผลผลิตมากย่อมไวต่อความเครียดมาก
4. ความเครียดภายในร่างกาย
ก๊าซพิษในระบบทางเดินอาหาร (NH3 H2S)
5. สารพิษในอาหาร
สารพิษเชื้อราในอาหาร
สารพิษธรรมชาติที่ติดมากับวัตถุดิบอาหาร
6. อื่นๆ
เชื้อโรคในอาหาร/สภาพแวดล้อม
การจัดการดูแล
หน้าที่ของโภชนะในร่างกาย
กาลังคอยคาตอบอยู่จ้ะ......
1. เป็นองค์ประกอบของเนื้อเยื่อ(เซลล์) และอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย (โปรตีน ไขมัน ..)
2. เป็นเอนไซม์(โปรตีน) โคเอนไซม์(ไวตามิน) และโคแฟคเตอร์ (แร่ธาตุ) ชนิดต่างๆ ที่
กระตุ้นปฏิกิริยาเคมีในร่างกาย
3. เป็นฮอร์โมนเพื่อควบคุมการเมตาบอลิซึ่มของโภชนะในร่างกาย (โปรตีน/ สารสเตอรอยด์)
4. เป็นองค์ประกอบของผลผลิตต่างๆ ของสัตว์เช่น
ไข่ (โปรตีน ไขมัน ไวตามิน แร่ธาตุ น้า) นม (โปรตีน ไขมัน ไวตามิน แร่ธาตุ น้า)
ขน เส้นไหม (โปรตีน)
5. เป็นองค์ประกอบของเซลล์สืบพันธุ์ (ไข่และน้าเชื้อ) และตัวอ่อนของสัตว์(โปรตีน ไขมัน
ไวตามิน แร่ธาตุ น้า)
6. เป็นองค์ประกอบภูมิต้านทานโรคของสัตว์ทั้งแบบ Humoral immunity (โปรตีน)
และ Cellular immunity (โปรตีน ไขมัน ไวตามิน แร่ธาตุ น้า)
7. เป็นสารที่ให้พลังงานแก่ตัวสัตว์(แป้ง/ไขมัน) เพื่อการดารงชีพและเพื่อการสังเคราะห์ หรือ
สร้างผลผลิตต่างๆ ฯลฯ
การแบ่งประเภทของสัตว์ตามระบบย่อยอาหาร
1. สัตว์กระเพาะเดี่ยว (Nonruminants / Simple stomach animals)
ทางเดินอาหารเรียบง่าย มีหน้าที่ย่อยสลายและดูดซึมโภชนะในอาหารสู่ร่างกาย
คน สุกร สัตว์ปีก สุนัข แมว ปลา กุ้ง
2. สัตว์กึ่งกระเพาะรวม (Pseudo rumimants / Functional caecum
animals)
ทางเดินอาหารเรียบง่ายส่วนแรก แต่มีไส้ติ่ง (Caecum) และลาไส้ใหญ่ขยายใหญ่ เพื่อหมัก
อาหารหยาบเป็นพลังงาน (VFA) ให้แก่ตัวสัตว์
กระต่าย ม้า ช้าง
3. สัตว์กระเพาะรวม (Ruminants หรือ Compound Stomach animals)
กระเพาะมี 4 ส่วน และประกอบด้วยกระเพาะหมัก (Rumen) ซึ่งสามารถหมักอาหาร
หยาบให้ได้พลังงาน (VFA) โปรตีน และวิตามินแก่ตัวสัตว์
โค กระบือ เก้ง กวาง
สัตว์ประเภทเดียวกันจะมีหลักการโภชนาการเหมือนกัน
ปัจจัยที่มีผลต่อกำรย่อยได้ของสัตว์
ลองเดาดู
1. ตัวสัตว์
อายุของสัตว์
ชนิดของสัตว์(สุกร/ไก่เนื้อ/เป็ด/กระเพาะรวม)
พันธุกรรม (ให้ผลผลิตมาก/น้อย)
สุขภาพของสัตว์
2. อาหารและการให้อาหาร
ชนิดของแป้ง (แป้งอ่อน/แป้งแข็ง)
ชนิดของโปรตีน (globular/fibrous)
กรรมวิธีการผลิต (การบด/การอัดเม็ด/การทาให้สุก)
ปริมาณสารพิษ /สารขัดขวางโภชนะ (เยื่อใย/แทนนิน/สารยับยั้งทริปซิน)
ระดับโภชนะในอาหาร
ระดับการให้อาหาร (ให้กินเต็มที่/ให้กินจากัด)
3. สภาพแวดล้อม
ความเครียดที่สัตว์ได้รับ (อุณหภูมิ ความหนาแน่น การเลี้ยง ฯลฯ)
กรดอะมิโนในอำหำรและในตัวสัตว์
คืออะไร
เป็นอย่ำงไร
กรดอะมิโนจาเป็นในอาหาร
(Essential Amino Acids)
ร่างกายสังเคราะห์เองไม่ได้
กรดอะมิโนไม่จาเป็นในอาหาร
(Non-essential Amino
Acid) ร่างกายสังเคราะห์เองได้
ไลซีน (Lysine; Lys) กรดกลูตามิค (Glutamic; Glu)
เมทไธโอนีน (Methionine; Met) ซีสทีน (Cystine; Cys)
ทริปโตเฟน (Tryptophan; Try) ซีสเตอีน (Cysteine; Cst)
ทรีโอนีน (Threonine; Thr) เซรีน (Serine; Ser)
ไอโซลูซีน (Isoleucine; Lle) อะลานีน (Alanine; )
ลูซีน (Leucine; Leu) โปรลีน
อาร์จินีน (Arginine; Arg) ไฮดรอกซีโปรลีน
เฟนิลอะลานีน (Phenylalanine; Phe) ไทโรซีน
ฮิสติดีน (Histidine; His) กรดแอสปาร์ติค
เวลีน (Valine; Val) ไกลซีน (Glycine; Gly)*
ทดสอบเก็บคะแนน
จะเลี้ยงสัตว์อย่างไร
..ให้ได้กาไร
การเลี้ยงสัตว์ให้ได้กำไร

More Related Content

Similar to การเลี้ยงสัตว์ให้ได้กำไร

เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2Enormity_tung
 
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชdnavaroj
 
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)Nutthakorn Songkram
 
เรื่อง การพัฒนา web blog ด้วย wordpress
เรื่อง การพัฒนา web blog ด้วย wordpress เรื่อง การพัฒนา web blog ด้วย wordpress
เรื่อง การพัฒนา web blog ด้วย wordpress 1234Nutthamon
 
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5primpatcha
 
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5primpatcha
 
9789740330608
97897403306089789740330608
9789740330608CUPress
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการAobinta In
 
7.การทำก้อน ตอนที่1
7.การทำก้อน ตอนที่17.การทำก้อน ตอนที่1
7.การทำก้อน ตอนที่1sombat nirund
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4Puchida Saingchin
 
การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554Lsilapakean
 
บทที่ ๒ สารอาหาร
บทที่ ๒ สารอาหารบทที่ ๒ สารอาหาร
บทที่ ๒ สารอาหารkasocute
 
การเลี้ยงสุนัข Note2
การเลี้ยงสุนัข Note2การเลี้ยงสุนัข Note2
การเลี้ยงสุนัข Note2sukanya sutimol
 

Similar to การเลี้ยงสัตว์ให้ได้กำไร (20)

เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
 
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
 
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
 
เรื่อง การพัฒนา web blog ด้วย wordpress
เรื่อง การพัฒนา web blog ด้วย wordpress เรื่อง การพัฒนา web blog ด้วย wordpress
เรื่อง การพัฒนา web blog ด้วย wordpress
 
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
 
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
 
Mom knowledge
Mom knowledgeMom knowledge
Mom knowledge
 
9789740330608
97897403306089789740330608
9789740330608
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการ
 
farmland
farmlandfarmland
farmland
 
7.การทำก้อน ตอนที่1
7.การทำก้อน ตอนที่17.การทำก้อน ตอนที่1
7.การทำก้อน ตอนที่1
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
Flora improvement
Flora improvementFlora improvement
Flora improvement
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
 
Minibook animal
Minibook animalMinibook animal
Minibook animal
 
Cat How To
Cat How ToCat How To
Cat How To
 
การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ ๒ สารอาหาร
บทที่ ๒ สารอาหารบทที่ ๒ สารอาหาร
บทที่ ๒ สารอาหาร
 
การเลี้ยงสุนัข Note2
การเลี้ยงสุนัข Note2การเลี้ยงสุนัข Note2
การเลี้ยงสุนัข Note2
 

การเลี้ยงสัตว์ให้ได้กำไร