SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา
เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปีการศึกษา 2549 โครงสร้างและหน้าที่ของราก
15
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
1. เนื้อเยื่อบริเวณปลายราก
เนื้อเยื่อบริเวณปลายรากแบ่งออกเป็น 3 บริเวณ(zone/region) คือ
1. zone of cell division (บริเวณเซลล์แบ่งตัว) บริเวณนี้มีเนื้อเยื่อเจริญ(meristermatic tissue) ที่มีการ
แบ่งเซลล์แบบไมโทซีสตลอดเวลา ส่วนปลายของบริเวณนี้บางส่วนจะเปลี่ยนเป็นหมวกราก(root
cap)ซึ่งทาหน้าที่ป้องกันอันตรายให้แก่ปลายราก
2. zone of cell elongation (บริเวณเวณเซลล์ยืดตัว) บริเวณนี้เป็นกลุ่มเซลล์ที่ได้จาก zone of cell
division มีการยืดยาวของเซลล์ขึ้น
3. zone of cell maturation (บริเวณเซลล์เจริญเต็มที่) เป็นบริเวณที่เซลล์มีการเจริญเติบโตเต็มที่ มี
การเปลี่ยนแปลงรูปร่างไปเช่น เปลี่ยนแปลงไปเป็นขนราก (root hair) เป็นต้น
รูปที่ 18 เนื้อเยื่อบริเวณปลายราก
(ที่มา: http://www.cropsci.uiuc.edu/classes/cpsc121/images/PlantSystems/longlrootareas.jpg
http://www.lsa.umich.edu/mcdb1/faculty/schiefel/lab/research/)
2. โครงสร้างภายในของราก
เมื่อนารากมาตัดตามขวางในส่วนที่เป็นบริเวณเจริญเต็มที่(zone of cell maturation) จะพบว่า
รากประกอบด้วยเนื้อเยื่อชนิดต่างๆคือ
1. epidermis (เอพิเดอร์มิส)
เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ชั้นนอกสุด ทาหน้าที่ป้องกันอันตรายให้แก่เนื้อเยื่อภายในราก บางชนิดมีการ
เปลี่ยนแปลงไปเป็นขนราก(root hair) เพื่อทาหน้าที่ดูดน้าและแร่ธาตุ ส่วนใหญ่เอพิเดอร์มิสใน
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา
เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปีการศึกษา 2549 โครงสร้างและหน้าที่ของราก
16
รากจะเรียงตัวชั้นเดียวแต่รากพืชบางชนิดเช่น รากของกล้วยไม้เอพิเดอร์มิสจะมีหลายชั้น (multiple
epidermis) เรียกชื่อเฉพาะว่า velamen
รูปที่ 19 velamen ของรากกล้วยไม้
(ที่มา http://www.botany.hawaii.edu/faculty/webb/BOT410/410Labs/LabsHTML-
99/Epidermis/LABEpiderm99.html)
2. cortex(คอร์เทกซ์)
คอร์เทกซ์เป็นชั้นของเนื้อเยื่อที่อยู่ถัดจากเอพิเดอร์มิสเข้ามาจนถึงเนื้อเยื่อเอนโดเดอมิส
(endodermis) ดังนั้นชั้นคอร์เทกซ์ในรากจึงประกอบไปด้วยเนื้อเยื่อชนิดต่างๆหลายชนิดซึ่งได้แก่
2.1 parenchyma ส่วนใหญ่มีหน้าที่สะสมอาหาร
2.2 endodermis เป็นเนื้อเยื่อชั้นในสุดของชั้นคอร์เทกซ์ เซลล์เรียงตัวเพียงชั้นเดียว และไม่มี
ช่องว่างระหว่างเซลล์
“ชั้นคอร์เทกซ์ในรากจะกว้างกว่าในลาต้น”
3. stele(สตีล)
สตีลเป็นชั้นของเนื้อเยื่อที่อยู่ถัดจากเอนโดเดอร์มิสเข้ามาจนถึงใจกลางของราก(pith) ดังนั้นชั้น
สตีลของรากจึงประกอบไปด้วยเนื้อเยื่อต่างๆหลายชนิดด้วยกันซึ่งได้แก่
3.1 pericycle เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ถัดจากเอนโดเดอร์มิสเข้ามา เซลล์มีขนาดเล็กผนังบาง เรียงชิด
ติดกันประมาณ 1-2 แถว มีหน้าที่สาคัญคือเป็นจุดกาเนิดของรากแขนง(secondary root / lateral
root)
3.2 vascular bundle เป็นกลุ่มของเนื้อเยื่อที่เรียกรวมระหว่างส่วนของ xylem และ phloem วาสคู
ลาร์บันเดิลในรากจะเรียงตัวมีลักษณะเป็นแฉก(arch) โดยที่รากพืชใบเลี้ยงคู่จะพบ 4-6 แฉก และมี
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา
เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปีการศึกษา 2549 โครงสร้างและหน้าที่ของราก
17
ชื่อเรียกเฉพาะต่างกันตามจานวนแฉกเช่น ถ้ามี 4 แฉกก็เรียกว่า tetra arch เป็นต้น ส่วนพืชใบ
เลี้ยงเดี่ยวนั้นจะมีจานวนแฉกมากมายเรียกว่า polyarch
3.3 pith (พิธ)
พิธคือเนื้อเยื่อส่วนที่อยู่ตรงกลางของราก ถ้าเป็นรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวตรงกลางจะเป็นเนื้อเยื่อ
พาเรนไคมา(parenchyma) แต่ถ้าเป็นรากพืชใบเลี้ยงคู่ส่วนของพิธจะเป็นไซเลม(xylem)
รูปที่ 20 โครงสร้างภายในของรากพืชใบเลี้ยงคู่
(ที่มา: http://www.umanitoba.ca/faculties/science/biological_sciences/lab9/biolab9_3.html#Growth )
รูปที่ 21 โครงสร้างภายในของรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
(ที่มา: http://www.umanitoba.ca/faculties/science/biological_sciences/lab9/biolab9_3.html#Growth )
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา
เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปีการศึกษา 2549 โครงสร้างและหน้าที่ของราก
18
รูปที่ 22 การเกิดรากแขนงจาก pericycle
(ที่มา : http://www.eou.edu/~kantell/img0020.jpg )
3. ชนิดของราก
3.1 จาแนกตามแหล่งกาเนิด
1. primary root
คือรากที่เกิดจาก radicle อาจเรียกอีกอย่างว่า รากแก้ว(tap root) ลักษณะรูปร่างจะใหญ่และ
เรียวลง
2. secondary root
เป็นรากที่เจริญมาจากเนื้อเยื่อเพอริไซเคิล(pericycle)ของ primary root อาจเรียกอีกอย่างหนึ่ง
ว่า รากแขนง(lateral root)
รูปที่ 23 รากแก้วที่เจริญมาจาก radicle ของเมล็ด
(ที่มา http://www.puc.edu/Faculty/Gilbert_Muth/art0001.jpg )
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา
เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปีการศึกษา 2549 โครงสร้างและหน้าที่ของราก
19
3. adventitious root
เป็นรากที่มาจากส่วนอื่นๆที่ไม่ได้เกิดจาก radicle และ pericycle ของ primary root
ตัวอย่างเช่น รากค้าจุน(prop root)ในข้าวโพด เป็นต้น
รูปที่ 24 รากค้าจุน(prop root) ของต้นข้าวโพด
(ที่มา http://www.cropsci.uiuc.edu/classes/cpsc121/images/PlantSystems/Cornproproots.jpg)
3.2 จาแนกตามรูปร่างลักษณะการแผ่กระจายไปในดิน
1. ระบบรากแก้ว (Tap root system)
ส่วนใหญ่จะประกอบด้วยรากแก้วและรากแขนงล้อมรอบ ขนาดของรากจะใหญ่และเรียวลง พบ
ในพืชใบเลี้ยงคู่เป็นส่วนใหญ่
2. ระบบรากฝอย(Fibrous root system)
เป็นรากเส้นเล็กๆมากมาย ขนาดโตสม่าเสมอกัน แผ่ไปทุกทิศทุกทางรอบอาณาเขต พบในพืชใบ
เลี้ยงเดี่ยวเป็นส่วนใหญ่
รูปที่ 25 ระบบรากแก้วและระบบรากฝอย
(ที่มา http://scidiv.bcc.ctc.edu/rkr/Biology203/lectures/roots/roots.html )
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา
เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปีการศึกษา 2549 โครงสร้างและหน้าที่ของราก
20
3.3 จาแนกตามรูปร่างและหน้าที่
1. Prop root (รากค้าจุน)
เป็นรากที่แตกออกมาจากข้อของล้าต้น แล้วพุ่งทแยงลงไปในดินเพื่อช่วยพยุงลาต้นเอาไว้
ไม่ให้ล้มง่าย เช่น รากข้าวโพด รากโกงกาง เป็นต้น
รูปที่ 26 รากค้าจุน(prop root)
(ที่มา http://www.sinica.edu.tw/~hastwww/glossary/image/propr.jpg
http://www.botgard.ucla.edu/html/botanytextbooks/generalbotany/typesofroots/a1384tx.html)
2. climbing root (รากเกาะ)
เป็นรากที่มักแตกออกตามข้อของลาต้น ใช้เกาะตามหลักหรือเสาเพื่อพยุงลาต้นให้ติดแน่น
แล้วขึ้นที่สูง เช่น รากของต้นพลูด่าง เป็นต้น
รูปที่ 27 พลูด่าง
(ที่มา http://www.maipradab.com/maipradabin/poodang.htm )
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา
เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปีการศึกษา 2549 โครงสร้างและหน้าที่ของราก
21
3. Photosynthetic root (รากสังเคราะห์ด้วยแสง)
เป็นรากที่มีสีเขียวของคลอโรฟีลล์ ทาหน้าที่ในการสังเคราะห์ด้วยแสง เช่น รากกล้วยไม้
รูปที่ 28 รากกล้วยไม้
(ที่มา http://www.life.uiuc.edu/plantbio/digitalflowers/Orchidaceae/7.htm )
4. Respiratory root or Aerating root (รากหายใจ)
เป็นรากที่ช่วยในการหายใจเป็นพิเศษ รากชนิดนี้แทนที่จะงอกลงไปในดินกลับชูปลายขึ้นมา
เหนือพื้นดินหรือผิวน้า บางทีก็ลอยตามผิวน้า เช่น รากแสม ลาพู ผักกระเฉด เป็นต้น
5. Parasitic root / Haustorium root (รากกาฝาก)
เป็นรากของพืชบางชนิดที่ปลายรากจะแทงลงไปถึงท่อ xylem , phloem ของลาต้นพืชที่ไปอิง
อาศัย(host) เพื่อแย่งดูดน้าและอาหาร เช่น รากของต้นกาฝาก เป็นต้น
6. Storage root (รากสะสมอาหาร)
เป็นรากที่ทาหน้าที่สะสมอาหารไว้
รูปที่ 29 แครอท
(ที่มา http://www.thai.net/kaset_online/image/VEGET17.JPG)
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา
เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปีการศึกษา 2549 โครงสร้างและหน้าที่ของราก
22
รูปที่ 30 หัวไชเท้า
(ที่มา http://www.dmsc.moph.go.th/webroot/plant/herb_sub11.htm)
เอกสารอ้างอิง
เกษม ศรีพงษ์. คู่มือเตรียมสอบ ชีววิทยา ม.5 เล่ม 3 ว 049. สานักพิมพ์ภูมิบัณฑิต.
กรุงเทพมหานคร.
เชาวน์ ชิโนรักษ์และพรรณี ชิโนรักษ์. 2541. ชีววิทยา 3. สานักพิมพ์ศิลปาบรรณาคาร.
กรุงเทพมหานคร.
ปรีชา สุวรรณพินิจและนงลักษณ์ สุวรรณพินิจ. คู่มือเตรียมสอบ ชีววิทยา 3 ว 049 . บริษัทไฮ
เอ็ดพลับลิชชิ่ง จากัด. กรุงเทพมหานคร.
ประสงค์หลาสะอาด และจิตเกษม หลาสะอาด. ชีววิทยา ม. 5 ว 049. สานักพิมพ์พ.ศ.
พัฒนา จากัด. กรุงเทพมหานคร.
พัชรี พิพัฒวรรณกุล. 2542. หนังสือเสริมประสบการณ์ ชีววิทยา 3 ชั้น ม. 5 (ว 049).
สานักพิมพ์ฟิสิกส์เซ็นเตอร์. กรุงเทพมหานคร.
ภูวดล บุตรรัตน์. 2543. โครงสร้างภายในของพืช. พิมพ์ครั้งที่ 6. สานักพิมพ์ไทยวัฒนา
พานิช จากัด. กรุงเทพมหานคร.
เทียมใจ คมกฤส. 2542. กายวิภาคของพฤกษ์. พิมพ์ครั้งที่ 4. สานักพิมพ์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพมหานคร.

More Related Content

What's hot

บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกบทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกWichai Likitponrak
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPinutchaya Nakchumroon
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชLi Yu Ling
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากThanyamon Chat.
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)Thitaree Samphao
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากThanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นnokbiology
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นมัทนา อานามนารถ
 
รากศัพท์Bio
รากศัพท์Bioรากศัพท์Bio
รากศัพท์BioKittepot
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5Wichai Likitponrak
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สThanyamon Chat.
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตIssara Mo
 

What's hot (20)

บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกบทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
ดอกตอนที่2
ดอกตอนที่2ดอกตอนที่2
ดอกตอนที่2
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
ลำต้น54
ลำต้น54ลำต้น54
ลำต้น54
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
ราก (T)
ราก (T)ราก (T)
ราก (T)
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
ส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอกส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอก
 
รากศัพท์Bio
รากศัพท์Bioรากศัพท์Bio
รากศัพท์Bio
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 

Viewers also liked

แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2
แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2
แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2sukanya petin
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองsukanya petin
 
แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1
แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1
แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1sukanya petin
 
1แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 1
1แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 11แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 1
1แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 1sukanya petin
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนsukanya petin
 
ฟีโรโมน
ฟีโรโมนฟีโรโมน
ฟีโรโมนsukanya petin
 
Stem structure and function
Stem structure and functionStem structure and function
Stem structure and functionsukanya petin
 
Photosynthetic reaction
Photosynthetic reactionPhotosynthetic reaction
Photosynthetic reactionsukanya petin
 
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546Trd Wichai
 

Viewers also liked (11)

แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2
แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2
แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1
แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1
แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1
 
็Hormone
็Hormone็Hormone
็Hormone
 
1แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 1
1แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 11แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 1
1แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 1
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
 
ฟีโรโมน
ฟีโรโมนฟีโรโมน
ฟีโรโมน
 
Stem structure and function
Stem structure and functionStem structure and function
Stem structure and function
 
Photosynthetic reaction
Photosynthetic reactionPhotosynthetic reaction
Photosynthetic reaction
 
Pigment
PigmentPigment
Pigment
 
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546
 

Similar to Root structure and function

เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งWichai Likitponrak
 
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1มัทนา อานามนารถ
 
9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืชWichai Likitponrak
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชเข็มชาติ วรนุช
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยาDarika Kanhala
 
สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.
สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.
สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.Kururu Heart
 
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอกบทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอกWichai Likitponrak
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อOui Nuchanart
 
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากBiobiome
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1Wichai Likitponrak
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกฟลุ๊ค ลำพูน
 

Similar to Root structure and function (20)

เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
Biocontest2014 kitty
Biocontest2014 kittyBiocontest2014 kitty
Biocontest2014 kitty
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
 
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
 
9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยา
 
001 3
001 3001 3
001 3
 
สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.
สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.
สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.
 
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอกบทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
 
Plant structure part 1
Plant structure part 1Plant structure part 1
Plant structure part 1
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อ
 
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
 
ราก544
ราก544ราก544
ราก544
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
 
Basic cell
Basic cellBasic cell
Basic cell
 
Plant 2 62_kruwichai
Plant 2 62_kruwichaiPlant 2 62_kruwichai
Plant 2 62_kruwichai
 

Root structure and function

  • 1. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปีการศึกษา 2549 โครงสร้างและหน้าที่ของราก 15 โครงสร้างและหน้าที่ของราก 1. เนื้อเยื่อบริเวณปลายราก เนื้อเยื่อบริเวณปลายรากแบ่งออกเป็น 3 บริเวณ(zone/region) คือ 1. zone of cell division (บริเวณเซลล์แบ่งตัว) บริเวณนี้มีเนื้อเยื่อเจริญ(meristermatic tissue) ที่มีการ แบ่งเซลล์แบบไมโทซีสตลอดเวลา ส่วนปลายของบริเวณนี้บางส่วนจะเปลี่ยนเป็นหมวกราก(root cap)ซึ่งทาหน้าที่ป้องกันอันตรายให้แก่ปลายราก 2. zone of cell elongation (บริเวณเวณเซลล์ยืดตัว) บริเวณนี้เป็นกลุ่มเซลล์ที่ได้จาก zone of cell division มีการยืดยาวของเซลล์ขึ้น 3. zone of cell maturation (บริเวณเซลล์เจริญเต็มที่) เป็นบริเวณที่เซลล์มีการเจริญเติบโตเต็มที่ มี การเปลี่ยนแปลงรูปร่างไปเช่น เปลี่ยนแปลงไปเป็นขนราก (root hair) เป็นต้น รูปที่ 18 เนื้อเยื่อบริเวณปลายราก (ที่มา: http://www.cropsci.uiuc.edu/classes/cpsc121/images/PlantSystems/longlrootareas.jpg http://www.lsa.umich.edu/mcdb1/faculty/schiefel/lab/research/) 2. โครงสร้างภายในของราก เมื่อนารากมาตัดตามขวางในส่วนที่เป็นบริเวณเจริญเต็มที่(zone of cell maturation) จะพบว่า รากประกอบด้วยเนื้อเยื่อชนิดต่างๆคือ 1. epidermis (เอพิเดอร์มิส) เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ชั้นนอกสุด ทาหน้าที่ป้องกันอันตรายให้แก่เนื้อเยื่อภายในราก บางชนิดมีการ เปลี่ยนแปลงไปเป็นขนราก(root hair) เพื่อทาหน้าที่ดูดน้าและแร่ธาตุ ส่วนใหญ่เอพิเดอร์มิสใน
  • 2. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปีการศึกษา 2549 โครงสร้างและหน้าที่ของราก 16 รากจะเรียงตัวชั้นเดียวแต่รากพืชบางชนิดเช่น รากของกล้วยไม้เอพิเดอร์มิสจะมีหลายชั้น (multiple epidermis) เรียกชื่อเฉพาะว่า velamen รูปที่ 19 velamen ของรากกล้วยไม้ (ที่มา http://www.botany.hawaii.edu/faculty/webb/BOT410/410Labs/LabsHTML- 99/Epidermis/LABEpiderm99.html) 2. cortex(คอร์เทกซ์) คอร์เทกซ์เป็นชั้นของเนื้อเยื่อที่อยู่ถัดจากเอพิเดอร์มิสเข้ามาจนถึงเนื้อเยื่อเอนโดเดอมิส (endodermis) ดังนั้นชั้นคอร์เทกซ์ในรากจึงประกอบไปด้วยเนื้อเยื่อชนิดต่างๆหลายชนิดซึ่งได้แก่ 2.1 parenchyma ส่วนใหญ่มีหน้าที่สะสมอาหาร 2.2 endodermis เป็นเนื้อเยื่อชั้นในสุดของชั้นคอร์เทกซ์ เซลล์เรียงตัวเพียงชั้นเดียว และไม่มี ช่องว่างระหว่างเซลล์ “ชั้นคอร์เทกซ์ในรากจะกว้างกว่าในลาต้น” 3. stele(สตีล) สตีลเป็นชั้นของเนื้อเยื่อที่อยู่ถัดจากเอนโดเดอร์มิสเข้ามาจนถึงใจกลางของราก(pith) ดังนั้นชั้น สตีลของรากจึงประกอบไปด้วยเนื้อเยื่อต่างๆหลายชนิดด้วยกันซึ่งได้แก่ 3.1 pericycle เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ถัดจากเอนโดเดอร์มิสเข้ามา เซลล์มีขนาดเล็กผนังบาง เรียงชิด ติดกันประมาณ 1-2 แถว มีหน้าที่สาคัญคือเป็นจุดกาเนิดของรากแขนง(secondary root / lateral root) 3.2 vascular bundle เป็นกลุ่มของเนื้อเยื่อที่เรียกรวมระหว่างส่วนของ xylem และ phloem วาสคู ลาร์บันเดิลในรากจะเรียงตัวมีลักษณะเป็นแฉก(arch) โดยที่รากพืชใบเลี้ยงคู่จะพบ 4-6 แฉก และมี
  • 3. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปีการศึกษา 2549 โครงสร้างและหน้าที่ของราก 17 ชื่อเรียกเฉพาะต่างกันตามจานวนแฉกเช่น ถ้ามี 4 แฉกก็เรียกว่า tetra arch เป็นต้น ส่วนพืชใบ เลี้ยงเดี่ยวนั้นจะมีจานวนแฉกมากมายเรียกว่า polyarch 3.3 pith (พิธ) พิธคือเนื้อเยื่อส่วนที่อยู่ตรงกลางของราก ถ้าเป็นรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวตรงกลางจะเป็นเนื้อเยื่อ พาเรนไคมา(parenchyma) แต่ถ้าเป็นรากพืชใบเลี้ยงคู่ส่วนของพิธจะเป็นไซเลม(xylem) รูปที่ 20 โครงสร้างภายในของรากพืชใบเลี้ยงคู่ (ที่มา: http://www.umanitoba.ca/faculties/science/biological_sciences/lab9/biolab9_3.html#Growth ) รูปที่ 21 โครงสร้างภายในของรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว (ที่มา: http://www.umanitoba.ca/faculties/science/biological_sciences/lab9/biolab9_3.html#Growth )
  • 4. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปีการศึกษา 2549 โครงสร้างและหน้าที่ของราก 18 รูปที่ 22 การเกิดรากแขนงจาก pericycle (ที่มา : http://www.eou.edu/~kantell/img0020.jpg ) 3. ชนิดของราก 3.1 จาแนกตามแหล่งกาเนิด 1. primary root คือรากที่เกิดจาก radicle อาจเรียกอีกอย่างว่า รากแก้ว(tap root) ลักษณะรูปร่างจะใหญ่และ เรียวลง 2. secondary root เป็นรากที่เจริญมาจากเนื้อเยื่อเพอริไซเคิล(pericycle)ของ primary root อาจเรียกอีกอย่างหนึ่ง ว่า รากแขนง(lateral root) รูปที่ 23 รากแก้วที่เจริญมาจาก radicle ของเมล็ด (ที่มา http://www.puc.edu/Faculty/Gilbert_Muth/art0001.jpg )
  • 5. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปีการศึกษา 2549 โครงสร้างและหน้าที่ของราก 19 3. adventitious root เป็นรากที่มาจากส่วนอื่นๆที่ไม่ได้เกิดจาก radicle และ pericycle ของ primary root ตัวอย่างเช่น รากค้าจุน(prop root)ในข้าวโพด เป็นต้น รูปที่ 24 รากค้าจุน(prop root) ของต้นข้าวโพด (ที่มา http://www.cropsci.uiuc.edu/classes/cpsc121/images/PlantSystems/Cornproproots.jpg) 3.2 จาแนกตามรูปร่างลักษณะการแผ่กระจายไปในดิน 1. ระบบรากแก้ว (Tap root system) ส่วนใหญ่จะประกอบด้วยรากแก้วและรากแขนงล้อมรอบ ขนาดของรากจะใหญ่และเรียวลง พบ ในพืชใบเลี้ยงคู่เป็นส่วนใหญ่ 2. ระบบรากฝอย(Fibrous root system) เป็นรากเส้นเล็กๆมากมาย ขนาดโตสม่าเสมอกัน แผ่ไปทุกทิศทุกทางรอบอาณาเขต พบในพืชใบ เลี้ยงเดี่ยวเป็นส่วนใหญ่ รูปที่ 25 ระบบรากแก้วและระบบรากฝอย (ที่มา http://scidiv.bcc.ctc.edu/rkr/Biology203/lectures/roots/roots.html )
  • 6. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปีการศึกษา 2549 โครงสร้างและหน้าที่ของราก 20 3.3 จาแนกตามรูปร่างและหน้าที่ 1. Prop root (รากค้าจุน) เป็นรากที่แตกออกมาจากข้อของล้าต้น แล้วพุ่งทแยงลงไปในดินเพื่อช่วยพยุงลาต้นเอาไว้ ไม่ให้ล้มง่าย เช่น รากข้าวโพด รากโกงกาง เป็นต้น รูปที่ 26 รากค้าจุน(prop root) (ที่มา http://www.sinica.edu.tw/~hastwww/glossary/image/propr.jpg http://www.botgard.ucla.edu/html/botanytextbooks/generalbotany/typesofroots/a1384tx.html) 2. climbing root (รากเกาะ) เป็นรากที่มักแตกออกตามข้อของลาต้น ใช้เกาะตามหลักหรือเสาเพื่อพยุงลาต้นให้ติดแน่น แล้วขึ้นที่สูง เช่น รากของต้นพลูด่าง เป็นต้น รูปที่ 27 พลูด่าง (ที่มา http://www.maipradab.com/maipradabin/poodang.htm )
  • 7. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปีการศึกษา 2549 โครงสร้างและหน้าที่ของราก 21 3. Photosynthetic root (รากสังเคราะห์ด้วยแสง) เป็นรากที่มีสีเขียวของคลอโรฟีลล์ ทาหน้าที่ในการสังเคราะห์ด้วยแสง เช่น รากกล้วยไม้ รูปที่ 28 รากกล้วยไม้ (ที่มา http://www.life.uiuc.edu/plantbio/digitalflowers/Orchidaceae/7.htm ) 4. Respiratory root or Aerating root (รากหายใจ) เป็นรากที่ช่วยในการหายใจเป็นพิเศษ รากชนิดนี้แทนที่จะงอกลงไปในดินกลับชูปลายขึ้นมา เหนือพื้นดินหรือผิวน้า บางทีก็ลอยตามผิวน้า เช่น รากแสม ลาพู ผักกระเฉด เป็นต้น 5. Parasitic root / Haustorium root (รากกาฝาก) เป็นรากของพืชบางชนิดที่ปลายรากจะแทงลงไปถึงท่อ xylem , phloem ของลาต้นพืชที่ไปอิง อาศัย(host) เพื่อแย่งดูดน้าและอาหาร เช่น รากของต้นกาฝาก เป็นต้น 6. Storage root (รากสะสมอาหาร) เป็นรากที่ทาหน้าที่สะสมอาหารไว้ รูปที่ 29 แครอท (ที่มา http://www.thai.net/kaset_online/image/VEGET17.JPG)
  • 8. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปีการศึกษา 2549 โครงสร้างและหน้าที่ของราก 22 รูปที่ 30 หัวไชเท้า (ที่มา http://www.dmsc.moph.go.th/webroot/plant/herb_sub11.htm) เอกสารอ้างอิง เกษม ศรีพงษ์. คู่มือเตรียมสอบ ชีววิทยา ม.5 เล่ม 3 ว 049. สานักพิมพ์ภูมิบัณฑิต. กรุงเทพมหานคร. เชาวน์ ชิโนรักษ์และพรรณี ชิโนรักษ์. 2541. ชีววิทยา 3. สานักพิมพ์ศิลปาบรรณาคาร. กรุงเทพมหานคร. ปรีชา สุวรรณพินิจและนงลักษณ์ สุวรรณพินิจ. คู่มือเตรียมสอบ ชีววิทยา 3 ว 049 . บริษัทไฮ เอ็ดพลับลิชชิ่ง จากัด. กรุงเทพมหานคร. ประสงค์หลาสะอาด และจิตเกษม หลาสะอาด. ชีววิทยา ม. 5 ว 049. สานักพิมพ์พ.ศ. พัฒนา จากัด. กรุงเทพมหานคร. พัชรี พิพัฒวรรณกุล. 2542. หนังสือเสริมประสบการณ์ ชีววิทยา 3 ชั้น ม. 5 (ว 049). สานักพิมพ์ฟิสิกส์เซ็นเตอร์. กรุงเทพมหานคร. ภูวดล บุตรรัตน์. 2543. โครงสร้างภายในของพืช. พิมพ์ครั้งที่ 6. สานักพิมพ์ไทยวัฒนา พานิช จากัด. กรุงเทพมหานคร. เทียมใจ คมกฤส. 2542. กายวิภาคของพฤกษ์. พิมพ์ครั้งที่ 4. สานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพมหานคร.