SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
วันมาฆบูชา
วันวิสาขบูชา
วันธรรมสวนะ
แผนผังความคิด ประจาหน่วยการเรียนรู้ที่ 1
พุทธประวัติ
พิธีกรรมทางศาสนาพุทธ
การบารุงรักษาวัด วันสาคัญทางศาสนา
พุทธศาสนา
ประสูติ
ตรัสรู้
ปรินิพพาน
การทาบุญ
การบูชาคุณพระพุทธเจ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
กลุ่มสาระ สังคมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พุทธศาสนา เวลา 22 ชั่วโมง
เรื่อง ความสาคัญของศาสนา เวลา 1 ชั่วโมง
***********************************************************************
มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดี
งามและธารงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทยดารงชีวิตอยู่ร่วมกัน
ในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ส 2.1 ป.6 / 1 วิเคราะห์ความสาคัญของพระพุทธ- ศาสนาในฐานะเป็นศาสนา
ประจาชาติ หรือความสาคัญของศาสนาที่ตนนับถือ
สาระสาคัญ
ศาสนาทุกศาสนามุ่งสอนให้คนทาความดี เพื่อให้มีชีวิตอยู่อย่างเป็นสุข การปฏิบัติตาม
หลักธรรมคาสอนของศาสนาย่อมให้ผลดีแก่ผู้ปฏิบัติ
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความหมายของศาสนาได้
2. จาแนกองค์ประกอบของศาสนาที่ตนนับถือได้
3. ปฏิบัติคาสอนของศาสนาที่ตนนับถือได้
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. รับผิดชอบต่อหน้าที่
2. มีความละอายต่อบาป
3. มุ่งมั่นทาความดี
4. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้
5. มีความขยันประหยัดและอดทน
สาระการเรียนรู้
1. ความหมายของศาสนา
2. องค์ประกอบของศาสนา
1) ศาสดา 2) คัมภีร์ 3) สาวก
4) ศาสนสถาน 5) พิธีกรรม
3. ประโยชน์ของศาสนา
กระบวนการเรียนรู้
1. ครูนารูปภาพ เกี่ยวกับศาสนามาให้นักเรียนดูและร่วมอภิปรายทั้งความสาคัญและ
ประโยชน์ของศาสนา
2. ครูอธิบายว่าประเทศไทยเป็นประเทศที่ให้สิทธิเสรีภาพในการนับถือศาสนา ดังนั้น
ประชาชนในประเทศจะนับถือศาสนาใดก็ได้ที่ตนศรัทธาเลื่อมใส และสามารถเปลี่ยน
การนับถือศาสนาที่เคยนับถืออยู่ไปนับถือศาสนาใดก็ได้โดยที่การปฏิบัติตามลัทธิความ
เชื่อของศาสนานั้น ๆ ต้องไม่ทาลายความมั่นคงของประเทศ และไม่ลิดรอนสิทธิเสรีภาพ
ของผู้อื่น
3. ให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างศาสนาที่นักเรียนนับถือ หรือที่นักเรียนรู้จักว่ามีศาสนา
อะไรบ้างและสารวจว่าในห้องเรียนมีใครนัถือศาสนาอะไรบ้าง และส่วนใหญ่นักเรียน
นับถือศาสนาอะไรซึ่งขึ้นอยู่กับชุมชนที่โรงเรียนตั้งอยู่ แล้วบันทึกในใบงานที่ 1
4. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มค้นหาความหมายของศาสนาจากพจนานุกรมฯ หรือ
จากแหล่งความรู้อื่น ๆ จากนั้น ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมารายงานที่หน้าชั้น ครู
อธิบายเพิ่มเติมและช่วยกันสรุปความหมายของศาสนา
5. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปความรู้เรื่อง ความหมายของศาสนา ดังนี้
1) ศาสนา หมายถึง ลักธิความเชื่อ อันประกอบด้วยศาสดาผู้ประกาศศาสนา
หลักธรรมคาสอนและแนวทางปฏิบัติต่าง ๆ ตามคติของแต่ละศาสนา
2) ศาสนาส่วนใหญ่จะสอนให้คนทาดี ละเว้นความชั่ว และมีหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติต่อ
สังคม เพื่อความเจริญในชีวิตและการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
6. ครูและนักเรียนร่วมอภิปราย เกี่ยวกับองค์ประกอบของศาสนา โดยใช้แผนภูมิ
ภาพประกอบ จากนั้น ครูยกตัวอย่างศาสนาที่นักเรียนนับถือมากที่สุด แล้วให้นักเรียน
ช่วยกันแยกองค์ประกอบของศาสนาว่ามีอะไรบ้าง เช่น องค์ประกอบของ
พระพุทธศาสนา ได้แก่
1) ศาสดา คือ พระพุทธเจ้า
2) คัมภีร์ คือ พระไตรปิฏก เป็นหลักธรรมคาสอน
3) สาวก คือ พระภิกษุสงฆ์ และพุทธศาสนิกชน
4) ศาสนสถาน คือ วัด และสานักปฏิบัติธรรมต่าง ๆ
5) พิธีกรรม คือ พิธีธรรมทางพระพุทธศาสนาต่าง ๆ เช่น การอุปสมบท การทาบุญ
เป็นต้น
7. ครูนาแผนภูมิตารางจาแนกองค์ประกอบของศาสนาต่าง ๆ ได้แก่ พระพุทธศาสนา
ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และศาสนาสิกข์ ที่เว้นว่างอยู่ ให้
นักเรียนช่วยกันเขียนองค์ประกอบของศาสนา คือ ศาสดา คัมภีร์ สาวก ศาสนสถาน
และพิธีกรรม โดยครูถามนา แล้วให้นักเรียนช่วยกันบอก และครูเขียนเติมลงในตาราง
8. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปความรู้เรื่อง องค์ประกอบของศาสนา ดังนี้
1) องค์ประกอบของศาสนา ได้แก่ ศาสดา คัมภีร์ สาวก ศาสนสถาน และพิธีกรรม
(1) ศาสดา หมายถึง ผู้ก่อตั้งและประกาศศาสนา
(2) คัมภีร์ หมายถึง หลักธรรมคาสอนของศาสนา เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้นับถือได้
ปฏิบัติตาม
(3) สาวก หมายถึง ผู้สืบต่อศาสนา โดยเป็นผู้เผยแผ่หรือปฏิบัติตาม
(4) ศาสนสถาน หมายถึง สถานที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา
(5) พิธีกรรมหมายถึง การปฏิบัติพิธีกรรมต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความสุขความเจริญ
เป็นศิริมงคลต่อผู้ปฏิบัติ
9. ให้นักเรียนบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับศาสนาที่นักเรียนนับถือ ลงในใบงานที่ 2 เรื่อง
องค์ประกอบของศาสนา แล้วนาเสนอผลงานที่หน้าชั้น
กระบวนการวัดผลประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
2. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
3. การนาเสนอผลงาน
4. การตรวจผลงาน
เครื่องมือ
1. แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
2. แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล
3. แบบประเมินการนาเสนอผลงาน
4. แบบประเมินการตรวจผลงาน
เกณฑ์การประเมิน
1. สังเกตการทางานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
2. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
3. การนาเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
4. การตรวจผลงาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. ใบงาน
2. ใบความรู้
3. ห้องสมุด
กิจกรรมเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………….……
…………………………………………………………………………………………….…………
……………………………………………………………………………………….………………
…………………………………………………………………………
………….……………………………………………………………………………………………
…….………………………………………….………………………………………
บันทึกข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………….………………
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………
………….……………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………….………………
ลงชื่อ……………………………………..
( นายจาเริญ นานาวัน )
ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านธาตุพนม(พิทักษ์วิทยา)
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………….………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………..………………………………
ปัญหา / อุปสรรค
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………….……………………
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
ลงชื่อ……………………………………..
( นางเอื้องไพร เชื้อดวงผุย )
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะชานาญการพิเศษ
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
ใบงานที่ 1
เรื่อง ศาสนาที่นับถือ
ชื่อ………………………………………..ชั้น……………………………………
วันที่………………………………………..กลุ่ม………………………………..
คาชี้แจง ให้นักเรียนสารวจเพื่อนในห้องว่านับถือศาสนาอะไรบ้าง ลงในแบบบันทึก
ชื่อ ศาสนาที่นับถือ
1…………………………………………..
2…………………………………………..
3…………………………………………..
4…………………………………………..
5…………………………………………..
6…………………………………………..
7…………………………………………..
8…………………………………………..
9…………………………………………..
10…………………………………………..
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
ใบงานที่ 2
เรื่อง ความหมายของศาสนา
ชื่อ……………………………………….......ชั้น……………………………………
วันที่………………………………………..กลุ่ม……………………………….........
คาชี้แจง ให้นักเรียนค้นคว้าหาความหมายของคาว่า ศาสนา จากพจนานุกรมฯ จาก
หนังสือต่าง ๆ หรือจากผู้รู้ และนามาอภิปรายร่วมกัน จากนั้น บันทึกลงในใบงาน
หรือส่งตัวแทนออกมารายงานที่หน้าชั้น
กลุ่มที่…………..
รายชื่อสมาชิก 1……………………….. 4……………………………
2………………………. 5……………………………
3………………………. 6…………………………….
ความหมายของศาสนา จากพจนานุกรมฯ
………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………..
ความหมายของศาสนา จากแหล่งความรู้อื่น ๆ
………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………..
ความหมายของศาสนา ตามความคิดของนักเรียน
………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………..
ใบงานที่ 3
เรื่อง องค์ประกอบของศาสนา
ชื่อ………………………………………..ชั้น……………………………………
วันที่………………………………………..กลุ่ม………………………………..
คาชี้แจง ให้นักเรียนบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับศาสนาที่นักเรียนนับถือ
ฉันนับถือศาสนา………………………………..
องค์ประกอบของศาสนาที่ฉันนับถือ มีดังนี้
ศาสดา
คัมภีร์
สาวก
ศาสนสถาน
พิธีกรรม
ใบความรู้
เรื่อง ศาสนากับชีวิต
ความคิดรวบยอด
ศาสนาทุกศาสนามุ่งสอนให้คนทาความดี
เพื่อให้มีชีวิตอยู่อย่างเป็นสุข การปฏิบัติตาม
หลักธรรมคาสอนของศาสนาย่อมให้ผลดีแก่
ผู้ปฏิบัติ
สาระการเรียนรู้
ความหมาย ความสาคัญ องค์ประกอบ
และประโยชน์ของศาสนา
ผลการเรียนรู้ รู้และเข้าใจความหมาย ความสาคัญ และประโยชน์
ใบความรู้
เรื่อง ศาสนา
ศาสนา คือ คาสั่งสอนของศาสดาผู้ประกาศศาสนา ประกอบด้วยหลักธรรมคาสอน แนว
ความเชื่อ และแนวการปฏิบัติต่าง ๆ ตามคติของแต่ละศาสนา เพื่อให้ผู้ปฏิบัติตามเกิดความเจริญใน
ชีวิต และให้อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
พระพุทธศาสนา ศาสนาคริสต์ ศาสนาอสลาม ศาสนา
พราหมณ์-ฮินดู
ศาสนาสิกข์
ศาสดา พระพุทธเจ้า พระเยซู ท่านนบีมุฮัมมัด - ท่านคุระนานัก
คัมภีร์ พระไตรปิฏก ไบเบิล อัลกุรอาน พระเวท ครันถสาหิพ
สาวก พระภิกษุสงฆ์ บาทหลวง อิหม่าม พราหมณ์ -
ศาสนสถาน วัด โบสถ์ มัสยิดหรือ
สุเหร่า
โบสถ์พรหมณ์ โบสถ์สิกข์
พิธีกรรม การเวียนเทียน
การอุปสมบท
การทาบุญฯลฯ
พิธีรับศีล พิธี
ล้างบาป ฯลฯ
การละหมาด
การถือศีลอด
ฯลฯ
พิธีชาระบาป
พิธีบูชาเทวดา
ฯลฯ
พิธีปาหุล
พิธีสังคัต
ฯลฯ
องค์ประกอบ
ของศาสนา
1. ศาสดา คือ ผู้ก่อตั้งและประกาศศาสนา
2. คัมภีร์ คือ หลักธรรมคาสอนของศาสนา
เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้นับถือได้ปฏิบัติตาม
5. พิธีกรรม คือ การปฏิบัติพิธีกรรมต่าง ๆ
เพื่อให้เกิดความสุขความเจริญเป็น สิริ
มงคลต่อผู้ปฏิบัติ
6.
3. สาวก คือ ผู้สืบต่อศาสนา โดยเป็นผู้เผย
แผ่หรือผู้ปฏิบัติตาม
4.
4. ศาสนสถาน คือ สถานที่ประกอบ
พิธีกรรมทางศาสนา
พระพุทธศาสนาเป็นศูนย์รวมจิตใจของพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนากาเนิดในประเทศอินเดียและได้เผยแผ่เข้ามาในดินแดนสุวรรณภูมิซึ่ง
รวมทั้งที่เป็นดินแดนของไทยในปัจจุบัน และดินแดนของประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งอยู่ในราวประมาณ
พุทธศตวรรษที่ 3
พระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ทรงนับถือพระพุทธศาสนา ทรงเป็นพระพุทธ มามกะ
และได้ให้ความอุปถัมภ์ค้าชูพระพุทธศาสนามาโดยตลอด
คนไทยส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนาจึงได้นาหลักธรรมคาสอนของพระพุทธเจ้ามาเป็น
หลักสาคัญในการดารงชีวิต ทาให้อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
ชีวิตของคนไทยผูกพันอยู่กับพระพุทธศาสนาจะเห็นได้ว่าทุกหมู่บ้านจะมีพระสงฆ์เป็นศูนย์
รวมทางจิตใจคอางบแนะแนวทางเพื่อแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น และมีวัดเป็นศูนย์กลางในการจัด
งานต่าง ๆ ทั้งทางด้านสังคม ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีและอื่น ๆ ดังนั้น พระพุทธศาสนาจึงเป็น
ศูนย์รวมจิตใจของชาวพุทธทุกคน
พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจาชาติไทย และเป็นศูนย์รวมทางจิตใจของชาวพุทธจึงมี
อิทธิพลและความสาคัญต่อวิถีชีวิตของคนไทยหลายประการ คือ
ด้านอุปนิสัย หลักธรรมคาสอนใน
พระพุทธศาสนาทาให้คนไทยมีอุปนิสัย
เช่น ความกตัญญูกตเวทีเคารพเชื่อฟังผู้ใหญ่
อ่อนน้อมถ่อมตน ให้อภัยซึ่งกันและกัน
มีความเมตตากรุณา เป็นต้น ซึ่งสิ่งเหล่านี้
ล้วนได้รับจากการอบรมสั่งสอนตามหลักธรรม
ในพระพุทธศาสนาทั้งสิ้น
ด้านสังคม วัดเป็นศูนย์รวมของการดาเนินชีวิตของ
สังคมไทย ไม่ว่าจะเป็นงานเทศกาลต่าง ๆ มักจะจัดที่วัด ทา
ให้ประชาชนในท้องถิ่นนั้น ๆ ได้รับความสนุกสนาน ได้พัก
ผ่อนหย่อนใจ วัดยังเป็นศูนย์รวมความสามัคคี เป็นสมบัติ
ส่วนรวมที่ประชาชนจะมาพบปะสังสรรค์และมีการแลก
เปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน เป็นต้น
ด้านการศึกษา ในสมัยโบราณชาวบ้าน
มักจะพาลูกหลานไปฝากไว้กับพระที่นั่งเพื่อให้
เรียนหนังสือ และได้รับการอบรมสั่งสอนเกี่ยวกับ
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา วัดจึงเป็นสถานที่
ศึกษาเล่าเรื่องและในปัจจุบันได้มีการจัดสร้าง
โรงเรียนขึ้นในวัด หรืออาศัยที่ดินของวัดปลูก
สร้างโรงเรียนอีกด้วย
ด้านประเพณีและวัฒนธรรม ประเพณีและ
วัฒนธรรมของไทยส่วนใหญ่มีรากฐานมาจากพระพุทธ
ศาสนา เช่น ประเพณีการทอดกฐิน งานอุปสมบท การทา
บุญเลี้ยงพระ และบางประเพณีก็นาพระพุทธศาสนาเข้าไป
ผสมผสาน เช่น งานแต่งงาน งานสงกรานต์งานศพ
เป็นต้น ตลอดจนวัฒนธรรมการ กราบไหว้ ที่คนไทยได้สืบ
ต่อกันมาจน เป็นวัฒนธรรมไทยที่เป็นเอกลักษณะของชาติ
แบบฝึกหัด
คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย X หน้าข้อที่ถูกที่สุด
1. เมื่อมีพิธีกรรมทางศาสนา ซึ่งไม่ใช่
ศาสนาของตนเองควรปฏิบัติอย่างไร
ก. ลุกออกจากสถานที่นั้นทันที
ข. แสดงออกถึงศาสนาของตน
ค. ไม่เข้าไปในสถานที่เช่นนั้นอีก
ง. แสดงความสารวมกิริยาท่าทาง
2. ข้อใดไม่ใช่ศาสนพิธี
ก. การประชุมทางศาสนา
ข. การแสดงธรรมเทศนา
ค. การฝึกนั่งสมาธิ
ง. การปลุกเสกของขลัง
3. ข้อใดคือความมุ่งหมายของศาสนพิธี
ก. โฆษณาชวนเชื่อ
ข. ชักชวนกันสร้างวัตถุ
ค. เป็นการเผยแพร่ศาสนา
ง. ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
4. ข้อใดคือมารยาทที่ไม่ควรปฏิบัติต่อ
ศาสนาอื่น
ก. ไม่ลบหลู่ศาสนาอื่น
ข. ไม่ควรเรียนรู้ศาสนาอื่น
ค. ไม่ควรลบหลู่สถานที่สาคัญทาง
ศาสนา
ง. ล้อเลียนเหยียดหยามผู้นับถือศาสนา
อื่น
5. การทาบุญของชาวพุทธเน้นในเรื่องใด
ก. พิธีกรรม ข. ความสามัคคี
ค. ความศักดิ์สิทธิ์ ง. การทาความดี
6. ศาสนพิธีใดที่นักเรียนควรปฏิบัติเป็น
ประจาทุกวัน
ก. การอาราธนาศีล
ข. การอาราธนาธรรม
ค. การทาบุญตักบาตร
ง. การสวดมนต์ไหว้พระ
7. ข้อใดไม่ใช่หลักในพุทธโอวาท
ก. การทาแต่ความดี
ข. การไม่ทาความชั่วทั้งปวง
ค. การประกอบศาสนพิธีสม่าเสมอ
ง. การทาจิตใจให้บริสุทธิ์สะอาด
8. การประกอบพิธีฮัจญ์ของศาสนาอิสลาม
จะกระทาที่ใด
ก. มัสยิด ข. นครเมกกะ
ค. ที่ใดก็ได้ ง. ภายในบ้าน
9. ศาสนาใดที่มุ่งสอนให้มนุษย์มีความรัก
เมตตากรุณาต่อกันเป็นสาคัญ
ก. คริสต์ ข. อิสลาม
ค. พุทธ ง. พราหมณ์ – ฮินดู
10. ข้อใดไม่จัดอยู่ในองค์ประกอบของ
ศาสนา
ก. ศาสดา ข. ศาสนสถาน
ค. คัมภีร์ ง. ประเพณี
แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วยที่ 1 เรื่องพุทธศาสนา ประกอบแผนที่ 1 ความสาคัญของศาสนา
เลข
ที่
ชื่อ – สกุล
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
รวมคะแนนด้านคุณลักษณะฯ
ด้านผลงาน
รวม
ผ่าน/ไม่ผ่าน
รับผิดชอบต่อหน้าที่
มีความละอายต่อบาป
มุ่งมั่นในการทาความดี
มีความสนใจใฝ่เรียนรู้
มีความขยันอดทน
การทาแบบทดสอบก่อนเรียน
การทาแบบฝึกกิจกรรมชุดที่
2 2 2 2 2 10 15 10 35
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
ความหมายระดับคุณภาพ 2 หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน 30 – 35 = 2
1 หมายถึง พอใช้ 20 – 29 = 1
0 หมายถึง ปรับปรุง 0 - 19 = 0
เกณฑ์การผ่าน ได้คะแนน 1 ขึ้นไป
ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
( นางเอื้องไพร เชื้อดวงผุย )

More Related Content

What's hot

แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ใบงานที่ 3.2 เรื่อง เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3.2 เรื่อง เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3.2 เรื่อง เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3.2 เรื่อง เค้าโครงของโครงงานThanawut Rattanadon
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยPoppy Nana
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3New Nan
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมwangasom
 
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์krupornpana55
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1Sokoy_jj
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วงอภิชิต กลีบม่วง
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาChowwalit Chookhampaeng
 
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2sarawut chaicharoen
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3O'Orh ChatmaNee
 
การสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัยการสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัยTupPee Zhouyongfang
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐานใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐานPrincess Chulabhon's College Chonburi
 

What's hot (20)

แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
 
ใบงานที่ 3.2 เรื่อง เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3.2 เรื่อง เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3.2 เรื่อง เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3.2 เรื่อง เค้าโครงของโครงงาน
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทย
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
 
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
 
ชุดการสอน
ชุดการสอนชุดการสอน
ชุดการสอน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
การสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัยการสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัย
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐานใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
 

Similar to แผนพระพุทธศาสนา

ศีลธรรม
ศีลธรรมศีลธรรม
ศีลธรรมkoorimkhong
 
โครงการตักบาตรวันพระ
โครงการตักบาตรวันพระโครงการตักบาตรวันพระ
โครงการตักบาตรวันพระKhuanruthai Pomjun
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
กรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต
กรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตกรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต
กรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตปฏิมา ช่องคูณ
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมchanhom357
 
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54somchaitumdee50
 
ข้อมูลเตรียมการประชุมสัมมนาโดยละเอียด
ข้อมูลเตรียมการประชุมสัมมนาโดยละเอียดข้อมูลเตรียมการประชุมสัมมนาโดยละเอียด
ข้อมูลเตรียมการประชุมสัมมนาโดยละเอียดTongsamut vorasan
 
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีPakornkrits
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)yana54
 
กำหนดการสอนพุทธ1
กำหนดการสอนพุทธ1กำหนดการสอนพุทธ1
กำหนดการสอนพุทธ1tassanee chaicharoen
 
ใบงานที่14
ใบงานที่14ใบงานที่14
ใบงานที่14Patpeps
 
ใบงานที่14
ใบงานที่14ใบงานที่14
ใบงานที่14Patpeps
 

Similar to แผนพระพุทธศาสนา (20)

ศีลธรรม
ศีลธรรมศีลธรรม
ศีลธรรม
 
โครงการตักบาตรวันพระ
โครงการตักบาตรวันพระโครงการตักบาตรวันพระ
โครงการตักบาตรวันพระ
 
หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
กรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต
กรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตกรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต
กรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
 
ข้อมูลเตรียมการประชุมสัมมนาโดยละเอียด
ข้อมูลเตรียมการประชุมสัมมนาโดยละเอียดข้อมูลเตรียมการประชุมสัมมนาโดยละเอียด
ข้อมูลเตรียมการประชุมสัมมนาโดยละเอียด
 
Road Map นคร Model
Road Map นคร ModelRoad Map นคร Model
Road Map นคร Model
 
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
 
ด้านที่ 1
ด้านที่ 1ด้านที่ 1
ด้านที่ 1
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
 
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรมใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
 
หน่วยที่๖
หน่วยที่๖หน่วยที่๖
หน่วยที่๖
 
1
11
1
 
Standard7
Standard7Standard7
Standard7
 
กำหนดการสอนพุทธ1
กำหนดการสอนพุทธ1กำหนดการสอนพุทธ1
กำหนดการสอนพุทธ1
 
Educational model 2019
Educational model 2019Educational model 2019
Educational model 2019
 
ใบงานที่14
ใบงานที่14ใบงานที่14
ใบงานที่14
 
ใบงานที่14
ใบงานที่14ใบงานที่14
ใบงานที่14
 

แผนพระพุทธศาสนา

  • 1.
  • 2. วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันธรรมสวนะ แผนผังความคิด ประจาหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พุทธประวัติ พิธีกรรมทางศาสนาพุทธ การบารุงรักษาวัด วันสาคัญทางศาสนา พุทธศาสนา ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน การทาบุญ การบูชาคุณพระพุทธเจ้า
  • 3. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 กลุ่มสาระ สังคมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พุทธศาสนา เวลา 22 ชั่วโมง เรื่อง ความสาคัญของศาสนา เวลา 1 ชั่วโมง *********************************************************************** มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดี งามและธารงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทยดารงชีวิตอยู่ร่วมกัน ในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด มาตรฐาน ส 2.1 ป.6 / 1 วิเคราะห์ความสาคัญของพระพุทธ- ศาสนาในฐานะเป็นศาสนา ประจาชาติ หรือความสาคัญของศาสนาที่ตนนับถือ สาระสาคัญ ศาสนาทุกศาสนามุ่งสอนให้คนทาความดี เพื่อให้มีชีวิตอยู่อย่างเป็นสุข การปฏิบัติตาม หลักธรรมคาสอนของศาสนาย่อมให้ผลดีแก่ผู้ปฏิบัติ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายของศาสนาได้ 2. จาแนกองค์ประกอบของศาสนาที่ตนนับถือได้ 3. ปฏิบัติคาสอนของศาสนาที่ตนนับถือได้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. รับผิดชอบต่อหน้าที่ 2. มีความละอายต่อบาป 3. มุ่งมั่นทาความดี 4. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ 5. มีความขยันประหยัดและอดทน
  • 4. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของศาสนา 2. องค์ประกอบของศาสนา 1) ศาสดา 2) คัมภีร์ 3) สาวก 4) ศาสนสถาน 5) พิธีกรรม 3. ประโยชน์ของศาสนา กระบวนการเรียนรู้ 1. ครูนารูปภาพ เกี่ยวกับศาสนามาให้นักเรียนดูและร่วมอภิปรายทั้งความสาคัญและ ประโยชน์ของศาสนา 2. ครูอธิบายว่าประเทศไทยเป็นประเทศที่ให้สิทธิเสรีภาพในการนับถือศาสนา ดังนั้น ประชาชนในประเทศจะนับถือศาสนาใดก็ได้ที่ตนศรัทธาเลื่อมใส และสามารถเปลี่ยน การนับถือศาสนาที่เคยนับถืออยู่ไปนับถือศาสนาใดก็ได้โดยที่การปฏิบัติตามลัทธิความ เชื่อของศาสนานั้น ๆ ต้องไม่ทาลายความมั่นคงของประเทศ และไม่ลิดรอนสิทธิเสรีภาพ ของผู้อื่น 3. ให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างศาสนาที่นักเรียนนับถือ หรือที่นักเรียนรู้จักว่ามีศาสนา อะไรบ้างและสารวจว่าในห้องเรียนมีใครนัถือศาสนาอะไรบ้าง และส่วนใหญ่นักเรียน นับถือศาสนาอะไรซึ่งขึ้นอยู่กับชุมชนที่โรงเรียนตั้งอยู่ แล้วบันทึกในใบงานที่ 1 4. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มค้นหาความหมายของศาสนาจากพจนานุกรมฯ หรือ จากแหล่งความรู้อื่น ๆ จากนั้น ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมารายงานที่หน้าชั้น ครู อธิบายเพิ่มเติมและช่วยกันสรุปความหมายของศาสนา 5. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปความรู้เรื่อง ความหมายของศาสนา ดังนี้ 1) ศาสนา หมายถึง ลักธิความเชื่อ อันประกอบด้วยศาสดาผู้ประกาศศาสนา หลักธรรมคาสอนและแนวทางปฏิบัติต่าง ๆ ตามคติของแต่ละศาสนา 2) ศาสนาส่วนใหญ่จะสอนให้คนทาดี ละเว้นความชั่ว และมีหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติต่อ สังคม เพื่อความเจริญในชีวิตและการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
  • 5. 6. ครูและนักเรียนร่วมอภิปราย เกี่ยวกับองค์ประกอบของศาสนา โดยใช้แผนภูมิ ภาพประกอบ จากนั้น ครูยกตัวอย่างศาสนาที่นักเรียนนับถือมากที่สุด แล้วให้นักเรียน ช่วยกันแยกองค์ประกอบของศาสนาว่ามีอะไรบ้าง เช่น องค์ประกอบของ พระพุทธศาสนา ได้แก่ 1) ศาสดา คือ พระพุทธเจ้า 2) คัมภีร์ คือ พระไตรปิฏก เป็นหลักธรรมคาสอน 3) สาวก คือ พระภิกษุสงฆ์ และพุทธศาสนิกชน 4) ศาสนสถาน คือ วัด และสานักปฏิบัติธรรมต่าง ๆ 5) พิธีกรรม คือ พิธีธรรมทางพระพุทธศาสนาต่าง ๆ เช่น การอุปสมบท การทาบุญ เป็นต้น 7. ครูนาแผนภูมิตารางจาแนกองค์ประกอบของศาสนาต่าง ๆ ได้แก่ พระพุทธศาสนา ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และศาสนาสิกข์ ที่เว้นว่างอยู่ ให้ นักเรียนช่วยกันเขียนองค์ประกอบของศาสนา คือ ศาสดา คัมภีร์ สาวก ศาสนสถาน และพิธีกรรม โดยครูถามนา แล้วให้นักเรียนช่วยกันบอก และครูเขียนเติมลงในตาราง 8. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปความรู้เรื่อง องค์ประกอบของศาสนา ดังนี้ 1) องค์ประกอบของศาสนา ได้แก่ ศาสดา คัมภีร์ สาวก ศาสนสถาน และพิธีกรรม (1) ศาสดา หมายถึง ผู้ก่อตั้งและประกาศศาสนา (2) คัมภีร์ หมายถึง หลักธรรมคาสอนของศาสนา เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้นับถือได้ ปฏิบัติตาม (3) สาวก หมายถึง ผู้สืบต่อศาสนา โดยเป็นผู้เผยแผ่หรือปฏิบัติตาม (4) ศาสนสถาน หมายถึง สถานที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา (5) พิธีกรรมหมายถึง การปฏิบัติพิธีกรรมต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความสุขความเจริญ เป็นศิริมงคลต่อผู้ปฏิบัติ 9. ให้นักเรียนบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับศาสนาที่นักเรียนนับถือ ลงในใบงานที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของศาสนา แล้วนาเสนอผลงานที่หน้าชั้น
  • 6. กระบวนการวัดผลประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม 2. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 3. การนาเสนอผลงาน 4. การตรวจผลงาน เครื่องมือ 1. แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม 2. แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล 3. แบบประเมินการนาเสนอผลงาน 4. แบบประเมินการตรวจผลงาน เกณฑ์การประเมิน 1. สังเกตการทางานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 2. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 3. การนาเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 4. การตรวจผลงาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. ใบงาน 2. ใบความรู้ 3. ห้องสมุด กิจกรรมเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………….…… …………………………………………………………………………………………….………… ……………………………………………………………………………………….……………… ………………………………………………………………………… ………….…………………………………………………………………………………………… …….………………………………………….………………………………………
  • 7. บันทึกข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………….……………… ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………… ………….…………………………………………………………………………………………… …….………………………………………………………………….……………… ลงชื่อ…………………………………….. ( นายจาเริญ นานาวัน ) ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านธาตุพนม(พิทักษ์วิทยา) วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
  • 8. บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………….……………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………..……………………………… ปัญหา / อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………….…………………… ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………….…………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………….. ( นางเอื้องไพร เชื้อดวงผุย ) ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะชานาญการพิเศษ วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
  • 9. ใบงานที่ 1 เรื่อง ศาสนาที่นับถือ ชื่อ………………………………………..ชั้น…………………………………… วันที่………………………………………..กลุ่ม……………………………….. คาชี้แจง ให้นักเรียนสารวจเพื่อนในห้องว่านับถือศาสนาอะไรบ้าง ลงในแบบบันทึก ชื่อ ศาสนาที่นับถือ 1………………………………………….. 2………………………………………….. 3………………………………………….. 4………………………………………….. 5………………………………………….. 6………………………………………….. 7………………………………………….. 8………………………………………….. 9………………………………………….. 10………………………………………….. …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… ……………………………………………
  • 10. ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายของศาสนา ชื่อ……………………………………….......ชั้น…………………………………… วันที่………………………………………..กลุ่ม………………………………......... คาชี้แจง ให้นักเรียนค้นคว้าหาความหมายของคาว่า ศาสนา จากพจนานุกรมฯ จาก หนังสือต่าง ๆ หรือจากผู้รู้ และนามาอภิปรายร่วมกัน จากนั้น บันทึกลงในใบงาน หรือส่งตัวแทนออกมารายงานที่หน้าชั้น กลุ่มที่………….. รายชื่อสมาชิก 1……………………….. 4…………………………… 2………………………. 5…………………………… 3………………………. 6……………………………. ความหมายของศาสนา จากพจนานุกรมฯ ……………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………….. ความหมายของศาสนา จากแหล่งความรู้อื่น ๆ ……………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………….. ความหมายของศาสนา ตามความคิดของนักเรียน ……………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………..
  • 11. ใบงานที่ 3 เรื่อง องค์ประกอบของศาสนา ชื่อ………………………………………..ชั้น…………………………………… วันที่………………………………………..กลุ่ม……………………………….. คาชี้แจง ให้นักเรียนบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับศาสนาที่นักเรียนนับถือ ฉันนับถือศาสนา……………………………….. องค์ประกอบของศาสนาที่ฉันนับถือ มีดังนี้ ศาสดา คัมภีร์ สาวก ศาสนสถาน พิธีกรรม
  • 12. ใบความรู้ เรื่อง ศาสนากับชีวิต ความคิดรวบยอด ศาสนาทุกศาสนามุ่งสอนให้คนทาความดี เพื่อให้มีชีวิตอยู่อย่างเป็นสุข การปฏิบัติตาม หลักธรรมคาสอนของศาสนาย่อมให้ผลดีแก่ ผู้ปฏิบัติ สาระการเรียนรู้ ความหมาย ความสาคัญ องค์ประกอบ และประโยชน์ของศาสนา ผลการเรียนรู้ รู้และเข้าใจความหมาย ความสาคัญ และประโยชน์
  • 13. ใบความรู้ เรื่อง ศาสนา ศาสนา คือ คาสั่งสอนของศาสดาผู้ประกาศศาสนา ประกอบด้วยหลักธรรมคาสอน แนว ความเชื่อ และแนวการปฏิบัติต่าง ๆ ตามคติของแต่ละศาสนา เพื่อให้ผู้ปฏิบัติตามเกิดความเจริญใน ชีวิต และให้อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
  • 14. พระพุทธศาสนา ศาสนาคริสต์ ศาสนาอสลาม ศาสนา พราหมณ์-ฮินดู ศาสนาสิกข์ ศาสดา พระพุทธเจ้า พระเยซู ท่านนบีมุฮัมมัด - ท่านคุระนานัก คัมภีร์ พระไตรปิฏก ไบเบิล อัลกุรอาน พระเวท ครันถสาหิพ สาวก พระภิกษุสงฆ์ บาทหลวง อิหม่าม พราหมณ์ - ศาสนสถาน วัด โบสถ์ มัสยิดหรือ สุเหร่า โบสถ์พรหมณ์ โบสถ์สิกข์ พิธีกรรม การเวียนเทียน การอุปสมบท การทาบุญฯลฯ พิธีรับศีล พิธี ล้างบาป ฯลฯ การละหมาด การถือศีลอด ฯลฯ พิธีชาระบาป พิธีบูชาเทวดา ฯลฯ พิธีปาหุล พิธีสังคัต ฯลฯ องค์ประกอบ ของศาสนา 1. ศาสดา คือ ผู้ก่อตั้งและประกาศศาสนา 2. คัมภีร์ คือ หลักธรรมคาสอนของศาสนา เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้นับถือได้ปฏิบัติตาม 5. พิธีกรรม คือ การปฏิบัติพิธีกรรมต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความสุขความเจริญเป็น สิริ มงคลต่อผู้ปฏิบัติ 6. 3. สาวก คือ ผู้สืบต่อศาสนา โดยเป็นผู้เผย แผ่หรือผู้ปฏิบัติตาม 4. 4. ศาสนสถาน คือ สถานที่ประกอบ พิธีกรรมทางศาสนา
  • 15. พระพุทธศาสนาเป็นศูนย์รวมจิตใจของพุทธศาสนา พระพุทธศาสนากาเนิดในประเทศอินเดียและได้เผยแผ่เข้ามาในดินแดนสุวรรณภูมิซึ่ง รวมทั้งที่เป็นดินแดนของไทยในปัจจุบัน และดินแดนของประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งอยู่ในราวประมาณ พุทธศตวรรษที่ 3 พระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ทรงนับถือพระพุทธศาสนา ทรงเป็นพระพุทธ มามกะ และได้ให้ความอุปถัมภ์ค้าชูพระพุทธศาสนามาโดยตลอด คนไทยส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนาจึงได้นาหลักธรรมคาสอนของพระพุทธเจ้ามาเป็น หลักสาคัญในการดารงชีวิต ทาให้อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ชีวิตของคนไทยผูกพันอยู่กับพระพุทธศาสนาจะเห็นได้ว่าทุกหมู่บ้านจะมีพระสงฆ์เป็นศูนย์ รวมทางจิตใจคอางบแนะแนวทางเพื่อแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น และมีวัดเป็นศูนย์กลางในการจัด งานต่าง ๆ ทั้งทางด้านสังคม ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีและอื่น ๆ ดังนั้น พระพุทธศาสนาจึงเป็น ศูนย์รวมจิตใจของชาวพุทธทุกคน พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจาชาติไทย และเป็นศูนย์รวมทางจิตใจของชาวพุทธจึงมี อิทธิพลและความสาคัญต่อวิถีชีวิตของคนไทยหลายประการ คือ ด้านอุปนิสัย หลักธรรมคาสอนใน พระพุทธศาสนาทาให้คนไทยมีอุปนิสัย เช่น ความกตัญญูกตเวทีเคารพเชื่อฟังผู้ใหญ่ อ่อนน้อมถ่อมตน ให้อภัยซึ่งกันและกัน มีความเมตตากรุณา เป็นต้น ซึ่งสิ่งเหล่านี้ ล้วนได้รับจากการอบรมสั่งสอนตามหลักธรรม ในพระพุทธศาสนาทั้งสิ้น
  • 16. ด้านสังคม วัดเป็นศูนย์รวมของการดาเนินชีวิตของ สังคมไทย ไม่ว่าจะเป็นงานเทศกาลต่าง ๆ มักจะจัดที่วัด ทา ให้ประชาชนในท้องถิ่นนั้น ๆ ได้รับความสนุกสนาน ได้พัก ผ่อนหย่อนใจ วัดยังเป็นศูนย์รวมความสามัคคี เป็นสมบัติ ส่วนรวมที่ประชาชนจะมาพบปะสังสรรค์และมีการแลก เปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน เป็นต้น ด้านการศึกษา ในสมัยโบราณชาวบ้าน มักจะพาลูกหลานไปฝากไว้กับพระที่นั่งเพื่อให้ เรียนหนังสือ และได้รับการอบรมสั่งสอนเกี่ยวกับ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา วัดจึงเป็นสถานที่ ศึกษาเล่าเรื่องและในปัจจุบันได้มีการจัดสร้าง โรงเรียนขึ้นในวัด หรืออาศัยที่ดินของวัดปลูก สร้างโรงเรียนอีกด้วย ด้านประเพณีและวัฒนธรรม ประเพณีและ วัฒนธรรมของไทยส่วนใหญ่มีรากฐานมาจากพระพุทธ ศาสนา เช่น ประเพณีการทอดกฐิน งานอุปสมบท การทา บุญเลี้ยงพระ และบางประเพณีก็นาพระพุทธศาสนาเข้าไป ผสมผสาน เช่น งานแต่งงาน งานสงกรานต์งานศพ เป็นต้น ตลอดจนวัฒนธรรมการ กราบไหว้ ที่คนไทยได้สืบ ต่อกันมาจน เป็นวัฒนธรรมไทยที่เป็นเอกลักษณะของชาติ
  • 17. แบบฝึกหัด คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย X หน้าข้อที่ถูกที่สุด 1. เมื่อมีพิธีกรรมทางศาสนา ซึ่งไม่ใช่ ศาสนาของตนเองควรปฏิบัติอย่างไร ก. ลุกออกจากสถานที่นั้นทันที ข. แสดงออกถึงศาสนาของตน ค. ไม่เข้าไปในสถานที่เช่นนั้นอีก ง. แสดงความสารวมกิริยาท่าทาง 2. ข้อใดไม่ใช่ศาสนพิธี ก. การประชุมทางศาสนา ข. การแสดงธรรมเทศนา ค. การฝึกนั่งสมาธิ ง. การปลุกเสกของขลัง 3. ข้อใดคือความมุ่งหมายของศาสนพิธี ก. โฆษณาชวนเชื่อ ข. ชักชวนกันสร้างวัตถุ ค. เป็นการเผยแพร่ศาสนา ง. ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ 4. ข้อใดคือมารยาทที่ไม่ควรปฏิบัติต่อ ศาสนาอื่น ก. ไม่ลบหลู่ศาสนาอื่น ข. ไม่ควรเรียนรู้ศาสนาอื่น ค. ไม่ควรลบหลู่สถานที่สาคัญทาง ศาสนา ง. ล้อเลียนเหยียดหยามผู้นับถือศาสนา อื่น 5. การทาบุญของชาวพุทธเน้นในเรื่องใด ก. พิธีกรรม ข. ความสามัคคี ค. ความศักดิ์สิทธิ์ ง. การทาความดี 6. ศาสนพิธีใดที่นักเรียนควรปฏิบัติเป็น ประจาทุกวัน ก. การอาราธนาศีล ข. การอาราธนาธรรม ค. การทาบุญตักบาตร ง. การสวดมนต์ไหว้พระ
  • 18. 7. ข้อใดไม่ใช่หลักในพุทธโอวาท ก. การทาแต่ความดี ข. การไม่ทาความชั่วทั้งปวง ค. การประกอบศาสนพิธีสม่าเสมอ ง. การทาจิตใจให้บริสุทธิ์สะอาด 8. การประกอบพิธีฮัจญ์ของศาสนาอิสลาม จะกระทาที่ใด ก. มัสยิด ข. นครเมกกะ ค. ที่ใดก็ได้ ง. ภายในบ้าน 9. ศาสนาใดที่มุ่งสอนให้มนุษย์มีความรัก เมตตากรุณาต่อกันเป็นสาคัญ ก. คริสต์ ข. อิสลาม ค. พุทธ ง. พราหมณ์ – ฮินดู 10. ข้อใดไม่จัดอยู่ในองค์ประกอบของ ศาสนา ก. ศาสดา ข. ศาสนสถาน ค. คัมภีร์ ง. ประเพณี
  • 19. แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วยที่ 1 เรื่องพุทธศาสนา ประกอบแผนที่ 1 ความสาคัญของศาสนา เลข ที่ ชื่อ – สกุล ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รวมคะแนนด้านคุณลักษณะฯ ด้านผลงาน รวม ผ่าน/ไม่ผ่าน รับผิดชอบต่อหน้าที่ มีความละอายต่อบาป มุ่งมั่นในการทาความดี มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ มีความขยันอดทน การทาแบบทดสอบก่อนเรียน การทาแบบฝึกกิจกรรมชุดที่ 2 2 2 2 2 10 15 10 35 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 ความหมายระดับคุณภาพ 2 หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน 30 – 35 = 2 1 หมายถึง พอใช้ 20 – 29 = 1 0 หมายถึง ปรับปรุง 0 - 19 = 0 เกณฑ์การผ่าน ได้คะแนน 1 ขึ้นไป ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน ( นางเอื้องไพร เชื้อดวงผุย )