SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
บทที่ 
2 ชีวิตและกฏธรรมชาติของชีวิต 
วิชาจริยธรรมกับชีวิต หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 
มหาวิทยาลยัราชภฏัอุดรธานี
ความหมายของชีวิต 
 ชีวิตคือการเดินทาง 
 ชีวิตคือการต่อสู้ 
 ชีวิตคือการงาน 
 ชีวิตคือการศึกษา
ชีวิตในทัศนะของศาสนา 
นักปราชญ์ได้ให้ความหมายของคา ว่า 
“ชีวิต” ดังนี้ 
ชีวิต คือ ตัวตนหรือบุคคล 
ชีวิต คือความสดของโปรโตปลาสซึม 
ในเซลล์ 
ชีวิต คือ ตัวธรรมชาติและมีกฎ 
ธรรมชาติควบคุม จึงเป็นไปตามกฎ 
ธรรมชาติ
ความหมายของ “ชีวิต” 
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ฉบับที่ 269 ได้ให้ 
ความหมายของคา ว่า “ชีวิต” ไวว้่า ชีวิตคือความเป็นอยู่
คุณสมบัติของสิ่งมีชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์ 
สิ่งมีชีวิตประกอบขึ้นด้วยเซลล์ 
สิ่งมีชีวิตประกอบด้วยกลุ่มสารที่เรียกว่า โปรโตปลาสซึม 
สิ่งมีชีวิตต้องการหายใจ 
สิ่งมีชีวิตต้องการการเจริญเติบโต 
สิ่งมีชีวิตต้องการหน่วยชีวิตใหม่ด้วยการสืบพันธ์ 
สิ่งมีชีวิตมีกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางเคมีในร่างกาย เพื่อสร้าง 
อาหารและทา ลายอาหาร เพื่อเอาพลังงานมาใชใ้นการเคลื่อนไหว 
สิ่งมีชีวิตต้องการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม
การกา เนิดของชีวิตตามทัศนะของวิทยาศาสตร์ 
วิทยาศาสตร์ได้กล่าวถึงการกา เนิดชีวิตใหม่เรียกว่า การสืบพันธุ์ ซึ่งมี 2 
แบบ คือ 
1. การสืบพันธุ์แบบไม่ใชเ้พศ เช่น การปักกิ่งชา ของต้นไม้ การแตกหน่อ 
ของกล้วย การแบ่งเซลล์สืบพันธ์ของแบคทีเรีย 
2. การสืบพันโดยการใชเ้พศ เช่น มนุษย์ซึ่งอาศัยพ่อแม่ให้กา เนิดชีวิต 
ชีวิต โดยฝ่ายพ่อจะสร้างเซลล์สืบพันธุ์ เรียกว่า อสุจิหรือสเปอร์ม 
ฝ่ายแม่สร้างเซลล์สืบพันธ์เรียกว่า ไข่ ไข่ที่ถูกผสมโดยอสุจิ เรียกว่า 
ไซโกท โดยไซโกทจะฝังตัวไวกั้บเยื่อผนังมดลูกและเจริญเติบโตเป็น 
ตัวอ่อนตามลา ดับ เมื่อครบ 9 เดือน ก็จะคลอดออกมาเป็นทารก 
และเจริญเติบโต
ขันธ์ 5 หรือ องค์ประกอบของชีวิตมนุษย์ 
รูป (Corporeality) ส่วนที่เป็นรปูธรรมทงั้หมด 
เวทนา (Feeling) ความร้สูึกสุขทุกข์ หรือเฉย ๆ 
สญัญา (Perception) ความกา หนดไว้หรือหมายรู้ 
สงัขาร (Mental Formation) การปรงุแต่งจิต 
วิญญาณ (Consciousness) การรับร้ทูางประสาท 
สัมผัสทั้ง 5 และใจ 
โดยสรปุมี ๒ อย่าง คือ 
๑. รปูธรรม ได้แก่ รปู 
๒. นามธรรม ได้แก่ เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
กาเนิด (โยนิ) 4 อย่าง 
1.ชลาพุชะ กาเนิดจากครรภ์ 
2.อัณฑชะ กา เนิดจากไข่ 
3.สังเสทชะ กา เนิดจากเชื้อ 
4.โอปปาติกะ กาเนิดจากการ 
ผุดข้นึ
กา เนิดของมนุษย์ในทัศนะพระพุทธศาสนา 
1.สตรอียู่ในวยัมีประจา เดือน (มาตา อุตุนี โหติ) 
2. มารดาบิดาร่วมกัน (มาตาปิตโร สนฺนิปติตา โหนฺติ) 
3. มีสัตว์มาเกิด (คนฺธพฺโพ ปจฺจุปฏฺฐิโต โหติ)
วิวฒันาการของชีวิต 
1. กลละ หยดน้า ใส ๆ 
2. อัมพุทะ ฟองน้า ล้างเนื้อ 
3. เปสิ ก้อนเนื้ออ่อนสีแดง 
4. ฆนะ ก้อนเนื้อเท่าไข่ไก่ 
5.ปัญจสาขา ปุ่มทงั้ 5
การดา รงอย่ขูองชีวิต 
กวฬิงการาหาร อาหารคือคา ข้าว 
ผัสสาหาร อาหารคือผัสสะ 
มโนสัญเจตนาหาร อาหารคือ 
มโนสัญเจตนา 
วิญญาณาหาร อาหารคือ 
วิญญาณ
โครงสร้างร่างกายของมนุษย์ 
 1.1โครงสร้างของร่างกาย 
 ร่างกายของมนุษย์ประกอบขึ้นจากส่วนที่เล็กที่สุด คือ อะตอม ซึ่งยึดเข้ากันด้วยพันธะต่างๆเป็น 
โมเลกุล และโมเลกุลจะมีการจัดตัวรวมเป็นโครงสร้างของหน่วยย่อยที่สุดที่เป็นตัวกา หนดการ 
ดา รงชีวิตอยู่เราเรียกโครงสร้างนนั้ว่า เซลล์ 
 เซลล์เหล่านี้มีทั้งที่ทา หน้าที่เหมือนกันและแตกต่างกันออกไปแต่เซลล์ของร่างกายส่วนใหญ่ 
ไม่ได้อยู่อย่างอิสระโดยกลุ่มของเซลล์ที่มีโครงสร้างหน้าที่และกา เนิดคล้ายกันจะยึดติดกันซึ่ง 
พบว่าถ้าเซลล์เหล่านั้นทา หน้าที่เหมือนกันหรือทา หน้าที่อย่างเดียวกันจะรวมเรียกกลุ่มเซลล์นี้ว่า 
เนื้อเยื่อ 
 เนื้อเยื่อมี 4 ชนิดดังนี้ 
 1. เนื้อเยื่อบุผิว 
 2. เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน 
 3. เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ 
 4. เนื้อเยื่อประสาท
ความสัมพันธ์ของร่างกาย 
หากเนื้อเยื่อหลายๆเนื้อเยื่อทา งานหรือทา หน้าที่อย่างเดียวกัน จะเรียก 
กลุ่มของเนื้อเยื่อว่า อวยัวะ เช่น ปอด หัวใจ สมอง ตับ ม้าม เป็นต้น 
โดยจะมีหน้าที่ของตัวมันเอง และต้องทา งานประสานสัมพันธ์ซึ่งกันและ 
กันซึ่งจะรวมเรียกระบบอวยัวะต่างๆที่ทา หน้าที่ประสานสัมพันธ์กัน 
เหล่านี้ว่าเป็นร่างกาย 
การทา งานของระบบต่างๆภายในร่างกายของคนเรานนั้จะต้องมีการ 
ประสานสัมพันธ์กันอยู่เสมอ ถ้าหากไมท่า งานประสานสัมพันธ์กันแล้ว 
ย่อมเกิดปัญหาต่อการดา รงชีวิตอยู่อย่างแน่นอน
1.2 ระบบอวยัวะของร่างกาย 
 ร่างกายของมนุษย์ประกอบด้วยโครงสรา้งที่สลับซับซอ้นหลายระดับ ดังที่ได้กล่าวแล้วใน 
เบื้องต้น โดยโครงสร้างต่างๆจะมีหน้าที่ของตนเองและในขณะเดียวกันก็มีความสัมพันธ์กับ 
โครงสร้างต่างๆภายในร่างกายออกเป็นระบบอวยัวะต่างๆได้ดังนี้ 
 1 ระบบผิวหนังหรือระบบห่อหุ้มร่างกาย(integmentary system) 
 2 ระบบกระดูก (skeletal system) 
 3 ระบบกล้ามเนื้อ ( muscular system ) 
 4 ระบบย่อยอาหาร ( degestive system) 
 5 ระบบขับถ่ายปัสสาวะ( urinary system ) 
 6 ระบบหายใจ ( respiratory system) 
 7 ระบบไหลเวียนโลหิต ( vasculay system ) 
 8 ระบบประสาท (nervous system ) 
 9 ระบบสบืพันธุ์ (reproductive system) 
 10 ระบบต่อมไร้ท่อ ( endocrine system)
โครงสร้างร่างกายของมนุษย์ตามหลักวิทยาศาสตร์
ความต้องการของชีวิต 
 ความต้องการทางด้านร่างกาย (Physiological needs) 
 ความต้องการความปลอดภัย (Safety needs) 
 ความต้องการทางด้านสังคม (The belongingness needs) 
 ความต้องการเกียรติยศชื่อเสียง (The esteem needs) 
 ความต้องการความสา เร็จในชีวิต (Self actualization)
ภาคของจิต (REGIONS OF MIND) 
จิตรู้สา นึก (Conscious mind) 
จิตกึ่งรู้สา นึก (Preconscious mind) 
จิตไร้สา นึก (Unconscious mind)
โครงสร้างของจิต (STRUCTURE OF MIND) 
 Id สัญชาติญาณและแรงขับที่เกิดจากความต้องการทางชีววิทยา 
 Ego จิตใจที่ได้รับการฝึกฝนจากการเรียนรู้ทั่วไป 
 Super-Ego จิตใจที่ได้มาจากการเรียนรู้เกี่ยวกับวฒันธรรม ศีลธรรม และศาสนา
ลักษณะของกฎธรรมชาติ 
กฎธรรมชาติเป็นกฎที่มีอยู่ก่อนแล้วตามธรรมชาติ มีธรรมชาตมิี 
ลักษณะดังนี้คือ 
1.สิ่งนั้นตั้งอยู่แล้ว หมายถึงสิ่งที่มีอยู่ก่อนสิ่งทั้งปวง 
2.เป็นกฎควบคุมสังขารทั้งให้เปลี่ยนแปลง เป็นไป ดา รงอยู่และ 
สลายไปตามธรรมชาติ 
3. เป็นสิ่งที่หลีกไม่พ้น เช่นกฎแห่งกรรม 
4. รูปธรรม นามธรรม เกิดข้นึจากกฎธรรมชาติอันเดียวกัน เช่น 
ไตรลักษณ์เป็นต้น
ลักษณะสามัญของชีวิต (ไตรลักษณ์) 
อนิจจงัสังขารทงั้ปวง 
ไม่เที่ยง 
ทุกขงัสังขารทงั้ปวง 
เป็นทุกข์ 
อนตัตา ธรรมทงั้ปวง 
เป็นอนัตตา
ความเป็นของไม่เที่ยง (อนิจจัง) 
มีการเกิดขึ้นแล้วดับไป 
มีการเปลี่ยนแปลง 
ตั้งอยู่ชั่วขณะ 
แย้งต่อความเที่ยง 
มีแล้วกลับไม่มี
ความเป็นทุกข์ (ทุกขัง) 
ความทุกข์ประจา ตัว 
 ทุกข์จร 
 ทุกข์เนืองนิตย์ 
 ทุกขเวทนา 
ทุกข์เพราะรุ่มรอ้น 
 ทุกข์เพราะผลกรรม 
ทุกข์กา กับกัน 
 ทุกข์จากปัญหาชีวิต 
ทุกข์เพราะอุปาทานขันธ์
ความไม่มีตัวตนที่แท้จริง (อนัตตา) 
เพราะไม่อย่ใูนอา นาจหรือความปรารถนา 
เพราะแย้งต่ออัตตา หรือขัดความรูสึ้ก 
ความเป็นที่ไม่มีเจา้ของ 
 ความเป็นสภาพสูญเปล่า 
 ความเป็นสภาวธรรมที่เป็นไป 
ตามเหตุปัจจัย
คุณค่าทางจริยธรรมของหลักไตรลักษณ์ 
สามารถวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง 
ไมก่ระทา อะไรตามอา นาจความอยาก 
ไม่ทา ให้ชีวิตหดหู่เหี่ยวแห้ง 
สามารถใชปั้ญญาและเหตุผลในการแก้ปัญหาชีวิต 
ชีวิตจะมีความก้าวหน้าไปในทางที่ดี 
ทา ให้ดา รงชีวิตอยู่ด้วยอิสระ 
เมื่อตนมีชีวิตที่ดีแล้วสามารถช่วยเหลือคนอื่นได้ 
ชีวิตจะมีแต่ความร่มเย็นและสงบสุขอย่างแทจ้ริง
เป้าหมายสูงสุดของชีวิต คือ ความหลุดพ้น

More Related Content

What's hot

ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิต
ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิตใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิต
ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิตสมใจ จันสุกสี
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงWichai Likitponrak
 
สรุปชีวะ l คะแนนจัง
สรุปชีวะ l คะแนนจังสรุปชีวะ l คะแนนจัง
สรุปชีวะ l คะแนนจังKha Nan
 
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)kookoon11
 
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม Oเอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม OWichai Likitponrak
 
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blankการรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์BlankThanyamon Chat.
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตY'tt Khnkt
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
การย่อยอาหารของสัตว์
การย่อยอาหารของสัตว์การย่อยอาหารของสัตว์
การย่อยอาหารของสัตว์Y'tt Khnkt
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์Wichai Likitponrak
 

What's hot (19)

ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิต
ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิตใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิต
ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิต
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
ติวOnetวิทย์
ติวOnetวิทย์ติวOnetวิทย์
ติวOnetวิทย์
 
สรุปชีวะ l คะแนนจัง
สรุปชีวะ l คะแนนจังสรุปชีวะ l คะแนนจัง
สรุปชีวะ l คะแนนจัง
 
5 behavi plan
5 behavi plan5 behavi plan
5 behavi plan
 
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
 
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม Oเอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
 
ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1
 
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blankการรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
Energy box
Energy boxEnergy box
Energy box
 
การย่อยอาหารของสัตว์
การย่อยอาหารของสัตว์การย่อยอาหารของสัตว์
การย่อยอาหารของสัตว์
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์
 

Similar to ชีวิตและกฏธรรมชาติของ

ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม่Jutharat
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงาน
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงานพื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงาน
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงานNichakorn Sengsui
 
เล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newเล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newsavong0
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ กระเพาะอาหาร ลำไส้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ  กระเพาะอาหาร ลำไส้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ  กระเพาะอาหาร ลำไส้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ กระเพาะอาหาร ลำไส้tawitch58
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาkrulam007
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาkrulam007
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1juriyaporn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ ปอด ตับ ไต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ  ปอด ตับ ไตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ  ปอด ตับ ไต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ ปอด ตับ ไตtawitch58
 
ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์พัน พัน
 
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdf
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdfเปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdf
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdfLomaPakuTaxila
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2Wichai Likitponrak
 
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์ โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์ พัน พัน
 
บทที่3 Basic Of Physiological
บทที่3  Basic Of  Physiologicalบทที่3  Basic Of  Physiological
บทที่3 Basic Of PhysiologicalTuk Diving
 
ทฤษฎีเซลล์(Cell theory)ภูบดี อภิรติธรรม ชั้นม.4/4 เลขที่4 จิดาภา เพ็ชรกลม เลข...
ทฤษฎีเซลล์(Cell theory)ภูบดี อภิรติธรรม ชั้นม.4/4 เลขที่4 จิดาภา เพ็ชรกลม เลข...ทฤษฎีเซลล์(Cell theory)ภูบดี อภิรติธรรม ชั้นม.4/4 เลขที่4 จิดาภา เพ็ชรกลม เลข...
ทฤษฎีเซลล์(Cell theory)ภูบดี อภิรติธรรม ชั้นม.4/4 เลขที่4 จิดาภา เพ็ชรกลม เลข...Bhu KS'peep
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5Nattapong Boonpong
 

Similar to ชีวิตและกฏธรรมชาติของ (20)

การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงาน
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงานพื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงาน
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงาน
 
เล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newเล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย New
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ กระเพาะอาหาร ลำไส้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ  กระเพาะอาหาร ลำไส้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ  กระเพาะอาหาร ลำไส้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ กระเพาะอาหาร ลำไส้
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ ปอด ตับ ไต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ  ปอด ตับ ไตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ  ปอด ตับ ไต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ ปอด ตับ ไต
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์
 
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdf
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdfเปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdf
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdf
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์ โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
บทที่3 Basic Of Physiological
บทที่3  Basic Of  Physiologicalบทที่3  Basic Of  Physiological
บทที่3 Basic Of Physiological
 
ทฤษฎีเซลล์(Cell theory)ภูบดี อภิรติธรรม ชั้นม.4/4 เลขที่4 จิดาภา เพ็ชรกลม เลข...
ทฤษฎีเซลล์(Cell theory)ภูบดี อภิรติธรรม ชั้นม.4/4 เลขที่4 จิดาภา เพ็ชรกลม เลข...ทฤษฎีเซลล์(Cell theory)ภูบดี อภิรติธรรม ชั้นม.4/4 เลขที่4 จิดาภา เพ็ชรกลม เลข...
ทฤษฎีเซลล์(Cell theory)ภูบดี อภิรติธรรม ชั้นม.4/4 เลขที่4 จิดาภา เพ็ชรกลม เลข...
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 

ชีวิตและกฏธรรมชาติของ

  • 1. บทที่ 2 ชีวิตและกฏธรรมชาติของชีวิต วิชาจริยธรรมกับชีวิต หมวดวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลยัราชภฏัอุดรธานี
  • 2. ความหมายของชีวิต  ชีวิตคือการเดินทาง  ชีวิตคือการต่อสู้  ชีวิตคือการงาน  ชีวิตคือการศึกษา
  • 3. ชีวิตในทัศนะของศาสนา นักปราชญ์ได้ให้ความหมายของคา ว่า “ชีวิต” ดังนี้ ชีวิต คือ ตัวตนหรือบุคคล ชีวิต คือความสดของโปรโตปลาสซึม ในเซลล์ ชีวิต คือ ตัวธรรมชาติและมีกฎ ธรรมชาติควบคุม จึงเป็นไปตามกฎ ธรรมชาติ
  • 4. ความหมายของ “ชีวิต” พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ฉบับที่ 269 ได้ให้ ความหมายของคา ว่า “ชีวิต” ไวว้่า ชีวิตคือความเป็นอยู่
  • 5. คุณสมบัติของสิ่งมีชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์ สิ่งมีชีวิตประกอบขึ้นด้วยเซลล์ สิ่งมีชีวิตประกอบด้วยกลุ่มสารที่เรียกว่า โปรโตปลาสซึม สิ่งมีชีวิตต้องการหายใจ สิ่งมีชีวิตต้องการการเจริญเติบโต สิ่งมีชีวิตต้องการหน่วยชีวิตใหม่ด้วยการสืบพันธ์ สิ่งมีชีวิตมีกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางเคมีในร่างกาย เพื่อสร้าง อาหารและทา ลายอาหาร เพื่อเอาพลังงานมาใชใ้นการเคลื่อนไหว สิ่งมีชีวิตต้องการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม
  • 6. การกา เนิดของชีวิตตามทัศนะของวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ได้กล่าวถึงการกา เนิดชีวิตใหม่เรียกว่า การสืบพันธุ์ ซึ่งมี 2 แบบ คือ 1. การสืบพันธุ์แบบไม่ใชเ้พศ เช่น การปักกิ่งชา ของต้นไม้ การแตกหน่อ ของกล้วย การแบ่งเซลล์สืบพันธ์ของแบคทีเรีย 2. การสืบพันโดยการใชเ้พศ เช่น มนุษย์ซึ่งอาศัยพ่อแม่ให้กา เนิดชีวิต ชีวิต โดยฝ่ายพ่อจะสร้างเซลล์สืบพันธุ์ เรียกว่า อสุจิหรือสเปอร์ม ฝ่ายแม่สร้างเซลล์สืบพันธ์เรียกว่า ไข่ ไข่ที่ถูกผสมโดยอสุจิ เรียกว่า ไซโกท โดยไซโกทจะฝังตัวไวกั้บเยื่อผนังมดลูกและเจริญเติบโตเป็น ตัวอ่อนตามลา ดับ เมื่อครบ 9 เดือน ก็จะคลอดออกมาเป็นทารก และเจริญเติบโต
  • 7. ขันธ์ 5 หรือ องค์ประกอบของชีวิตมนุษย์ รูป (Corporeality) ส่วนที่เป็นรปูธรรมทงั้หมด เวทนา (Feeling) ความร้สูึกสุขทุกข์ หรือเฉย ๆ สญัญา (Perception) ความกา หนดไว้หรือหมายรู้ สงัขาร (Mental Formation) การปรงุแต่งจิต วิญญาณ (Consciousness) การรับร้ทูางประสาท สัมผัสทั้ง 5 และใจ โดยสรปุมี ๒ อย่าง คือ ๑. รปูธรรม ได้แก่ รปู ๒. นามธรรม ได้แก่ เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
  • 8. กาเนิด (โยนิ) 4 อย่าง 1.ชลาพุชะ กาเนิดจากครรภ์ 2.อัณฑชะ กา เนิดจากไข่ 3.สังเสทชะ กา เนิดจากเชื้อ 4.โอปปาติกะ กาเนิดจากการ ผุดข้นึ
  • 9. กา เนิดของมนุษย์ในทัศนะพระพุทธศาสนา 1.สตรอียู่ในวยัมีประจา เดือน (มาตา อุตุนี โหติ) 2. มารดาบิดาร่วมกัน (มาตาปิตโร สนฺนิปติตา โหนฺติ) 3. มีสัตว์มาเกิด (คนฺธพฺโพ ปจฺจุปฏฺฐิโต โหติ)
  • 10. วิวฒันาการของชีวิต 1. กลละ หยดน้า ใส ๆ 2. อัมพุทะ ฟองน้า ล้างเนื้อ 3. เปสิ ก้อนเนื้ออ่อนสีแดง 4. ฆนะ ก้อนเนื้อเท่าไข่ไก่ 5.ปัญจสาขา ปุ่มทงั้ 5
  • 11. การดา รงอย่ขูองชีวิต กวฬิงการาหาร อาหารคือคา ข้าว ผัสสาหาร อาหารคือผัสสะ มโนสัญเจตนาหาร อาหารคือ มโนสัญเจตนา วิญญาณาหาร อาหารคือ วิญญาณ
  • 12. โครงสร้างร่างกายของมนุษย์  1.1โครงสร้างของร่างกาย  ร่างกายของมนุษย์ประกอบขึ้นจากส่วนที่เล็กที่สุด คือ อะตอม ซึ่งยึดเข้ากันด้วยพันธะต่างๆเป็น โมเลกุล และโมเลกุลจะมีการจัดตัวรวมเป็นโครงสร้างของหน่วยย่อยที่สุดที่เป็นตัวกา หนดการ ดา รงชีวิตอยู่เราเรียกโครงสร้างนนั้ว่า เซลล์  เซลล์เหล่านี้มีทั้งที่ทา หน้าที่เหมือนกันและแตกต่างกันออกไปแต่เซลล์ของร่างกายส่วนใหญ่ ไม่ได้อยู่อย่างอิสระโดยกลุ่มของเซลล์ที่มีโครงสร้างหน้าที่และกา เนิดคล้ายกันจะยึดติดกันซึ่ง พบว่าถ้าเซลล์เหล่านั้นทา หน้าที่เหมือนกันหรือทา หน้าที่อย่างเดียวกันจะรวมเรียกกลุ่มเซลล์นี้ว่า เนื้อเยื่อ  เนื้อเยื่อมี 4 ชนิดดังนี้  1. เนื้อเยื่อบุผิว  2. เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน  3. เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ  4. เนื้อเยื่อประสาท
  • 13. ความสัมพันธ์ของร่างกาย หากเนื้อเยื่อหลายๆเนื้อเยื่อทา งานหรือทา หน้าที่อย่างเดียวกัน จะเรียก กลุ่มของเนื้อเยื่อว่า อวยัวะ เช่น ปอด หัวใจ สมอง ตับ ม้าม เป็นต้น โดยจะมีหน้าที่ของตัวมันเอง และต้องทา งานประสานสัมพันธ์ซึ่งกันและ กันซึ่งจะรวมเรียกระบบอวยัวะต่างๆที่ทา หน้าที่ประสานสัมพันธ์กัน เหล่านี้ว่าเป็นร่างกาย การทา งานของระบบต่างๆภายในร่างกายของคนเรานนั้จะต้องมีการ ประสานสัมพันธ์กันอยู่เสมอ ถ้าหากไมท่า งานประสานสัมพันธ์กันแล้ว ย่อมเกิดปัญหาต่อการดา รงชีวิตอยู่อย่างแน่นอน
  • 14. 1.2 ระบบอวยัวะของร่างกาย  ร่างกายของมนุษย์ประกอบด้วยโครงสรา้งที่สลับซับซอ้นหลายระดับ ดังที่ได้กล่าวแล้วใน เบื้องต้น โดยโครงสร้างต่างๆจะมีหน้าที่ของตนเองและในขณะเดียวกันก็มีความสัมพันธ์กับ โครงสร้างต่างๆภายในร่างกายออกเป็นระบบอวยัวะต่างๆได้ดังนี้  1 ระบบผิวหนังหรือระบบห่อหุ้มร่างกาย(integmentary system)  2 ระบบกระดูก (skeletal system)  3 ระบบกล้ามเนื้อ ( muscular system )  4 ระบบย่อยอาหาร ( degestive system)  5 ระบบขับถ่ายปัสสาวะ( urinary system )  6 ระบบหายใจ ( respiratory system)  7 ระบบไหลเวียนโลหิต ( vasculay system )  8 ระบบประสาท (nervous system )  9 ระบบสบืพันธุ์ (reproductive system)  10 ระบบต่อมไร้ท่อ ( endocrine system)
  • 16. ความต้องการของชีวิต  ความต้องการทางด้านร่างกาย (Physiological needs)  ความต้องการความปลอดภัย (Safety needs)  ความต้องการทางด้านสังคม (The belongingness needs)  ความต้องการเกียรติยศชื่อเสียง (The esteem needs)  ความต้องการความสา เร็จในชีวิต (Self actualization)
  • 17.
  • 18. ภาคของจิต (REGIONS OF MIND) จิตรู้สา นึก (Conscious mind) จิตกึ่งรู้สา นึก (Preconscious mind) จิตไร้สา นึก (Unconscious mind)
  • 19. โครงสร้างของจิต (STRUCTURE OF MIND)  Id สัญชาติญาณและแรงขับที่เกิดจากความต้องการทางชีววิทยา  Ego จิตใจที่ได้รับการฝึกฝนจากการเรียนรู้ทั่วไป  Super-Ego จิตใจที่ได้มาจากการเรียนรู้เกี่ยวกับวฒันธรรม ศีลธรรม และศาสนา
  • 20. ลักษณะของกฎธรรมชาติ กฎธรรมชาติเป็นกฎที่มีอยู่ก่อนแล้วตามธรรมชาติ มีธรรมชาตมิี ลักษณะดังนี้คือ 1.สิ่งนั้นตั้งอยู่แล้ว หมายถึงสิ่งที่มีอยู่ก่อนสิ่งทั้งปวง 2.เป็นกฎควบคุมสังขารทั้งให้เปลี่ยนแปลง เป็นไป ดา รงอยู่และ สลายไปตามธรรมชาติ 3. เป็นสิ่งที่หลีกไม่พ้น เช่นกฎแห่งกรรม 4. รูปธรรม นามธรรม เกิดข้นึจากกฎธรรมชาติอันเดียวกัน เช่น ไตรลักษณ์เป็นต้น
  • 21. ลักษณะสามัญของชีวิต (ไตรลักษณ์) อนิจจงัสังขารทงั้ปวง ไม่เที่ยง ทุกขงัสังขารทงั้ปวง เป็นทุกข์ อนตัตา ธรรมทงั้ปวง เป็นอนัตตา
  • 22. ความเป็นของไม่เที่ยง (อนิจจัง) มีการเกิดขึ้นแล้วดับไป มีการเปลี่ยนแปลง ตั้งอยู่ชั่วขณะ แย้งต่อความเที่ยง มีแล้วกลับไม่มี
  • 23. ความเป็นทุกข์ (ทุกขัง) ความทุกข์ประจา ตัว  ทุกข์จร  ทุกข์เนืองนิตย์  ทุกขเวทนา ทุกข์เพราะรุ่มรอ้น  ทุกข์เพราะผลกรรม ทุกข์กา กับกัน  ทุกข์จากปัญหาชีวิต ทุกข์เพราะอุปาทานขันธ์
  • 24. ความไม่มีตัวตนที่แท้จริง (อนัตตา) เพราะไม่อย่ใูนอา นาจหรือความปรารถนา เพราะแย้งต่ออัตตา หรือขัดความรูสึ้ก ความเป็นที่ไม่มีเจา้ของ  ความเป็นสภาพสูญเปล่า  ความเป็นสภาวธรรมที่เป็นไป ตามเหตุปัจจัย
  • 25. คุณค่าทางจริยธรรมของหลักไตรลักษณ์ สามารถวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง ไมก่ระทา อะไรตามอา นาจความอยาก ไม่ทา ให้ชีวิตหดหู่เหี่ยวแห้ง สามารถใชปั้ญญาและเหตุผลในการแก้ปัญหาชีวิต ชีวิตจะมีความก้าวหน้าไปในทางที่ดี ทา ให้ดา รงชีวิตอยู่ด้วยอิสระ เมื่อตนมีชีวิตที่ดีแล้วสามารถช่วยเหลือคนอื่นได้ ชีวิตจะมีแต่ความร่มเย็นและสงบสุขอย่างแทจ้ริง