SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
1. แผนผังขลุ่ย
(ที่มา : https://sites.google.com/site/dontrithaisp/home/khluy-pheiyng-xx)
2. โน้ตเพลงไทยเดิม 10 เพลง
(ที่มา : https://sites.google.com/site/mynewinnos/not-phelng-thiy-deim)
3. วงดนตรีไทย 3 วง
(ที่มา : https://sites.google.com/site/thaimusic2557/-wng-dntri-thiy)
4. วิธีการรักษาเครื่องดนตรีไทย 3 เครื่อง
(ที่มา : https://sites.google.com/site/thaimusic2557/-kar-dulae-raksa-kheruxng-dntri-thiy)
5. เศียรดนตรีไทย 3 เศียร
(ที่มา : http://department.utcc.ac.th/thaiculture/index.php/culture/28-2013-04-02-03-19-24)
1. แผนผังขลุ่ย
ประวัติ ความเป็นมาของขลุ่ย
ขลุ่ย เป็นเครื่องดนตรีที่ไม่มีลิ้น ทาจากไม้รวกปล้องยาวๆ ด้านหน้าเจาะรูเรียง
กัน สาหรับปิดเปิดเพื่อเปลี่ยนเสียง ตรงที่เป่าไม่มีลิ้นแต่มีดาก ซึ่งทาด้วยไม้อุดเหลา
เป็นท่อนกลมๆยาวประมาร ๒ นิ้ว สอดลงไป อุดที่ปากของขลุ่ย แล้วบากด้านหนึ่งของ
ดากเป็นช่องสี่เหลี่ยมเล็กๆ เราเรียกว่าปากนกแก้ว เพื่อให้ลมส่วนหนึ่ง ผ่านเข้าออก
ทาให้เกิดเสียงขลุ่ยลมอีกส่วนจะวิ่งเข้าไปปลายขลุ่ยประกอบกับ นิ้วที่ปิดเปิดบังคับ
เสียงเกิดเป็นเสียงสูงต่าตามต้องการใตปากนกแก้วลงมา เจาะ ๑ รู เรียกว่ารูนิ้ว
ค้า เวลาเป่าต้องใช้หัวแม่ มือค้าปิดเปิดที่รูนี้ บาง เลาด้านขวาเจาะเป็นรูเยื่อ ปลาย
เลาขลุ่ยมีรู ๔ รู เจาะตรงกันข้ามแต่เหลื่อมกันเล็กน้อย ใช้สาหรับร้อยเชือกแขวนเก็บ
หรือคล้องมือจึงเรียกว่ารูร้อยเชือกรวมขลุ่ยเลาหนึ่ง มี ๑๔ รูด้วยกัน
รูปร่างของขลุ่ยเมือพิจารณาแล้วจะเป็นเครื่องดนตรี ที่เก่าแก่ที่สุดชนิดหนึ่ง จาก
หลักฐานที่พบขลุ่ยในหีบศพภรรยาเจ้าเมืองไทยที่ริมฝั่งแม่น้า ฮวงเหอ ซึ่งมีหลักฐาน
จารึกศักราชไว้ไม่ต่ากว่า๒,๐๐๐ ปี ปัจจุบัน ขลุ่ยมีราคาสูง เนื่องจาก ไม้รวกชนิดที่ทา
ขลุ่ยมีน้อยลงและใช้เวลาทามากจึงใช้วัตถุอื่นมาเจาะรูซึ่ง รวดเร็วกว่า เช่น ท่อ
พลาสติก ไม้เนื้อแข็ง แต่ คุณภาพเสียงไม่ดีเท่าขลุ่ยไม้ขลุ่ยที่มีเสียงไพเราะมากส่วน
ใหญ่จะเป็นขลุ่ย ผิวไม้แห้งสนิท ขลุ่ยใช้เป่าในเครื่องสายไทย วงมโหรี และในวงปี่
พาทย์ไม้นวม วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์
การฝึก เป่าขลุ่ยเพียงออเบื้องต้น
ขลุ่ยเพียงออ เป็นเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องเป่าที่ไม่มีลิ้น ทาด้วยไม้ไผ่แต่ในปัจจุบันมีการนาวัสดุอื่น ๆ มาทาเช่น ไม้เนื้อ
แข็ง ท่อพลาสติก เป็นต้น
วิธีการ ฝึกหัดเป่าขลุ่ยเบื้องต้น
ผู้เรียนต้องรักในกนตรี ขยันหมั่นเพียรฝึกฝนจนชานาญ มีความอุตสาหะ มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงสมบูรณ์ บากบั่น
พยายามในการเรียนรู้ มีการวิเคราะห์เครื่องดนตรี รู้ขั้นตอนในการฝึกฝนตนเองอย่างเป็นประจา การฝึกหัดเป่าขลุ่ยมีวิธีการคือ ต้อง
รู้จักขลุ่ยเพียงออ เลือกขลุ่ยที่ดี เรียนรู้กลวิธีการเป่าขลุ่ย ท่านั่ง การจับขลุ่ยที่ถูกลักษณะ เป่าให้เป็นเสียง เป่าเป็นเพลงขลุ่ย เป่าขลุ่ย
เข้ากับวงดนตรีไทยต่าง ๆ โดยมีวิธีการฝึกดังนี้
๑. จับขลุ่ยทั้งสองมือ ใช้หัวแม่มือบนปิดรูค้าก่อน มือบนใช้นิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนางปิดรูด้านบน และ มือล่างใช้นิ้วชี้ นิ้วกลาง
นิ้วนางและนิ้วก้อยปิดรูด้านล่าง และให้หัวแม่มือล่างประคองขลุ่ยไว้ด้านล่างของเลาขลุ่ย
๒. ให้สัมผัสปลายนิ้วมือปิดรู้นิ้วให้สนิท เพื่อให้เสียงเป่าไม่ผิดเพี้ยน
๓. เมื่อปิดนิ้วมือสนิทดีแล้วทุกนิ้วมือก็เริ่มเป่าออกเสียง
๔. เมื่อรู้ระดับเสียงต่าจนถึงเสียงสูงสุดแล้ว หัดปิดเปิดไล่นิ้วจากต่าไปสูง ไล่จากเสียงสูงลงต่า ไล่เสียงไปกลับจนคล่องจึงฝึก
สลับนิ้ว
๕. ฝึกเป่าสลับนิ้ว สลับข้ามเสียงกัน เช่น โด มี ซอล ที ฯลฯ
๖. ฝึกต่อเพลง จากเพลงที่มีความคุ้นเคยก่อน แล้วเริ่มเพิ่มเพลงให้มีความยากขึ้นเรื่อย ๆ
ตารางการปิดเปิดนิ้ว
การฝึกปฏิบัติขลุ่ยเพียงออ
เพื่อให้เข้าใจและสามารถฝึกปฏิบัติขลุ่ยเพียงออได้ถูกต้อง ขอให้ศึกษารายละเอียดในหัวข้อต่อไปนี้
- ลักษณะโน้ตของขลุ่ยเพียงออ
โดยปกติทั่วไปโน้ตของขลุ่ยเป็นโน้ตบรรทัดเดียว ใช้ได้ทั้งตัวเลขและตัวอักษรแต่ในที่นี้จะใช้เฉพาะโน้ตตัวอักษร โดยเขียนเป็นตัว
ย่อดังนี้ ด ร ม ฟ ซ ล ท เสียงสูงใช้เครื่องหมาย ( ํ ) ด้านบนตัวโน้ต เช่น ด ร
- ตาแหน่งเสียงและการใช้นิ้วมือปิด – เปิด เสียงขลุ่ยเพียงออ
ปกติขลุ่ยเพียงออจะทาเสียงได้ ๑๒ เสียง เป็นเสียงธรรมดาหรือเสียง"ต้อ" ๗ เสียง คือ จากเสียง โด - ที และทาเสียงแหบได้
อีก ๕ เสียง คือจากเสียง โดสูง(ด) ถึงเสียง ซอลสูง(ซ)
- ท่านั่งเป่าขลุ่ยเพียงออ
การเล่นเครื่องดนตรีไทยทุกชนิด นักดนตรีต้องสารวมกิริยามารยาทปฏิบัติให้เรียบร้อย ให้ความเคารพต่อครูบาอาจารย์ เครื่อง
ดนตรี ผู้ฟัง ตลอดจนนักดนตรีด้วยกันเอง การนั่งเป่าขลุ่ยต้องนั่งตัวตรงเพื่อให้ลมเดินสะดวก ไม่นั่งก้มหน้า ถ้านั่งกับพื้นควรนั่งพับเพียบ
- ท่าจับขลุ่ยเพียงออ
การจับขลุ่ยแบบไทยโดยประเพณีนิยมมาแต่โบราณจะจับเอามือขวาอยู่ข้างบนมือซ้าย(แต่ถ้าจับแบบสากลนิยมจับเอามือซ้ายไว้
ด้านบนมือขวาไว้ด้านล่าง) ซึ่งสันนิษฐานว่าคนส่วนใหญ่ถนัดมือขวามากกว่ามือซ้าย
- วิธีจับขลุ่ยเพียงออ
มือบนจับเลาขลุ่ย ๓ รูด้วยนิ้วชี้นิ้วกลางและนิ้วนาง อยู่ในลักษณะที่พร้อมจะปิด-เปิดรูบังคับเสียง(ซึ่งอยู่ด้านบนของเลาขลุ่ย) เรียง
ลงมาตามลาดับตั้งแต่รูที่อยู่บนสุดถึงรูที่สาม นิ้วหัวแม่มือปิดรูค้าด้านหลังไว้ พร้อมทั้งใช้นิ้วก้อยประคองด้านล่างของเลาขลุ่ยไว้
มือล่างจับเลาขลุ่ยส่วนล่าง ๔ รู ด้วยนิ้วชี้ นิ้วนาง นิ้วกลางและนิ้วก้อย เรียงลงมาตามลาดับนิ้วหัวแม่มือยันขลุ่ยด้านหลัง จับเลา
ขลุ่ยให้แขนส่วนปลายทั้งขวาและซ้ายได้ฉากกับเลาขลุ่ยพอประมาณโดยกางข้อศอกพองาม
- ลักษณะการวางนิ้ว
ลักษณะการวางนิ้วของมือซ้ายและมือขวา ให้วางลักษณะขวางกับเลาขลุ่ยโดยนิ้วอยู่เหนือรูบังคับเสียงประมาณ ๑ เซนติเมตร
และใช้นิ้วบริเวณผิวหนังส่วนที่นูนใต้ปลายนิ้ว เป็นส่วนที่ใช้ปิด-เปิดรูบังคับเสียง
การวางนิ้วเพื่อปิดรูบังคับเสียงต้องพยายามปิดรูให้สนิท มิฉะนั้นจะทาให้สียงขลุ่ยที่เป่าออกมา ดังผิดเพี้ยนโดยเฉพาะเสียงโด (ด)
เป็นเสียงที่เป่ายากที่สุด
- วิธีเป่าขลุ่ยเพียงออ
ให้เผยอริมฝีปากด้านบนและล่างจรดลงบนรูปากเป่า จัดเลาขลุ่ยให้ตั้งได้มุมประมาณ ๔๕ องศา กับลาตัวโดยทอดแขนไว้ข้าง
ลาตัวพองาม(ไม่กางศอกมากจนเกินไป)เป่าลมให้เหมาะสมไม่เบาและแรงจนเกินไป
2. โน้ตเพลงไทยเดิม 10 เพลง
1. เพลงเขมรพวงเถา
2. เพลงชุดพญาผานอง
3. เพลงแขกตาเสือเถา
4. เพลงแขกสาย
5. เพลงโหมโรงราโค
6. เพลงขอมเงิน
7. เพลงขอมโบราณเถา
8. เพลงจรเข้หางยาวเถา
9. เพลงจินตหราวดีเถา
10. เพลงลาวเสี่ยงเทียนเถา (ทางครูหลวงประดิษฐ์ไพเราะ)
3. วงดนตรีไทย 3 วง
ประเภทของวงดนตรีไทย
วงดนตรีไทย ในปัจจุบันได้จัดรูปแบบการบรรเลง มีความเป็นระเบียบแบบแผน มีมาตรฐานถูกต้องตามหลักการ
ประสมวง มีการพัฒนารูปแบบการบรรเลงเป็นระยะ ซึ่งแบ่งได้เป็น ๓ ประเภท คือ
1. วงปี่พาทย์ ..วงปี่พาทย์ หมายถึง วงดนตรีที่เกิดจากการประสมวงกันระหว่างเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าและ
เครื่องดนตรีประเภทเครื่องตีเป็นหลัก แบ่งออกเป็น ๓ ขนาด ดังนี้
1.) วงปี่พาทย์เครื่องห้า วงดนตรีประเภทนี้มีการประสมวงมาตั้งแต่สมัยสุโขทัยเป็นราชธานี ประกอบด้วย ปี่
ใน ระนาดเอก ฆ้องวงใหญ่ ตะโพน กลองทัด และฉิ่ง
2.) วงปี่พาทย์เครื่องคู่ วงดนตรีประเภทนี้เกิดการประสม
วงครั้งแรกในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า
เจ้าอยู่หัว ประกอบด้วย ปี่ใน ปี่นอก ระนาด
เอก ระนาดทุ้ม ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวง
เล็ก ตะโพน กลองทัด ฉิ่ง ฉาบเล็ก ฉาบ
ใหญ่ กรับ และโหม่ง
3.) วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่ วงดนตรีประเภทนี้เกิดการประสมวง
ครั้งแรกในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ประกอบด้วย ปี่ใน ปี่นอก ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ระนาด
เอกเหล็ก ระนาดทุ้มเหล็ก ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวง
เล็ก ตะโพน กลองทัด ฉิ่ง ฉาบเล็ก ฉาบ
ใหญ่ กรับ และโหม่ง
2. วงเครื่องสายไทย
วงเครื่องสายไทยเป็นวงดนตรีที่ประกอบด้วยเครื่องดนตรีประเภทที่มีสายเป็นหลัก ส่วนเครื่องดนตรีชนิดอื่นๆที่ประสมในวง
เครื่องสาย นิยมใช้เครื่องดนตรีที่มีระดับเสียงที่มีความกลมกลืนสอดคล้องกับเครื่องดนตรีอื่นๆในวง แบ่งออกเป็น ๒ ชนิด ดังนี้
1.) วงเครื่องสายเครื่องเดี่ยวหรือวงเครื่องสายวงเล็ก เครื่องดนตรีประกอบด้วยซอด้วง ๑ คัน ซออู้ ๑ คัน จะเข้ ๑ ตัว
ขลุ่ยเพียงออ ๑ เลา โทน-รามะนา ๑ สารับ ฉิ่ง ๑ คู่ และฉาบเล็ก ๑ คู่
2.) วงเครื่องสายเครื่องคู่ เครื่องดนตรีประกอบด้วย ซอด้วง ๒ คัน ซออู้ ๒ คัน จะเข้ ๒ ตัว ขลุ่ยเพียงออ ๑ เลา
ขลุ่ยหลีบ ๑ เลา โทน-รามะนา ๑ สารับ ฉิ่ง ๑ คู่ ฉาบเล็ก ๑ คู่ กรับ ๑ คู่ และโหม่ง ๑ ใบ
3. วงมโหรี
วงมโหรีเป็นวงที่มีเครื่องดนตรีประสมวงครบทุกกลุ่ม คือ เครื่องดีด สี ตี และเป่า ลักษณะเด่นของวง
ดนตรีประเภทนี้คือ ความกลมกลืนของระบบเสียงที่ใช้เครื่องดนตรีประเภทเครื่องตีที่ถูกย่อสัดส่วน สาหรับฆ้องวงที่ประสมในวงดนตรี
ประเภทนี้เรียกอีกชื่อหนึ่งว่าฆ้องมโหรี การปรับลดขนาดเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตีเพราะต้องการให้ระบบเสียงมีความดังที่เข้ากันได้
กับเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย วงมโหรีมีการประสมวงและถือเป็นแบบแผนมาตั้งแต่สมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัวจาแนกออกเป็น ๓ ขนาด ดังนี้
1.) วงมโหรีเครื่องเดี่ยว เครื่องดนตรีประกอบด้วย ซอสามสาย ๑ คัน ขลุ่ยเพียงออ ๑ เลา ระนาดเอก ๑ รางฆ้องวงใหญ่ ๑
วง จะเข้ ๑ ตัว ซอด้วง ๑ คัน ซออู้ ๑ คัน โทน-รามะนา ๑ สารับ ฉิ่ง ๑ คู่
2.) วงมโหรีเครื่องคู่ เครื่องดนตรีประกอบด้วยซอสามสาย ๑ คัน ซอสามสายหลีบ ๑ คัน ขลุ่ยเพียงออ ๑ เลา ขลุ่ยหลีบ ๑
เลา ระนาดเอก ๑ ราง ระนาดทุ้ม ๑ ราง ฆ้องวงใหญ่ ๑ วง ฆ้องวงเล็ก ๑ วง จะเข้ ๒ ตัว ซอด้วง ๒ คัน ซออู้ ๒ คัน โทน-
รามะนา๑สารับ ฉิ่ง๑คู่ ฉาบเล็ก๑คู่ กรับ๑คู่ โหม่ง๑ใบ
3.) วงมโหรีเครื่องใหญ่ เครื่องดนตรีประกอบด้วยซอสามสาย ๑ คัน ซอสามสายหลีบ ๑ คัน
ขลุ่ยเพียงออ ๑ เลา ขลุ่ยหลีบ ๑ เลา ระนาดเอกมโหรี ๑ ราง ระนาดทุ้มมโหรี ๑ ราง ระนาดเอก
เหล็กมโหรี ๑ ราง ระนาดทุ้มเหล็กมโหรี ๑ ราง ฆ้องวงใหญ่ ๑ วง ฆ้องวงเล็ก ๑ วง จะเข้ ๒
ตัว ซอด้วง ๒ คัน ซออู้ ๒ คัน โทน-รามะนา ๑ สารับ ฉิ่ง ๑ คู่ ฉาบเล็ก ๑ คู่ กรับ ๑ คู่
โหม่ง ๑ ใบ
4. วิธีการรักษาเครื่องดนตรีไทย 3 เครื่อง
การดูแลรักษาเครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยมีหลายประเภท หลายชนิด แต่ละชนิดจะมีลักษณะและส่วนประกอบที่แตกต่างกันไป ดังนั้นผู้ใช้เครื่องดนตรีจึง
ควรให้ความสาคัญเกี่ยวกับการใช้และการเก็บรักษาให้มาก ปฏิบัติให้ถูกต้องตามวิธีการต่าง ๆ
การใช้เครื่องดนตรี ก่อนใช้จะต้องตรวจดูแลความเรียบร้อยของส่วนประกอบ หลักกลไกต่าง ๆ ที่ทาให้เกิดเสียง ว่าเครื่องดนตรี
ชนิดนั้นมีความพร้อมหรือไม่ โดยเฉพาะเรื่องของเสียงเครื่องดนตรี ผู้เล่นจะต้องตรวจดูแลเป็นอย่างดี เพื่อให้บทเพลงที่บรรเลงด้วยเครื่อง
ดนตรีเหล่านี้มีคุณภาพ มีความไพเราะน่าฟัง และสามารถใช้งานได้ตลอดไป ไม่เกิดชารุดเสียหายก่อนงานจะเลิก โดยเฉพาะเครื่องดนตรี
ประเภทเครื่องสาย ซึ่งมีส่วนประกอบละเอียดอ่อนชารุดเสียหายง่าย จึงต้องระวังเป็นพิเศษในขณะที่ใช้งานหรือเวลาบรรเลง
การเก็บรักษาเครื่องดนตรี การเก็บรักษาเครื่องดนตรี นับว่ามีความสาคัญไม่น้อยกว่าการดูแลความพร้อมใช้ก่อนการบรรเลง
เช่นกัน ดังได้กล่าวมาแล้วว่า เครื่องดนตรีมีหลายชนิด แต่ละชนิดจะมีส่วนประกอบและหลักกลไกที่แตกต่างกัน การเก็บรักษาให้ถูกวีจึง
เป็นสิ่งสาคัญที่ผู้เล่นดนตรีจะต้องตระหนักอยู่เสมอ และต้องปฏิบัติให้ถูกต้องตามหลักการ จึงจะทาให้เครื่องดนตรีมีความคงทนสามารถ
ใช้งานได้อย่างคุ้มค่า โดยปฏิบัติดังนี้
1. หลังเลิกเล่นทุกครั้งต้องลดสาย ปลดเชือกหรือทาอย่างอื่นตามลักษณะเฉพาะของเครื่องดนตรีแต่ละชนิดให้อยู่ในสภาพที่จะ
เก็บหรือไม่ใช้งาน
2. ทาความสะอาดเครื่องดนตรีแต่ละชนิดด้วยน้ายา และอุปกรณ์ที่เหมาะสมกับเครื่องดนตรีแต่ละชนิด
3. เก็บใส่ภาชนะที่มีลักษณะเฉพาะของเครื่องดนตรีแต่ละชนิด
4. เก็บไว้ในที่ที่มีความเหมาะสม
วิธีเก็บรักษาเครื่องดนตรีไทย
การเก็บรักษาซอ
1. เมื่อเลิกเล่นให้ลดสายด้วยการหมุนลูกบิดลงประมาณครึ่งรอบ แล้วเลื่อนหมอนรองสายขึ้นไว้บนขอบกะโหลกซอ
2. ทาความสะอาดโดยใช้ผ้าแห้งเช็ด
3. แขวนหรือใส่ถุงเก็บใส่ตู้ให้มิดชิด
การเก็บรักษาระนาดเอก–ระนาดทุ้ม
1. ปลดเชือกคล้องหูระนาดข้างซ้ายมือลงข้างหนึ่ง
2. ใช้ผ้าคลุม กันฝุ่นจับ
3. ถ้าเลิกใช้งานโดยถาวร ควรม้วนผืนระนาดเก็บ การม้วนผืนระนาดควรหาผ้ารองหลังผืนระนาดเพื่อป้องกันการเกิดริ้วรอย
4. หากตะกั่วหลุด ควรติดให้อยู่ในสภาพเดิม
5. หากผ้าพันไม้ตีหลุด ให้รีบพันไว้อย่างเดิม ป้องกันลูกระนาดแตก
การเก็บรักษาขลุ่ย
1. หลังการเป่าควรเช็ดให้สะอาด
2. เก็บใส่ถุงให้เรียบร้อย
3. หากเลาขลุ่ยแตก ให้ใช้กาวติด
5. เศียรดนตรีไทย 3 เศียร
1. หัวโขนพระอิศวรแทนสมมติเทพองค์พระอิศวร ครูเทพเจ้าผู้สร้างโลก เป็นใหญ่ในหมู่เทพเจ้าทั้งมวล ทรงเป็นผู้ประทาน
ศิลปวิทยาการทั้งหลายในโลกมนุษย์
ลักษณะหัวโขน หน้าพระสีขาว สวมมงกุฎน้าเต้ากาบ นอกจากนี้ยังมี การทามงกุฎเป็นยอดต่างๆ อีก เช่น ยอด
น้าเต้ากาบทรงปลี ยอดน้าเต้ากาบทัดจันทร์ และยอดน้าเต้ากาบปลายสะบัด เป็นต้น
2. หัวโขนพระนารายณ์แทนสมมติเทพองค์พระนารายณ์ครูเทพเจ้าผู้บริหารและรักษาโลก เป็นเทพเจ้าผู้รักษาความดี ทรง
เป็นมหาเทพผู้ทรงรักษาวิชาการไว้ให้อยู่คู่โลก
ลักษณะหัวโขน หน้าพระสีดอกตะแบก(สีชมพูอมม่วง) สวมมงกุฎยอดเดินหน หรือมงกุฎยอดชัย
3. หัวโขนพระพรหมแทนสมมติเทพองค์พระพรหม ครูเทพเจ้าผู้สร้างโลก เป็นเทพเจ้าแห่งพรหมวิหาร เป็นใหญ่ในชั้นพรหม
ลักษณะหัวโขน หน้าพระสีขาว ๔ หน้า ชั้นแรกเป็นหน้าปกติ ๑ หน้า ชั้นที่ ๒ เป็นหน้าเล็ก ๓ หน้า สวมมงกุฎชัย
นอกจากนี้ยังมีการทาอีกแบบคือมีหน้าปกติ ๑ หน้า และหน้าเล็ก ๓ หน้าเรียงไว้ตรงท้ายทอย สวมมงกุฎน้าเต้า ๕ ยอด
จัดทำโดย
ด.ช.ปิติ ผลรัตนไพบูลย์ เลขที่ 13
ด.ช.ไรวินร์ ลือศำนติวิไล เลขที่ 19
ด.ญ.ธัญชิดำ เสียงหย่อง เลขที่ 31
ด.ญ.กัญญำภัค ปำนทอง เลขที่24
ชั้น ม.1/12

More Related Content

What's hot

ลักษณะรูปเรขาคณิต
ลักษณะรูปเรขาคณิตลักษณะรูปเรขาคณิต
ลักษณะรูปเรขาคณิตkhanida
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2kruruttika
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรNoawanit Songkram
 
การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน  	 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน Utai Sukviwatsirikul
 
การผูกเงื่อน
การผูกเงื่อนการผูกเงื่อน
การผูกเงื่อนPalasut
 
แหล่งข้อมูลหมายถึง
แหล่งข้อมูลหมายถึงแหล่งข้อมูลหมายถึง
แหล่งข้อมูลหมายถึงTanomsak Toyoung
 
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
บทความการสอนแบบเป็นทีม
บทความการสอนแบบเป็นทีมบทความการสอนแบบเป็นทีม
บทความการสอนแบบเป็นทีมPom Pom Insri
 
การ Normalization
การ Normalizationการ Normalization
การ Normalizationskiats
 
ปกโครงงานคุณธรรม
ปกโครงงานคุณธรรมปกโครงงานคุณธรรม
ปกโครงงานคุณธรรมSophinyaDara
 
ป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์โรงเรียนบ้านโฮ่ง
ป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์โรงเรียนบ้านโฮ่งป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์โรงเรียนบ้านโฮ่ง
ป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์โรงเรียนบ้านโฮ่งbanhongschool
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรมจรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรมSurang Judistprasert
 
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรสูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรN'Fern White-Choc
 
คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์Cholthicha JaNg
 
ใบความรู้ กรรมวิธีเบื้องต้นและหลักการประดิษฐ์วัสดุจากพืชที่เป็นเส้นใยแบบ
ใบความรู้ กรรมวิธีเบื้องต้นและหลักการประดิษฐ์วัสดุจากพืชที่เป็นเส้นใยแบบใบความรู้ กรรมวิธีเบื้องต้นและหลักการประดิษฐ์วัสดุจากพืชที่เป็นเส้นใยแบบ
ใบความรู้ กรรมวิธีเบื้องต้นและหลักการประดิษฐ์วัสดุจากพืชที่เป็นเส้นใยแบบคุณครูสุนันทา เวียงใต้
 
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมPrasert Boon
 
สูตรการหาพื้นที่ พร้อมตัวอย่าง
สูตรการหาพื้นที่ พร้อมตัวอย่างสูตรการหาพื้นที่ พร้อมตัวอย่าง
สูตรการหาพื้นที่ พร้อมตัวอย่างguest63819e
 
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศsomdetpittayakom school
 

What's hot (20)

ลักษณะรูปเรขาคณิต
ลักษณะรูปเรขาคณิตลักษณะรูปเรขาคณิต
ลักษณะรูปเรขาคณิต
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
 
การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน  	 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 
การผูกเงื่อน
การผูกเงื่อนการผูกเงื่อน
การผูกเงื่อน
 
แหล่งข้อมูลหมายถึง
แหล่งข้อมูลหมายถึงแหล่งข้อมูลหมายถึง
แหล่งข้อมูลหมายถึง
 
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
 
บทความการสอนแบบเป็นทีม
บทความการสอนแบบเป็นทีมบทความการสอนแบบเป็นทีม
บทความการสอนแบบเป็นทีม
 
การ Normalization
การ Normalizationการ Normalization
การ Normalization
 
ปกโครงงานคุณธรรม
ปกโครงงานคุณธรรมปกโครงงานคุณธรรม
ปกโครงงานคุณธรรม
 
ป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์โรงเรียนบ้านโฮ่ง
ป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์โรงเรียนบ้านโฮ่งป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์โรงเรียนบ้านโฮ่ง
ป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์โรงเรียนบ้านโฮ่ง
 
แผนเศรษฐกิจพอเพียง
แผนเศรษฐกิจพอเพียงแผนเศรษฐกิจพอเพียง
แผนเศรษฐกิจพอเพียง
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรมจรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
 
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรสูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์
 
ใบความรู้ กรรมวิธีเบื้องต้นและหลักการประดิษฐ์วัสดุจากพืชที่เป็นเส้นใยแบบ
ใบความรู้ กรรมวิธีเบื้องต้นและหลักการประดิษฐ์วัสดุจากพืชที่เป็นเส้นใยแบบใบความรู้ กรรมวิธีเบื้องต้นและหลักการประดิษฐ์วัสดุจากพืชที่เป็นเส้นใยแบบ
ใบความรู้ กรรมวิธีเบื้องต้นและหลักการประดิษฐ์วัสดุจากพืชที่เป็นเส้นใยแบบ
 
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
 
สูตรการหาพื้นที่ พร้อมตัวอย่าง
สูตรการหาพื้นที่ พร้อมตัวอย่างสูตรการหาพื้นที่ พร้อมตัวอย่าง
สูตรการหาพื้นที่ พร้อมตัวอย่าง
 
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
 

Similar to วิชาดนตรี.pptx

วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลPasit Suwanichkul
 
การผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทยการผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทยพัน พัน
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมอำนาจ ศรีทิม
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลอำนาจ ศรีทิม
 
9789740331445
97897403314459789740331445
9789740331445CUPress
 
ความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรีความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรีleemeanxun
 

Similar to วิชาดนตรี.pptx (20)

วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากล
 
TeST
TeSTTeST
TeST
 
วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากล
 
การผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทยการผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทย
 
Music drama
Music dramaMusic drama
Music drama
 
วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56
 
Music
MusicMusic
Music
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
 
05 mf
05 mf05 mf
05 mf
 
9789740331445
97897403314459789740331445
9789740331445
 
คีตะการ ดนตรีล้านนา
คีตะการ ดนตรีล้านนาคีตะการ ดนตรีล้านนา
คีตะการ ดนตรีล้านนา
 
Art
ArtArt
Art
 
Art
ArtArt
Art
 
ความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรีความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรี
 
คีตะการ ดนตรีล้านนา
คีตะการ ดนตรีล้านนาคีตะการ ดนตรีล้านนา
คีตะการ ดนตรีล้านนา
 
คีตะการ ดนตรีล้านนา
คีตะการ ดนตรีล้านนาคีตะการ ดนตรีล้านนา
คีตะการ ดนตรีล้านนา
 
คีตะการ ดนตรีล้านนา
คีตะการ ดนตรีล้านนาคีตะการ ดนตรีล้านนา
คีตะการ ดนตรีล้านนา
 
เสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทยเสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทย
 
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
 

วิชาดนตรี.pptx

  • 1. 1. แผนผังขลุ่ย (ที่มา : https://sites.google.com/site/dontrithaisp/home/khluy-pheiyng-xx) 2. โน้ตเพลงไทยเดิม 10 เพลง (ที่มา : https://sites.google.com/site/mynewinnos/not-phelng-thiy-deim) 3. วงดนตรีไทย 3 วง (ที่มา : https://sites.google.com/site/thaimusic2557/-wng-dntri-thiy) 4. วิธีการรักษาเครื่องดนตรีไทย 3 เครื่อง (ที่มา : https://sites.google.com/site/thaimusic2557/-kar-dulae-raksa-kheruxng-dntri-thiy) 5. เศียรดนตรีไทย 3 เศียร (ที่มา : http://department.utcc.ac.th/thaiculture/index.php/culture/28-2013-04-02-03-19-24)
  • 2. 1. แผนผังขลุ่ย ประวัติ ความเป็นมาของขลุ่ย ขลุ่ย เป็นเครื่องดนตรีที่ไม่มีลิ้น ทาจากไม้รวกปล้องยาวๆ ด้านหน้าเจาะรูเรียง กัน สาหรับปิดเปิดเพื่อเปลี่ยนเสียง ตรงที่เป่าไม่มีลิ้นแต่มีดาก ซึ่งทาด้วยไม้อุดเหลา เป็นท่อนกลมๆยาวประมาร ๒ นิ้ว สอดลงไป อุดที่ปากของขลุ่ย แล้วบากด้านหนึ่งของ ดากเป็นช่องสี่เหลี่ยมเล็กๆ เราเรียกว่าปากนกแก้ว เพื่อให้ลมส่วนหนึ่ง ผ่านเข้าออก ทาให้เกิดเสียงขลุ่ยลมอีกส่วนจะวิ่งเข้าไปปลายขลุ่ยประกอบกับ นิ้วที่ปิดเปิดบังคับ เสียงเกิดเป็นเสียงสูงต่าตามต้องการใตปากนกแก้วลงมา เจาะ ๑ รู เรียกว่ารูนิ้ว ค้า เวลาเป่าต้องใช้หัวแม่ มือค้าปิดเปิดที่รูนี้ บาง เลาด้านขวาเจาะเป็นรูเยื่อ ปลาย เลาขลุ่ยมีรู ๔ รู เจาะตรงกันข้ามแต่เหลื่อมกันเล็กน้อย ใช้สาหรับร้อยเชือกแขวนเก็บ หรือคล้องมือจึงเรียกว่ารูร้อยเชือกรวมขลุ่ยเลาหนึ่ง มี ๑๔ รูด้วยกัน รูปร่างของขลุ่ยเมือพิจารณาแล้วจะเป็นเครื่องดนตรี ที่เก่าแก่ที่สุดชนิดหนึ่ง จาก หลักฐานที่พบขลุ่ยในหีบศพภรรยาเจ้าเมืองไทยที่ริมฝั่งแม่น้า ฮวงเหอ ซึ่งมีหลักฐาน จารึกศักราชไว้ไม่ต่ากว่า๒,๐๐๐ ปี ปัจจุบัน ขลุ่ยมีราคาสูง เนื่องจาก ไม้รวกชนิดที่ทา ขลุ่ยมีน้อยลงและใช้เวลาทามากจึงใช้วัตถุอื่นมาเจาะรูซึ่ง รวดเร็วกว่า เช่น ท่อ พลาสติก ไม้เนื้อแข็ง แต่ คุณภาพเสียงไม่ดีเท่าขลุ่ยไม้ขลุ่ยที่มีเสียงไพเราะมากส่วน ใหญ่จะเป็นขลุ่ย ผิวไม้แห้งสนิท ขลุ่ยใช้เป่าในเครื่องสายไทย วงมโหรี และในวงปี่ พาทย์ไม้นวม วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์
  • 3. การฝึก เป่าขลุ่ยเพียงออเบื้องต้น ขลุ่ยเพียงออ เป็นเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องเป่าที่ไม่มีลิ้น ทาด้วยไม้ไผ่แต่ในปัจจุบันมีการนาวัสดุอื่น ๆ มาทาเช่น ไม้เนื้อ แข็ง ท่อพลาสติก เป็นต้น วิธีการ ฝึกหัดเป่าขลุ่ยเบื้องต้น ผู้เรียนต้องรักในกนตรี ขยันหมั่นเพียรฝึกฝนจนชานาญ มีความอุตสาหะ มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงสมบูรณ์ บากบั่น พยายามในการเรียนรู้ มีการวิเคราะห์เครื่องดนตรี รู้ขั้นตอนในการฝึกฝนตนเองอย่างเป็นประจา การฝึกหัดเป่าขลุ่ยมีวิธีการคือ ต้อง รู้จักขลุ่ยเพียงออ เลือกขลุ่ยที่ดี เรียนรู้กลวิธีการเป่าขลุ่ย ท่านั่ง การจับขลุ่ยที่ถูกลักษณะ เป่าให้เป็นเสียง เป่าเป็นเพลงขลุ่ย เป่าขลุ่ย เข้ากับวงดนตรีไทยต่าง ๆ โดยมีวิธีการฝึกดังนี้ ๑. จับขลุ่ยทั้งสองมือ ใช้หัวแม่มือบนปิดรูค้าก่อน มือบนใช้นิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนางปิดรูด้านบน และ มือล่างใช้นิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนางและนิ้วก้อยปิดรูด้านล่าง และให้หัวแม่มือล่างประคองขลุ่ยไว้ด้านล่างของเลาขลุ่ย ๒. ให้สัมผัสปลายนิ้วมือปิดรู้นิ้วให้สนิท เพื่อให้เสียงเป่าไม่ผิดเพี้ยน ๓. เมื่อปิดนิ้วมือสนิทดีแล้วทุกนิ้วมือก็เริ่มเป่าออกเสียง ๔. เมื่อรู้ระดับเสียงต่าจนถึงเสียงสูงสุดแล้ว หัดปิดเปิดไล่นิ้วจากต่าไปสูง ไล่จากเสียงสูงลงต่า ไล่เสียงไปกลับจนคล่องจึงฝึก สลับนิ้ว ๕. ฝึกเป่าสลับนิ้ว สลับข้ามเสียงกัน เช่น โด มี ซอล ที ฯลฯ ๖. ฝึกต่อเพลง จากเพลงที่มีความคุ้นเคยก่อน แล้วเริ่มเพิ่มเพลงให้มีความยากขึ้นเรื่อย ๆ
  • 5. การฝึกปฏิบัติขลุ่ยเพียงออ เพื่อให้เข้าใจและสามารถฝึกปฏิบัติขลุ่ยเพียงออได้ถูกต้อง ขอให้ศึกษารายละเอียดในหัวข้อต่อไปนี้ - ลักษณะโน้ตของขลุ่ยเพียงออ โดยปกติทั่วไปโน้ตของขลุ่ยเป็นโน้ตบรรทัดเดียว ใช้ได้ทั้งตัวเลขและตัวอักษรแต่ในที่นี้จะใช้เฉพาะโน้ตตัวอักษร โดยเขียนเป็นตัว ย่อดังนี้ ด ร ม ฟ ซ ล ท เสียงสูงใช้เครื่องหมาย ( ํ ) ด้านบนตัวโน้ต เช่น ด ร - ตาแหน่งเสียงและการใช้นิ้วมือปิด – เปิด เสียงขลุ่ยเพียงออ ปกติขลุ่ยเพียงออจะทาเสียงได้ ๑๒ เสียง เป็นเสียงธรรมดาหรือเสียง"ต้อ" ๗ เสียง คือ จากเสียง โด - ที และทาเสียงแหบได้ อีก ๕ เสียง คือจากเสียง โดสูง(ด) ถึงเสียง ซอลสูง(ซ)
  • 6. - ท่านั่งเป่าขลุ่ยเพียงออ การเล่นเครื่องดนตรีไทยทุกชนิด นักดนตรีต้องสารวมกิริยามารยาทปฏิบัติให้เรียบร้อย ให้ความเคารพต่อครูบาอาจารย์ เครื่อง ดนตรี ผู้ฟัง ตลอดจนนักดนตรีด้วยกันเอง การนั่งเป่าขลุ่ยต้องนั่งตัวตรงเพื่อให้ลมเดินสะดวก ไม่นั่งก้มหน้า ถ้านั่งกับพื้นควรนั่งพับเพียบ - ท่าจับขลุ่ยเพียงออ การจับขลุ่ยแบบไทยโดยประเพณีนิยมมาแต่โบราณจะจับเอามือขวาอยู่ข้างบนมือซ้าย(แต่ถ้าจับแบบสากลนิยมจับเอามือซ้ายไว้ ด้านบนมือขวาไว้ด้านล่าง) ซึ่งสันนิษฐานว่าคนส่วนใหญ่ถนัดมือขวามากกว่ามือซ้าย - วิธีจับขลุ่ยเพียงออ มือบนจับเลาขลุ่ย ๓ รูด้วยนิ้วชี้นิ้วกลางและนิ้วนาง อยู่ในลักษณะที่พร้อมจะปิด-เปิดรูบังคับเสียง(ซึ่งอยู่ด้านบนของเลาขลุ่ย) เรียง ลงมาตามลาดับตั้งแต่รูที่อยู่บนสุดถึงรูที่สาม นิ้วหัวแม่มือปิดรูค้าด้านหลังไว้ พร้อมทั้งใช้นิ้วก้อยประคองด้านล่างของเลาขลุ่ยไว้ มือล่างจับเลาขลุ่ยส่วนล่าง ๔ รู ด้วยนิ้วชี้ นิ้วนาง นิ้วกลางและนิ้วก้อย เรียงลงมาตามลาดับนิ้วหัวแม่มือยันขลุ่ยด้านหลัง จับเลา ขลุ่ยให้แขนส่วนปลายทั้งขวาและซ้ายได้ฉากกับเลาขลุ่ยพอประมาณโดยกางข้อศอกพองาม - ลักษณะการวางนิ้ว ลักษณะการวางนิ้วของมือซ้ายและมือขวา ให้วางลักษณะขวางกับเลาขลุ่ยโดยนิ้วอยู่เหนือรูบังคับเสียงประมาณ ๑ เซนติเมตร และใช้นิ้วบริเวณผิวหนังส่วนที่นูนใต้ปลายนิ้ว เป็นส่วนที่ใช้ปิด-เปิดรูบังคับเสียง การวางนิ้วเพื่อปิดรูบังคับเสียงต้องพยายามปิดรูให้สนิท มิฉะนั้นจะทาให้สียงขลุ่ยที่เป่าออกมา ดังผิดเพี้ยนโดยเฉพาะเสียงโด (ด) เป็นเสียงที่เป่ายากที่สุด - วิธีเป่าขลุ่ยเพียงออ ให้เผยอริมฝีปากด้านบนและล่างจรดลงบนรูปากเป่า จัดเลาขลุ่ยให้ตั้งได้มุมประมาณ ๔๕ องศา กับลาตัวโดยทอดแขนไว้ข้าง ลาตัวพองาม(ไม่กางศอกมากจนเกินไป)เป่าลมให้เหมาะสมไม่เบาและแรงจนเกินไป
  • 7. 2. โน้ตเพลงไทยเดิม 10 เพลง 1. เพลงเขมรพวงเถา
  • 17. 3. วงดนตรีไทย 3 วง ประเภทของวงดนตรีไทย วงดนตรีไทย ในปัจจุบันได้จัดรูปแบบการบรรเลง มีความเป็นระเบียบแบบแผน มีมาตรฐานถูกต้องตามหลักการ ประสมวง มีการพัฒนารูปแบบการบรรเลงเป็นระยะ ซึ่งแบ่งได้เป็น ๓ ประเภท คือ 1. วงปี่พาทย์ ..วงปี่พาทย์ หมายถึง วงดนตรีที่เกิดจากการประสมวงกันระหว่างเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าและ เครื่องดนตรีประเภทเครื่องตีเป็นหลัก แบ่งออกเป็น ๓ ขนาด ดังนี้ 1.) วงปี่พาทย์เครื่องห้า วงดนตรีประเภทนี้มีการประสมวงมาตั้งแต่สมัยสุโขทัยเป็นราชธานี ประกอบด้วย ปี่ ใน ระนาดเอก ฆ้องวงใหญ่ ตะโพน กลองทัด และฉิ่ง
  • 18. 2.) วงปี่พาทย์เครื่องคู่ วงดนตรีประเภทนี้เกิดการประสม วงครั้งแรกในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า เจ้าอยู่หัว ประกอบด้วย ปี่ใน ปี่นอก ระนาด เอก ระนาดทุ้ม ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวง เล็ก ตะโพน กลองทัด ฉิ่ง ฉาบเล็ก ฉาบ ใหญ่ กรับ และโหม่ง 3.) วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่ วงดนตรีประเภทนี้เกิดการประสมวง ครั้งแรกในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประกอบด้วย ปี่ใน ปี่นอก ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ระนาด เอกเหล็ก ระนาดทุ้มเหล็ก ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวง เล็ก ตะโพน กลองทัด ฉิ่ง ฉาบเล็ก ฉาบ ใหญ่ กรับ และโหม่ง
  • 19. 2. วงเครื่องสายไทย วงเครื่องสายไทยเป็นวงดนตรีที่ประกอบด้วยเครื่องดนตรีประเภทที่มีสายเป็นหลัก ส่วนเครื่องดนตรีชนิดอื่นๆที่ประสมในวง เครื่องสาย นิยมใช้เครื่องดนตรีที่มีระดับเสียงที่มีความกลมกลืนสอดคล้องกับเครื่องดนตรีอื่นๆในวง แบ่งออกเป็น ๒ ชนิด ดังนี้ 1.) วงเครื่องสายเครื่องเดี่ยวหรือวงเครื่องสายวงเล็ก เครื่องดนตรีประกอบด้วยซอด้วง ๑ คัน ซออู้ ๑ คัน จะเข้ ๑ ตัว ขลุ่ยเพียงออ ๑ เลา โทน-รามะนา ๑ สารับ ฉิ่ง ๑ คู่ และฉาบเล็ก ๑ คู่ 2.) วงเครื่องสายเครื่องคู่ เครื่องดนตรีประกอบด้วย ซอด้วง ๒ คัน ซออู้ ๒ คัน จะเข้ ๒ ตัว ขลุ่ยเพียงออ ๑ เลา ขลุ่ยหลีบ ๑ เลา โทน-รามะนา ๑ สารับ ฉิ่ง ๑ คู่ ฉาบเล็ก ๑ คู่ กรับ ๑ คู่ และโหม่ง ๑ ใบ
  • 20. 3. วงมโหรี วงมโหรีเป็นวงที่มีเครื่องดนตรีประสมวงครบทุกกลุ่ม คือ เครื่องดีด สี ตี และเป่า ลักษณะเด่นของวง ดนตรีประเภทนี้คือ ความกลมกลืนของระบบเสียงที่ใช้เครื่องดนตรีประเภทเครื่องตีที่ถูกย่อสัดส่วน สาหรับฆ้องวงที่ประสมในวงดนตรี ประเภทนี้เรียกอีกชื่อหนึ่งว่าฆ้องมโหรี การปรับลดขนาดเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตีเพราะต้องการให้ระบบเสียงมีความดังที่เข้ากันได้ กับเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย วงมโหรีมีการประสมวงและถือเป็นแบบแผนมาตั้งแต่สมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวจาแนกออกเป็น ๓ ขนาด ดังนี้ 1.) วงมโหรีเครื่องเดี่ยว เครื่องดนตรีประกอบด้วย ซอสามสาย ๑ คัน ขลุ่ยเพียงออ ๑ เลา ระนาดเอก ๑ รางฆ้องวงใหญ่ ๑ วง จะเข้ ๑ ตัว ซอด้วง ๑ คัน ซออู้ ๑ คัน โทน-รามะนา ๑ สารับ ฉิ่ง ๑ คู่ 2.) วงมโหรีเครื่องคู่ เครื่องดนตรีประกอบด้วยซอสามสาย ๑ คัน ซอสามสายหลีบ ๑ คัน ขลุ่ยเพียงออ ๑ เลา ขลุ่ยหลีบ ๑ เลา ระนาดเอก ๑ ราง ระนาดทุ้ม ๑ ราง ฆ้องวงใหญ่ ๑ วง ฆ้องวงเล็ก ๑ วง จะเข้ ๒ ตัว ซอด้วง ๒ คัน ซออู้ ๒ คัน โทน- รามะนา๑สารับ ฉิ่ง๑คู่ ฉาบเล็ก๑คู่ กรับ๑คู่ โหม่ง๑ใบ
  • 21. 3.) วงมโหรีเครื่องใหญ่ เครื่องดนตรีประกอบด้วยซอสามสาย ๑ คัน ซอสามสายหลีบ ๑ คัน ขลุ่ยเพียงออ ๑ เลา ขลุ่ยหลีบ ๑ เลา ระนาดเอกมโหรี ๑ ราง ระนาดทุ้มมโหรี ๑ ราง ระนาดเอก เหล็กมโหรี ๑ ราง ระนาดทุ้มเหล็กมโหรี ๑ ราง ฆ้องวงใหญ่ ๑ วง ฆ้องวงเล็ก ๑ วง จะเข้ ๒ ตัว ซอด้วง ๒ คัน ซออู้ ๒ คัน โทน-รามะนา ๑ สารับ ฉิ่ง ๑ คู่ ฉาบเล็ก ๑ คู่ กรับ ๑ คู่ โหม่ง ๑ ใบ
  • 22. 4. วิธีการรักษาเครื่องดนตรีไทย 3 เครื่อง การดูแลรักษาเครื่องดนตรีไทย เครื่องดนตรีไทยมีหลายประเภท หลายชนิด แต่ละชนิดจะมีลักษณะและส่วนประกอบที่แตกต่างกันไป ดังนั้นผู้ใช้เครื่องดนตรีจึง ควรให้ความสาคัญเกี่ยวกับการใช้และการเก็บรักษาให้มาก ปฏิบัติให้ถูกต้องตามวิธีการต่าง ๆ การใช้เครื่องดนตรี ก่อนใช้จะต้องตรวจดูแลความเรียบร้อยของส่วนประกอบ หลักกลไกต่าง ๆ ที่ทาให้เกิดเสียง ว่าเครื่องดนตรี ชนิดนั้นมีความพร้อมหรือไม่ โดยเฉพาะเรื่องของเสียงเครื่องดนตรี ผู้เล่นจะต้องตรวจดูแลเป็นอย่างดี เพื่อให้บทเพลงที่บรรเลงด้วยเครื่อง ดนตรีเหล่านี้มีคุณภาพ มีความไพเราะน่าฟัง และสามารถใช้งานได้ตลอดไป ไม่เกิดชารุดเสียหายก่อนงานจะเลิก โดยเฉพาะเครื่องดนตรี ประเภทเครื่องสาย ซึ่งมีส่วนประกอบละเอียดอ่อนชารุดเสียหายง่าย จึงต้องระวังเป็นพิเศษในขณะที่ใช้งานหรือเวลาบรรเลง การเก็บรักษาเครื่องดนตรี การเก็บรักษาเครื่องดนตรี นับว่ามีความสาคัญไม่น้อยกว่าการดูแลความพร้อมใช้ก่อนการบรรเลง เช่นกัน ดังได้กล่าวมาแล้วว่า เครื่องดนตรีมีหลายชนิด แต่ละชนิดจะมีส่วนประกอบและหลักกลไกที่แตกต่างกัน การเก็บรักษาให้ถูกวีจึง เป็นสิ่งสาคัญที่ผู้เล่นดนตรีจะต้องตระหนักอยู่เสมอ และต้องปฏิบัติให้ถูกต้องตามหลักการ จึงจะทาให้เครื่องดนตรีมีความคงทนสามารถ ใช้งานได้อย่างคุ้มค่า โดยปฏิบัติดังนี้ 1. หลังเลิกเล่นทุกครั้งต้องลดสาย ปลดเชือกหรือทาอย่างอื่นตามลักษณะเฉพาะของเครื่องดนตรีแต่ละชนิดให้อยู่ในสภาพที่จะ เก็บหรือไม่ใช้งาน 2. ทาความสะอาดเครื่องดนตรีแต่ละชนิดด้วยน้ายา และอุปกรณ์ที่เหมาะสมกับเครื่องดนตรีแต่ละชนิด 3. เก็บใส่ภาชนะที่มีลักษณะเฉพาะของเครื่องดนตรีแต่ละชนิด 4. เก็บไว้ในที่ที่มีความเหมาะสม
  • 23. วิธีเก็บรักษาเครื่องดนตรีไทย การเก็บรักษาซอ 1. เมื่อเลิกเล่นให้ลดสายด้วยการหมุนลูกบิดลงประมาณครึ่งรอบ แล้วเลื่อนหมอนรองสายขึ้นไว้บนขอบกะโหลกซอ 2. ทาความสะอาดโดยใช้ผ้าแห้งเช็ด 3. แขวนหรือใส่ถุงเก็บใส่ตู้ให้มิดชิด การเก็บรักษาระนาดเอก–ระนาดทุ้ม 1. ปลดเชือกคล้องหูระนาดข้างซ้ายมือลงข้างหนึ่ง 2. ใช้ผ้าคลุม กันฝุ่นจับ 3. ถ้าเลิกใช้งานโดยถาวร ควรม้วนผืนระนาดเก็บ การม้วนผืนระนาดควรหาผ้ารองหลังผืนระนาดเพื่อป้องกันการเกิดริ้วรอย 4. หากตะกั่วหลุด ควรติดให้อยู่ในสภาพเดิม 5. หากผ้าพันไม้ตีหลุด ให้รีบพันไว้อย่างเดิม ป้องกันลูกระนาดแตก การเก็บรักษาขลุ่ย 1. หลังการเป่าควรเช็ดให้สะอาด 2. เก็บใส่ถุงให้เรียบร้อย 3. หากเลาขลุ่ยแตก ให้ใช้กาวติด
  • 24. 5. เศียรดนตรีไทย 3 เศียร 1. หัวโขนพระอิศวรแทนสมมติเทพองค์พระอิศวร ครูเทพเจ้าผู้สร้างโลก เป็นใหญ่ในหมู่เทพเจ้าทั้งมวล ทรงเป็นผู้ประทาน ศิลปวิทยาการทั้งหลายในโลกมนุษย์ ลักษณะหัวโขน หน้าพระสีขาว สวมมงกุฎน้าเต้ากาบ นอกจากนี้ยังมี การทามงกุฎเป็นยอดต่างๆ อีก เช่น ยอด น้าเต้ากาบทรงปลี ยอดน้าเต้ากาบทัดจันทร์ และยอดน้าเต้ากาบปลายสะบัด เป็นต้น
  • 25. 2. หัวโขนพระนารายณ์แทนสมมติเทพองค์พระนารายณ์ครูเทพเจ้าผู้บริหารและรักษาโลก เป็นเทพเจ้าผู้รักษาความดี ทรง เป็นมหาเทพผู้ทรงรักษาวิชาการไว้ให้อยู่คู่โลก ลักษณะหัวโขน หน้าพระสีดอกตะแบก(สีชมพูอมม่วง) สวมมงกุฎยอดเดินหน หรือมงกุฎยอดชัย
  • 26. 3. หัวโขนพระพรหมแทนสมมติเทพองค์พระพรหม ครูเทพเจ้าผู้สร้างโลก เป็นเทพเจ้าแห่งพรหมวิหาร เป็นใหญ่ในชั้นพรหม ลักษณะหัวโขน หน้าพระสีขาว ๔ หน้า ชั้นแรกเป็นหน้าปกติ ๑ หน้า ชั้นที่ ๒ เป็นหน้าเล็ก ๓ หน้า สวมมงกุฎชัย นอกจากนี้ยังมีการทาอีกแบบคือมีหน้าปกติ ๑ หน้า และหน้าเล็ก ๓ หน้าเรียงไว้ตรงท้ายทอย สวมมงกุฎน้าเต้า ๕ ยอด
  • 27. จัดทำโดย ด.ช.ปิติ ผลรัตนไพบูลย์ เลขที่ 13 ด.ช.ไรวินร์ ลือศำนติวิไล เลขที่ 19 ด.ญ.ธัญชิดำ เสียงหย่อง เลขที่ 31 ด.ญ.กัญญำภัค ปำนทอง เลขที่24 ชั้น ม.1/12