SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
คีตะการ ดนตรี
ล้านนา
ดนตรีล้านนา
   ดนตรีการล้านนามีมานานตามที่ปรากฏจาก
หลักฐาน ในอดีตถึงปัจจุบันกล่าวถึงเครื่องดนตรี
บางประเภทอาจไม่มีใครเคยคิดว่าเป็น สิ่งที่อยู่
กับล้านนามาก่อน เช่น จะเข้ แตรสังข์ และแคน
เครื่องดนตรีเหล่านี้แพร่กระจายในแถบล้านนา
และไทยมาช้านาน จากการศึกษาหลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์อาจจะกล่าวได้ว่าดนตรีล้านนาใน
อดีตมักมี บทบาทที่โยงใยกับชีวิตความเป็นอยู่
และที่สำาคัญยังโยงใยกับศาสนาและกษัตริย์
การดำารงอยู่คงต้องอาศัยปัจจัยสำาคัญอย่าง
น้อย ๒ ประการได้แก่ แรงสนับสนุนส่งเสริม
และ ความนิยม ซึ่งแรงสนับสนุนส่งเสริมที่
ปรากฏชัดได้แก่ การจัดสอนฟ้อนรำาและดนตรี
ในราชสำานักอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ในระยะแรก
อาจสอนเฉพาะแบบราชสำานัก ต่อมามีการส่ง
เสริมการฟ้อนรำาและดนตรีพื้นบ้านเข้าไปด้วย
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสมัยพระราชชายาเจ้า
ดารารัศในรัชกาลที่ ๕ มีท่านทรงสนับสนุนให้มี
การศึกษาดนตรีไทยภาคกลาง มโหรี ปี่พาทย์
 เป็นต้น สำาหรับ ดนตรีถึงแม้จะไม่มีหลักฐาน
อ้างอิงว่าทรงส่งเสริมเครื่องดนตรีล้านนาชนิดใด
แต่พออนุมานหรือคาดเดาจากร่องรอยการแสดง
ที่หลงเหลือมาถึงปัจจุบัน เช่น ละครร้องเรื่อง
น้อยใจยา น่าจะใช้สะล้อและซึงเป็นหลัก การ
ฟ้อนเล็บ น่าจะใช้วงกลองตึ่งนง ส่วนฟ้อนม่าน
มุ้ยเชียงตา ฟ้อนดาบ น่าจะเป็นวงปี่พาทย์ (วง
เต่งถิ้ง) เป็นต้น
” ”เครื่องดนตรีประเภท ดีด
1. พิณเปี๊ยะ / เปี๊ยะ
1. เพียะ ( “ ”อ่าน เปี๊ยะ ) และ ซึง ในโคลงนิราศหริภุญชัย
เรียกซึงว่าติ่งเช่นเดียวกับที่ชาวไทใหญ่เรียก เพียะ เป็นเครื่อง
ดีดจำาพวกพิณ จัดเป็นเครื่องดนตรีที่เก่าแก่ชนิดหนึ่งของล้าน
นาและปรากฎการกล่าวถึงใน กาพย์ห่อโคลง ของพระศรี
มโหสถในสมัยอยุธยาด้วย มีลักษณะคล้ายพิณนำ้าเต้าของภาค
อีสาน การเล่นเพียะเท่าที่พบนั้นส่วนมากเป็นการเล่นเดี่ยว ไม่
ค่อยเล่นประสมวง และไม่นิยมมีการขับร้องประกอบ เนื่องจาก
เสียงของเพียะไม่ค่อยดังนัก อาจมีการช้อยโคลง ( “อ่าน จ๊อ
”ยกะโลง ) ประกอบคือขับโคลงเป็นทำานองเสนาะ ส่วนเพลงที่
เล่นนั้นสามารถเล่นได้ทุกเพลงเท่าที่เครื่องดนตรีอื่นๆ ในระดับ
ชาวบ้านจะเล่นได้ เช่น เพลง จก ไหล ปุ๋มเป้ง เก้าปุ๋มป่ง
ปราสาทไหว ปราสาทกุด เงี้ยว พม่า อื่อ ฯลฯ
พิณเปี๊ยะ / เปี๊ยะ
2. ซึง
2. ซึง บางท้องถิ่นเรียกว่า ติ่ง มีลักษณะคล้ายกระจับปี่หรือคล้าย
พิณหรือซุงของภาคอีสาน หรือคล้ายกีตาร์ขนาดเล็ก ซึงประกอบด้วย
กล่องเสียง มีคอยื่นออกไปและขึงสายซึ่งเป็นต้นกำาเนิดเสียง จากปลาย
คอผ่านกลางกล่องเสียงไปยังขอบของกล่องเสียงอีกด้านหนึ่ง อาจใช้
ไม้ทั้งท่อนทำาซึงทั้งกล่องเสียงและคอโดยเป็นไม้ชิ้นเดียวกัน หรือ
คนละชิ้นทำาแยกส่วนก็ได้ ตัวซึงมักจะใช้ไม้เนื้ออ่อนหรือไม้สักทำาทั้ง
แผ่นเพราะขุดเนื้อไม้ทำาเป็น กล่องเสียงได้ง่าย ความหนาของกล่อง
เสียงขึ้นอยู่กับชนิดของไม้ที่จะใช้ทำาและขนาดของซึงที่ต้องการ
ซึงนับเป็นเครื่องดนตรีที่นักดนตรีเกือบทุกคนสามารถทำาขึ้นไว้
เล่นเองได้ และเป็นเครื่องดนตรีที่มีขายอย่างแพร่หลายแหล่งที่ทำาซึง
ขายนั้นนอกจากจะเป็น กลุ่มนักดนตรีที่เล่นเป็นอาชีพจะรับทำาเมื่อมีคน
มาสั่งแล้ว ยังมีวางขายที่ตลาดกลางคืน ถนนช้างคลาน และที่บ่อสร้าง
อำาเภอสันกำาแพง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นต้น
ซึง
” ”เครื่องดนตรีประเภท สี
เครื่องสายที่มีคันสี เสียงดนตรีจะเกิดจากการเสียดสี
ระหว่างสายคันชักกับสายเส้นลวดทองเหลืองที่ ขึงตึงอยู่
เครื่องดนตรีประเภทเครื่องสีของล้านนา ได้แก่สะล้อ
สะล้อ อาจเรียกว่า ถะล้อ ธะล้อ หรือ ทะร้อ ซึ่งมีรูปศัพท์เดิม
“ ”จากภาษาขอมว่า ทฺรอ ซึ่งภาษาไทยกลางออกเสียงเป็น
“ ” “ ”ซอ แต่ในโคลงนิราศหริภิญชัยว่า ธะล้อ เป็นเครื่อง
สายที่บรรเลงด้วยการใช้คันชักสีลงบนสายที่ขึงผ่านหน้า
กล่องเสียง มีรูปร่างใกล้เคียงกับซออู้
สะล้อมี ๓ ขนาด ได้แก่
๑. สะล้อเล็ก มี ๒ สาย
๒.สะล้อกลาง มี ๒ สาย
๓.สะล้อใหญ่ มี ๓ สาย มีวิธีการเล่นคล้ายซอ
สามสายแต่ไม่เอาคันชักไว้ระหว่างสาย
สะล้อ ที่นิยมบรรเลงคือสะล้อที่มี ๒ สาย ส่วนสะล้อ ๓ สาย
ไม่ค่อยมีผู้นิยมเล่น เพราะเล่นยากกว่าสะล้อ ๒ สาย
นอกจากใช้สะล้อบรรเลงเดี่ยวแล้ว ยังนิยมใช้บรรเลงร่วม
กับวงดนตรีพื้นเมืองสะล้อ-ซึง
สะล้อ
” ”เครื่องตนตรีประเภท ตี
กลองหลวง
1.  กลองหลวง หรือ กลองห้ามมาร รูป
ลักษณะเป็นกลองยาวคอดกลางปลายบานเป็น
ลำาโพง ยาวประมาณ 3.0-3.5เมตร ขนาดหน้า
กลองเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 60-80 เซนติเมตร
ต้องวางบนล้อเกวียน ใช้คนลากหลายคน เวลาตี
ต้องขึ้นนั่งคร่อมตีหรือยืนอยู่ด้านหน้ากลอง ใช้
มือขวาตีโดยมีผ้าพันมือทำาเป็นรูปกรวยแหลมให้
ผ้าพันมือกระทบหน้ากลอง ใช้ตีเป็นสัญญาณ
วันพระ 8 คำ่า หรือ 15 คำ่า ในล้านนามีประเพณี
การแข่งขันตีกลองหลวง ซึ่งนิยมกันมากในช่วง
พ.ศ.2520 เป็นต้นมา
กลองหลวง
กลองเต่งถิ้ง
2. กลองเต่งถิ้ง หรือ กลองโป่งป้ง เป็นก
ลองขึ้นหนังสองหน้า มีขาตั้ง ใช้ตีทั้งสองหน้า
ลักษณะเดียวกับตะโพนไทยและตะโพนมอญ
“ ” “ใช้เล่นประสมวง เต่งถิ้ง หรือ วง พาทย์
” (วงปี่พาทย์มอญ) และวงสะล้อ-ซึง (ดูเรื่องการ
ประสมวงต่อไป) กลองชนิดนี้มีหลายขนาด มี
ตั้งแต่ขนาดหน้ากลองเส้นผ่าศูนย์กลาง 20-40
เซนติเมตร และความยาวของตัวกลองตั้งแต่ 45-
60 “เซนติเมตร ถ้าเป็นขนาดเล็กบางทีก็เรียกว่า
” “ ”กลองโป่งป้ง หรือ กลองตัด
กลองเต่งถิ้ง
” ”เครื่องดนตรีประเภท เป่า
ปี่จุม / ปี่ชุม
 ปี่จุมมีทั้งหมด ๕ เลา คือ
๑. ปี่แม่ หรือ ปี่เค้า ( “ ”อ่าน ปี่เก๊า ) ทำาจากไม้ไผ่
ส่วนโคนมีขนาดใหญ่ที่สุดของแต่ละชุม มีขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลางเกือบ ๒ เซนติเมตร ยาวไม่ตำ่า
กว่า ๗๕ เซนติเมตร ปี่แม่มีเสียงทุ้มตำ่า
๒. ปี่กลาง ( “ ”อ่าน ปี่ก๋าง ) มีขนาดรองลงไป ทำา
จากไม้ไผ่ช่วงที่ถัดจากปี่แม่ลงไป มีความยาว
ประมาณ ๔ ส่วนใน ๕ ส่วนของปี่แม่ ปี่กลางมี
เสียงสูงขึ้นมา
๓. ปี่ก้อย มีขนาดเล็กถัดจากปี่กลางลงไป ทำาจากไม้ช่วง
ที่ถัดจากปี่กลางลงไป มีความยาวประมาณ ๓ ส่วน ใน ๔
ส่วนของปี่กลาง ปี่ก้อยมีเสียงสูงกว่าปี่กลาง
๔. ปี่เล็ก เป็นปี่ที่ทำาจากไม้ช่วงที่ถัดจากปี่ก้อยลงไป มี
ความยาวเป็นครึ่งหนึ่งของปี่กลางและเส้นผ่าศูนย์กลาง
ประมาณ ๑.๒-๑.๔ เซนติเมตร ปี่เล็กเป็นปี่ที่มีเสียงสูงกว่า
ปี่ก้อย
๕. ปี่ตัด เป็นปี่ที่มีขนาดเล็กที่สุดของชุม ซึ่งเป็นปี่ที่เพิ่งจะ
เพิ่มมาภายหลัง ปัจจับันไม่ค่อยนิยมใช้เท่าใดนักเพราะ
เป็นปี่ที่เป่ายากที่สุดในชุม
ปี่จุม
ปี่แน
แน เป็นเครื่องเป่าประเภทหนึ่งบางครั้งถูกชาวบ้าน
เรียกว่า ปี่แน พบว่ามีขายแม้กระทั่งในตลาดของเมืองตาลี
มณฑลยูนนาน ประเทศจีน และอาจจะได้รับอิทธิพลมา
จากพม่า ซึ่งมีเครื่องดนตรีประเภทเดียวกันนี้อยู่ด้วย ลิ้น
ของแนทำาด้วยใบลานหรือใบตาล เป็นลิ้นคู่ประกบกันอยู่
รอบๆ ท่อโลหะเล็กๆ ท่อนี้เสียงเข้าไปในท่อไม้กลมยาวซึ่ง
ค่อยๆ มีขนาดใหญ่ขึ้น ท่อไม้นี้กลวงตลอดและรูภายใน
ค่อยๆ โตขึ้นตามขนาดของไม้ด้วย รูที่เจาะบนท่อไม้เป็น
ระยะสำาหรับปิดเปิดด้วยนิ้วมือทั้งสองข้าง ซึ่งมีจำานวน ๖ รู
ปากลำาโพงทำาด้วยทองเหลือง ผู้เป่าที่ชำานาญอาจใช้แน
ทำาเสียงให้ได้อารมณ์ต่างๆ หลายชนิด
แน มี ๒ ขนาด คือ แนหลวง หรือแนใหญ่ มารูปร่าง
ลักษณะขนาดและวิธีเล่นเหมือนกับปี่มอญ
ปี่แน

More Related Content

Similar to คีตะการ ดนตรีล้านนา

ความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรีความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรีleemeanxun
 
วิชาดนตรี.pptx
วิชาดนตรี.pptxวิชาดนตรี.pptx
วิชาดนตรี.pptxssuser5334dc
 
ประวัติดนตรีไทย
ประวัติดนตรีไทยประวัติดนตรีไทย
ประวัติดนตรีไทยUsername700
 
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากลThanakrit Muangjun
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2bmbeam
 
ทักษ์ดนัย
ทักษ์ดนัยทักษ์ดนัย
ทักษ์ดนัยgemini_17
 
พิณ
พิณพิณ
พิณbawtho
 

Similar to คีตะการ ดนตรีล้านนา (15)

ความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรีความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรี
 
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
 
ประวัติดนตรีไทย 56
ประวัติดนตรีไทย 56ประวัติดนตรีไทย 56
ประวัติดนตรีไทย 56
 
วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56
 
วิชาดนตรี.pptx
วิชาดนตรี.pptxวิชาดนตรี.pptx
วิชาดนตรี.pptx
 
ประวัติดนตรีไทย
ประวัติดนตรีไทยประวัติดนตรีไทย
ประวัติดนตรีไทย
 
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 
ทักษ์ดนัย
ทักษ์ดนัยทักษ์ดนัย
ทักษ์ดนัย
 
Art
ArtArt
Art
 
Art
ArtArt
Art
 
พิณ
พิณพิณ
พิณ
 
Music
MusicMusic
Music
 
ดนตรีไทยสมัยรัตน
ดนตรีไทยสมัยรัตนดนตรีไทยสมัยรัตน
ดนตรีไทยสมัยรัตน
 
ยุคสมัยของดนตรีไทย
ยุคสมัยของดนตรีไทยยุคสมัยของดนตรีไทย
ยุคสมัยของดนตรีไทย
 

คีตะการ ดนตรีล้านนา

  • 2. ดนตรีล้านนา    ดนตรีการล้านนามีมานานตามที่ปรากฏจาก หลักฐาน ในอดีตถึงปัจจุบันกล่าวถึงเครื่องดนตรี บางประเภทอาจไม่มีใครเคยคิดว่าเป็น สิ่งที่อยู่ กับล้านนามาก่อน เช่น จะเข้ แตรสังข์ และแคน เครื่องดนตรีเหล่านี้แพร่กระจายในแถบล้านนา และไทยมาช้านาน จากการศึกษาหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์อาจจะกล่าวได้ว่าดนตรีล้านนาใน อดีตมักมี บทบาทที่โยงใยกับชีวิตความเป็นอยู่ และที่สำาคัญยังโยงใยกับศาสนาและกษัตริย์
  • 3. การดำารงอยู่คงต้องอาศัยปัจจัยสำาคัญอย่าง น้อย ๒ ประการได้แก่ แรงสนับสนุนส่งเสริม และ ความนิยม ซึ่งแรงสนับสนุนส่งเสริมที่ ปรากฏชัดได้แก่ การจัดสอนฟ้อนรำาและดนตรี ในราชสำานักอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ในระยะแรก อาจสอนเฉพาะแบบราชสำานัก ต่อมามีการส่ง เสริมการฟ้อนรำาและดนตรีพื้นบ้านเข้าไปด้วย
  • 4. โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสมัยพระราชชายาเจ้า ดารารัศในรัชกาลที่ ๕ มีท่านทรงสนับสนุนให้มี การศึกษาดนตรีไทยภาคกลาง มโหรี ปี่พาทย์  เป็นต้น สำาหรับ ดนตรีถึงแม้จะไม่มีหลักฐาน อ้างอิงว่าทรงส่งเสริมเครื่องดนตรีล้านนาชนิดใด แต่พออนุมานหรือคาดเดาจากร่องรอยการแสดง ที่หลงเหลือมาถึงปัจจุบัน เช่น ละครร้องเรื่อง น้อยใจยา น่าจะใช้สะล้อและซึงเป็นหลัก การ ฟ้อนเล็บ น่าจะใช้วงกลองตึ่งนง ส่วนฟ้อนม่าน มุ้ยเชียงตา ฟ้อนดาบ น่าจะเป็นวงปี่พาทย์ (วง เต่งถิ้ง) เป็นต้น
  • 6. 1. พิณเปี๊ยะ / เปี๊ยะ 1. เพียะ ( “ ”อ่าน เปี๊ยะ ) และ ซึง ในโคลงนิราศหริภุญชัย เรียกซึงว่าติ่งเช่นเดียวกับที่ชาวไทใหญ่เรียก เพียะ เป็นเครื่อง ดีดจำาพวกพิณ จัดเป็นเครื่องดนตรีที่เก่าแก่ชนิดหนึ่งของล้าน นาและปรากฎการกล่าวถึงใน กาพย์ห่อโคลง ของพระศรี มโหสถในสมัยอยุธยาด้วย มีลักษณะคล้ายพิณนำ้าเต้าของภาค อีสาน การเล่นเพียะเท่าที่พบนั้นส่วนมากเป็นการเล่นเดี่ยว ไม่ ค่อยเล่นประสมวง และไม่นิยมมีการขับร้องประกอบ เนื่องจาก เสียงของเพียะไม่ค่อยดังนัก อาจมีการช้อยโคลง ( “อ่าน จ๊อ ”ยกะโลง ) ประกอบคือขับโคลงเป็นทำานองเสนาะ ส่วนเพลงที่ เล่นนั้นสามารถเล่นได้ทุกเพลงเท่าที่เครื่องดนตรีอื่นๆ ในระดับ ชาวบ้านจะเล่นได้ เช่น เพลง จก ไหล ปุ๋มเป้ง เก้าปุ๋มป่ง ปราสาทไหว ปราสาทกุด เงี้ยว พม่า อื่อ ฯลฯ
  • 8. 2. ซึง 2. ซึง บางท้องถิ่นเรียกว่า ติ่ง มีลักษณะคล้ายกระจับปี่หรือคล้าย พิณหรือซุงของภาคอีสาน หรือคล้ายกีตาร์ขนาดเล็ก ซึงประกอบด้วย กล่องเสียง มีคอยื่นออกไปและขึงสายซึ่งเป็นต้นกำาเนิดเสียง จากปลาย คอผ่านกลางกล่องเสียงไปยังขอบของกล่องเสียงอีกด้านหนึ่ง อาจใช้ ไม้ทั้งท่อนทำาซึงทั้งกล่องเสียงและคอโดยเป็นไม้ชิ้นเดียวกัน หรือ คนละชิ้นทำาแยกส่วนก็ได้ ตัวซึงมักจะใช้ไม้เนื้ออ่อนหรือไม้สักทำาทั้ง แผ่นเพราะขุดเนื้อไม้ทำาเป็น กล่องเสียงได้ง่าย ความหนาของกล่อง เสียงขึ้นอยู่กับชนิดของไม้ที่จะใช้ทำาและขนาดของซึงที่ต้องการ ซึงนับเป็นเครื่องดนตรีที่นักดนตรีเกือบทุกคนสามารถทำาขึ้นไว้ เล่นเองได้ และเป็นเครื่องดนตรีที่มีขายอย่างแพร่หลายแหล่งที่ทำาซึง ขายนั้นนอกจากจะเป็น กลุ่มนักดนตรีที่เล่นเป็นอาชีพจะรับทำาเมื่อมีคน มาสั่งแล้ว ยังมีวางขายที่ตลาดกลางคืน ถนนช้างคลาน และที่บ่อสร้าง อำาเภอสันกำาแพง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นต้น
  • 11. เครื่องสายที่มีคันสี เสียงดนตรีจะเกิดจากการเสียดสี ระหว่างสายคันชักกับสายเส้นลวดทองเหลืองที่ ขึงตึงอยู่ เครื่องดนตรีประเภทเครื่องสีของล้านนา ได้แก่สะล้อ สะล้อ อาจเรียกว่า ถะล้อ ธะล้อ หรือ ทะร้อ ซึ่งมีรูปศัพท์เดิม “ ”จากภาษาขอมว่า ทฺรอ ซึ่งภาษาไทยกลางออกเสียงเป็น “ ” “ ”ซอ แต่ในโคลงนิราศหริภิญชัยว่า ธะล้อ เป็นเครื่อง สายที่บรรเลงด้วยการใช้คันชักสีลงบนสายที่ขึงผ่านหน้า กล่องเสียง มีรูปร่างใกล้เคียงกับซออู้ สะล้อมี ๓ ขนาด ได้แก่ ๑. สะล้อเล็ก มี ๒ สาย ๒.สะล้อกลาง มี ๒ สาย ๓.สะล้อใหญ่ มี ๓ สาย มีวิธีการเล่นคล้ายซอ สามสายแต่ไม่เอาคันชักไว้ระหว่างสาย สะล้อ ที่นิยมบรรเลงคือสะล้อที่มี ๒ สาย ส่วนสะล้อ ๓ สาย ไม่ค่อยมีผู้นิยมเล่น เพราะเล่นยากกว่าสะล้อ ๒ สาย นอกจากใช้สะล้อบรรเลงเดี่ยวแล้ว ยังนิยมใช้บรรเลงร่วม กับวงดนตรีพื้นเมืองสะล้อ-ซึง
  • 14. กลองหลวง 1.  กลองหลวง หรือ กลองห้ามมาร รูป ลักษณะเป็นกลองยาวคอดกลางปลายบานเป็น ลำาโพง ยาวประมาณ 3.0-3.5เมตร ขนาดหน้า กลองเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 60-80 เซนติเมตร ต้องวางบนล้อเกวียน ใช้คนลากหลายคน เวลาตี ต้องขึ้นนั่งคร่อมตีหรือยืนอยู่ด้านหน้ากลอง ใช้ มือขวาตีโดยมีผ้าพันมือทำาเป็นรูปกรวยแหลมให้ ผ้าพันมือกระทบหน้ากลอง ใช้ตีเป็นสัญญาณ วันพระ 8 คำ่า หรือ 15 คำ่า ในล้านนามีประเพณี การแข่งขันตีกลองหลวง ซึ่งนิยมกันมากในช่วง พ.ศ.2520 เป็นต้นมา
  • 16. กลองเต่งถิ้ง 2. กลองเต่งถิ้ง หรือ กลองโป่งป้ง เป็นก ลองขึ้นหนังสองหน้า มีขาตั้ง ใช้ตีทั้งสองหน้า ลักษณะเดียวกับตะโพนไทยและตะโพนมอญ “ ” “ใช้เล่นประสมวง เต่งถิ้ง หรือ วง พาทย์ ” (วงปี่พาทย์มอญ) และวงสะล้อ-ซึง (ดูเรื่องการ ประสมวงต่อไป) กลองชนิดนี้มีหลายขนาด มี ตั้งแต่ขนาดหน้ากลองเส้นผ่าศูนย์กลาง 20-40 เซนติเมตร และความยาวของตัวกลองตั้งแต่ 45- 60 “เซนติเมตร ถ้าเป็นขนาดเล็กบางทีก็เรียกว่า ” “ ”กลองโป่งป้ง หรือ กลองตัด
  • 19. ปี่จุม / ปี่ชุม  ปี่จุมมีทั้งหมด ๕ เลา คือ ๑. ปี่แม่ หรือ ปี่เค้า ( “ ”อ่าน ปี่เก๊า ) ทำาจากไม้ไผ่ ส่วนโคนมีขนาดใหญ่ที่สุดของแต่ละชุม มีขนาด เส้นผ่าศูนย์กลางเกือบ ๒ เซนติเมตร ยาวไม่ตำ่า กว่า ๗๕ เซนติเมตร ปี่แม่มีเสียงทุ้มตำ่า ๒. ปี่กลาง ( “ ”อ่าน ปี่ก๋าง ) มีขนาดรองลงไป ทำา จากไม้ไผ่ช่วงที่ถัดจากปี่แม่ลงไป มีความยาว ประมาณ ๔ ส่วนใน ๕ ส่วนของปี่แม่ ปี่กลางมี เสียงสูงขึ้นมา
  • 20. ๓. ปี่ก้อย มีขนาดเล็กถัดจากปี่กลางลงไป ทำาจากไม้ช่วง ที่ถัดจากปี่กลางลงไป มีความยาวประมาณ ๓ ส่วน ใน ๔ ส่วนของปี่กลาง ปี่ก้อยมีเสียงสูงกว่าปี่กลาง ๔. ปี่เล็ก เป็นปี่ที่ทำาจากไม้ช่วงที่ถัดจากปี่ก้อยลงไป มี ความยาวเป็นครึ่งหนึ่งของปี่กลางและเส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณ ๑.๒-๑.๔ เซนติเมตร ปี่เล็กเป็นปี่ที่มีเสียงสูงกว่า ปี่ก้อย ๕. ปี่ตัด เป็นปี่ที่มีขนาดเล็กที่สุดของชุม ซึ่งเป็นปี่ที่เพิ่งจะ เพิ่มมาภายหลัง ปัจจับันไม่ค่อยนิยมใช้เท่าใดนักเพราะ เป็นปี่ที่เป่ายากที่สุดในชุม
  • 22. ปี่แน แน เป็นเครื่องเป่าประเภทหนึ่งบางครั้งถูกชาวบ้าน เรียกว่า ปี่แน พบว่ามีขายแม้กระทั่งในตลาดของเมืองตาลี มณฑลยูนนาน ประเทศจีน และอาจจะได้รับอิทธิพลมา จากพม่า ซึ่งมีเครื่องดนตรีประเภทเดียวกันนี้อยู่ด้วย ลิ้น ของแนทำาด้วยใบลานหรือใบตาล เป็นลิ้นคู่ประกบกันอยู่ รอบๆ ท่อโลหะเล็กๆ ท่อนี้เสียงเข้าไปในท่อไม้กลมยาวซึ่ง ค่อยๆ มีขนาดใหญ่ขึ้น ท่อไม้นี้กลวงตลอดและรูภายใน ค่อยๆ โตขึ้นตามขนาดของไม้ด้วย รูที่เจาะบนท่อไม้เป็น ระยะสำาหรับปิดเปิดด้วยนิ้วมือทั้งสองข้าง ซึ่งมีจำานวน ๖ รู ปากลำาโพงทำาด้วยทองเหลือง ผู้เป่าที่ชำานาญอาจใช้แน ทำาเสียงให้ได้อารมณ์ต่างๆ หลายชนิด แน มี ๒ ขนาด คือ แนหลวง หรือแนใหญ่ มารูปร่าง ลักษณะขนาดและวิธีเล่นเหมือนกับปี่มอญ