SlideShare a Scribd company logo
1 of 50
กีฬาฟุตบอล
Football
จัดทาโดย
นาย พชร ปันชัย เลขที่ 7
นาย ชัยวัฒน์ รัตน์ชาญวศิน เลขที่ 17
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3
เสนอ
คุณครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์
ฟุตบอล (Football) หรือซอคเก้อร์ (Soccer) เป็นกีฬาที่มีผู้สนใจที่จะชมการแข่งขันและเข้าร่วมเล่น
มากที่สุดในโลก ชนชาติใดเป็นผู้กาเนิดกีฬาชนิดนี้อย่างแท้จริงนั้นไม่อาจจะยืนยันได้แน่นอนเพราะแต่ละชนชาติต่าง
ยืนยันว่าเกิดจากประเทศของตน แต่ในประเทศฝรั่งเศสและประเทศอิตาลี ได้มีการละเล่นชนิดหนึ่งที่เรียกว่า “ซูเลอ”
(Soule) หรือจิโอโค เดล คาซิโอ (Gioco Del Calcio) มีลักษณะการเล่นที่คล้ายคลึงกับกีฬาฟุตบอลในปัจจุบัน
ทั้งสองประเทศอาจจะถกเถียงกันว่ากีฬาฟุตบอลถือกาเนิดจากประเทศของตนอันเป็นการหาข้อยุติไม่ได้เพราะขาด
หลักฐานยืนยันอย่างแท้จริง ดังนั้น ประวัติของกีฬาฟุตบอลที่มีหลักฐานที่แท้จริงสามารถจะอ้างอิงได้เพราะการเล่นที่มี
กติกาการแข่งขันที่แน่นอน คือประเทศอังกฤษเพราะประเทศอังกฤษตั้งสมาคมฟุตบอลในปี พ.ศ.2406 และฟุตบอล
อาชีพของอังกฤษเกิดขึ้นในปี พ.ศ.2431
วิวัฒนาการด้านฟุตบอลจะเป็นไปพร้อมกับความเจริญก้าวหน้าของมนุษย์ตลอดมาต้นกาเนิดกีฬา
ตะวันออกไกลจะได้รับอิทธิพลมาจากสงครามครั้งสาคัญๆ เช่น สงครามพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชได้นาเอา “แกล
โล-โรมัน” (Gello-Roman) พร้อมกีฬาต่างๆเข้ามาสู่เมืองกอล(Gaul) อันเป็นรากฐานส่วนหนึ่งของกีฬา
ฟุตบอลในอนาคตและการเล่นฮาร์ปาสตัม(Harpastum) ได้ถูกดัดแปลงมาเป็นกีฬาซูเลอ
ประวัติฟุตบอลโลก
จุดเริ่มต้นของกีฬาฟุตบอลไม่มีหลักฐานชี้ชัดว่ากาเนิดมาจากที่ใดกันแน่ เพราะแต่ละชาติต่างออกมายืนยันว่า
ประเทศตนเองเป็นประเทศต้นกาเนิดเช่น อิตาลี กับ ฝรั่งเศส ก็มีการเล่น ซูเลอ หรือ จิโอโค เดล คาซิโอ ซึ่งมีกติกาคล้าย
กับฟุตบอลเป็นต้น
อย่างไรก็ตาม จุดเริ่มต้นของฟุตบอลที่มีหลักฐานอย่างเป็นทางการเริ่มตั้งแต่ ปี ค.ศ. 1863 (พ.ศ.2406) ที่
ประเทศอังกฤษมีการจัดตั้งสมาคมฟุตบอลอังกฤษในปีนั้นและเริ่มมีการแข่งขันฟุตบอลลีกเป็นครั้งแรกใน ค.ศ. 1888
(พ.ศ.2431) และเริ่มมีการแข่งขันระหว่างประเทศครั้งแรกในปี ค.ศ. 1889 (พ.ศ.2432)
ในปี ค.ศ. 1904 (พ.ศ.2447) เริ่มก่อตั้งสมาพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ หรือ ฟีฟ่าขึ้น และมีการแข่งขันฟุตบอล
โลกครั้งแรกใน ค.ศ. 1930 (พ.ศ.2473) ที่ประเทศอุรุกวัย
กีฬาฟุตบอลในประเทศไทย
สาหรับกีฬาฟุตบอลในประเทศไทยเริ่มเข้ามาในยุคพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 โดยมี
เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรีนาเข้ามา จากการไปเรียนที่ต่างประเทศซึ่งใน พ.ศ.2443 มีการแข่งขันฟุตบอลเป็นครั้งแรก
ระหว่างทีมชุดบางกอกกับชุดกรมศึกษาธิการ ที่สนามหลวง ปรากฎว่าเสมอกัน 2-2
ต่อมาในยุคสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 6 พระองค์ทรงสนใจกีฬาฟุตบอลอย่างมากมี
ทีมฟุตบอลส่วนพระองค์คือ ทีมเสือป่า และมีการเผยแพร่ข่าวสาร การเล่น เกี่ยวกับฟุตบอลอย่างแพร่หลายนอกจากนี้
สมาคมฟุตบอลแห่งสยามถูกก่อตั้งขึ้นเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ.2459 อีกด้วยวิธีดาเนินงาน
กฎกติกา
• กฎข้อที่ 1: สนามฟุตบอล
-สนาม เป็นสนามหญ้ารูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ความกว้างต่าสุด 50 หลา สูงสุด 100 หลา ความยาวต่าสุด 100 หลา สูงสุด
130 หลา
-เครื่องหมายในสนาม เกิดจากเส้นต่าง ๆ โดยในแต่ละเส้นจะมีความกว้างไม่เกิน 5 นิ้ว ทาเป็นสัญลักษณ์ในสนาม ได้แก่
-เส้นเขตสนาม อยู่รอบเขตสนาม ส่วนที่สั้นเรียก เส้นประตู ส่วนที่ยาวเรียก เส้นข้าง
-เส้นแบ่งเขตแดน แบ่งสนามตามขวางเป็น 2 ส่วนเท่า ๆ กัน
-จุดกึ่งกลางสนามอยู่กึ่งกลางเส้นแบ่งเขตแดนมีวงกลมรัศมี 10 หลาล้อมรอบจุดไว้
-เส้นประตู เชื่อมระหว่างโคนเสาประตูทั้ง 2 ฝั่ง
-เขตประตู คือพื้นที่ที่เกิดจากการลากเส้นจากเสาประตูทั้ง2 ฝั่งตั้งฉากกับเส้นประตูเข้าหาสนามยาว 6 หลา แล้ว
เชื่อมด้วยเส้นตรง
-เขตโทษ คือพื้นที่ที่เกิดจากการลากเส้นจากเสาประตูทั้ง2 ฝั่งขนานกับเส้นประตู ออกจากประตูยาว 16.5 เมตร
แล้วลากเส้นตั้งฉากกับเส้นประตูเข้าหาสนามยาว 16.5 เมตร แล้วเชื่อมด้วยเส้นตรง
-จุดโทษ อยู่ในเขตโทษ ห่างจากเสาประตู 12 หลา มีการเขียนส่วนโค้งนอกเขตโทษ รัศมีห่างจากจุดโทษ 10 หลา
-ประตู มีสีขาว ระยะห่างระหว่างเสาประตู8 หลา คานสูงจากพื้น 8 ฟุต มีการติดตาข่ายรองรับลูก
-มุมธง อยู่ทั้ง 4 มุมของสนาม รัศมี 1 หลา
-เสาธง เป็นจุดศูนย์กลางของมุมธงไว้แสดงเขตในการเตะมุม สูงไม่น้อยกว่า 1.5 เมตร ยอดไม่แหลม ผูกธงไว้ที่ยอด
• กฎข้อที่ 2: ลูกฟุตบอล
-เป็นทรงกลมทาจากหนัง หรือวัสดุอื่นๆ ตามความเหมาะสมที่ไม่เป็นอันตรายต่อผู้เล่น เป็นฟุตบอลเบอร์ 5 มีเส้นรอบวง
ประมาณ 68-70 เซนติเมตร น้าหนักประมาณ 410-450 กรัม
• กฎข้อที่ 3: จานวนผู้เล่น
ประกอบด้วยทีม 2 ทีม และแต่ละทีมประกอบด้วยผู้เล่นตัวจริงและตัวสารองผู้เล่นตัวจริงจะเป็นผู้เล่นชุดแรกที่ลง
สนาม ส่วนผู้เล่นตัวสารองมีไว้เพื่อสับเปลี่ยนกับผู้เล่นตัวจริงในกรณีที่ผู้เล่นตัวจริงไม่สามารถเล่นได้หรือกรณีอื่นๆตาม
ความเหมาะสมหรือตามแต่ดุลยพินิจของผู้จัดการทีม( โดยการแข่งขันเพื่อจุดประสงค์ในการคว้าแชมป์จะเปลี่ยนได้3
คนเท่านั้น แต่ถ้าเป็นการแข่งขันกระชับมิตรหรือเฉลิมฉลองสร้างความสัมพันธ์จะมีการเปลี่ยนตัวไม่จากัด) ผู้เล่นตัวจริง
ที่ลงสนามต้องมีไม่ต่ากว่า7 คน และไม่เกิน11คน และหนึ่งในนั้นจะต้องมีผู้เล่นตาแหน่ง
ผู้รักษาประตู 1 คน, ตัวสารองสามารถมีได้ไม่เกิน7 คน ถ้าเป็นการแข่ง
ทั่วไป หรือเชื่อมความสัมพันธ์ สามารถกาหนดจานวนตัวสารองได้
โดยต้องแจ้งให้กรรมการทราบก่อนการแข่งขัน
• กฎข้อที่ 4: อุปกรณ์การเล่น
ลูกฟุตบอล (ตามกฎข้อ 2) ใช้สาหรับเล่น 1 ลูก และ เครื่องแบบของนักกีฬา ทีมทั้ง 2 ทีมที่ลงแข่งขัน สมาชิกทุกคน
ในทีมยกเว้นผู้รักษาประตูจะต้องใส่ชุดแข่งขันสีเดียวกัน และทั้ง2 ทีมจะต้องใส่ชุดแข่งที่มีสีตัดกันอย่างชัดเจน จะใส่ชุด
ที่มีโทนสีคล้ายกันไม่ได้(เช่น ทีมหนึ่งใสชุดแข่งสีขาว อีกทีมหนึ่งใส่ชุดแข่งสีเหลือง)ผู้รักษาประตูจะต้องใส่ชุดแข่งที่มีสี
ไม่ซ้ากับผู้เล่นทั้ง 2 ทีม และนักกีฬาที่ทาการแข่งขันจะต้องใส่รองเท้า(ในปัจจุบันไม่อนุญาตให้นักกีฬาใช้เท้าเปล่าใน
การเล่น)
• กฎข้อที่ 5: ผู้ตัดสิน (ฟุตบอล)
โดยกรรมการจะมีหน้าที่ดังต่อไปนี้
-ปฏิบัติตามกติกาข้อ ควบคุมการแข่งขันโดยมีผู้ช่วยผู้ตัดสิน กรรมการผู้ตัดสินคนที่ 4 คอยให้ความร่วมมือช่วยเหลือตาม
ความเหมาะสม
-แน่ใจว่าลูกบอลทุกลูกทีใช้ในการแข่งขันถูกต้องตามข้อกาหนดของกติกาข้อ2
-แน่ใจว่าอุปกรณ์ของผู้เล่นถูกต้องตามข้อกาหนดของกติกาข้อ4
-ทาหน้าที่รักษาเวลาการแข่งขัน และเขียนรายงานการแข่งขัน
-พิจารณาการสั่งหยุดการเล่นหยุดการเล่นชั่วคราว หรือยุติการแข่งขัน (Suspends or Terminate the
Match)ทุกกรณีของการกระทาผิดกติกาการแข่งขัน
-พิจารณาการสั่งหยุดการเล่นหยุดการเล่นชั่วคราว หรือยุติการแข่งขัน เนื่องจากมีสิ่งรบกวนจากภายนอก ทุกชนิดทาการ
รบกวนการแข่งขัน
-สั่งหยุดการเล่นถ้าดุลยพินิจของเขาเห็นว่าผู้เล่นบาดเจ็บหนักและแน่ใจว่าเคลื่อนย้าออกจากสนามแข่งขันไปแล้วผู้เล่นที่
บาดเจ็บนั้นจะกลับเข้าไปในสนามแข่งได้อีกเอภายหลังการเริ่มเล่นใหม่ได้เริ่มเล่นไปแล้ว.
-อนุญาตให้การเล่นดาเนินต่อไปจนกว่าลูกบอลจะอยู่นอกการเล่นถ้าเห็นว่าผู้เล่นบาดเจ็บเพียงเล็กน้อย
-แน่ใจว่าผู้เล่นที่มีเลือดไหลออกจากบาดแผลได้ออกจากสนามแข่นขันแล้วและผู้เล่นนั้นจะกลับไปเล่นใหม่ได้เมื่อ
ได้รับสัญญาณจากผู้ตัดสิน ซึ่งต้องพึงพอใจแล้วว่าเลือดที่ไหลออกมานั้นได้หยุดแล้ว
-อนุญาตให้การเล่นดาเนินต่อไปเมื่อทีมที่ถูกกระทาผิดจะเกิดประโยชน์จากการได้เปรียบและถ้าการคาดคะเนในการให้
ได้เปรียบนั้นไม่เป็นตามที่คาดไว้ในขณะนั้น กาจะลงโทษตามความผิดที่เกิดขึ้นแต่แรกนั้น
-ลงโทษความผิดที่ร้ายแรงกว่าในกรณีที่ผู้เล่นทาผิดมากกว่า 1 อย่าง ภายในเวลาเดียวกัน
-ควบคุมระเบียบวินัยโดยแสดงการต่อต้านต่อผู้เล่นที่กระทาผิดต้องได้รับการคาดโทษและการให้ออกจาการแข่งขัน เขา
ไม่ได้ถูกบังคับว่าต้องกระทาในทันทีทันใดแต่ต้องทาทันทีลูกบอลอยู่นอกการเล่นแล้ว
-ทาหน้าที่แสดงการต่อต้านเจ้าหน้าที่ทีมที่ขาดความรับผิดชอบในการควบคุมการประพฤติปฏิบัติตนเองที่ดี และเขาอาจ
พิจารณาให้อกจากสนามแข่งขันและบริเวณแวดล้อมในทันมี
-ปฏิบัติตามการช่วยเหลือของผู้ช่วยผู้ตัดสินตามเหตุการณ์ที่ตนเองมองไม่เห็น
-แน่ใจว่าไม่มีบุคคลอื่น ๆ ที่ไม่ได้รับอนุญาตเข้าไปในสนามแข่งขัน
-ให้ทาการเริ่มเล่นได้หยุดลง
-เขียนรายงานการแข่งขันเสนอต่อผู้ที่มีอานาจหน้าที่ที่ได้แต่งตั้งไว้ซึ่งรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับการควบคุมระเบียบทุก
อย่างที่กระทาต่อผู้เล่นและ/หรือเจ้าหน้าที่ทีมและเหตุการณ์ณ์อื่นๆ ทักกรณีที่เกิดขึ้นก่อนการ แข่งขัน ระหว่างการ
แข่งขัน หรือภายหลังการแข่งขัน
-ผู้ตัดสินจะมีสิทธิ์ให้ใบเหลืองหรือใบแดงตามความเหมาะสมต่อเมื่อผู้เล่นทาผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามรุนแรงหรือ แสดง
พฤติกรรมไม่เหมาะสมต่อผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามหรือผู้ตัดสินโดยตรงหรือกรณีอื่นๆแต่อย่างใด
• กฎข้อที่ 6: ผู้ช่วยกรรมการ
ผู้ช่วยผู้ตัดสินมีหน้าที่ช่วยเหลือผู้ตัดสินในการควบคุมการแข่งขันให้เป็นไปตามกติกาการแข่งขัน และในกรณีพิเศษ
ผู้ช่วยผู้ตัดสินอาจเข้าไปในสนามได้เพื่อช่วยควบคุมระยะ 9.15 เมตร ถ้าผู้ช่วยผู้ตัดสินเข้าไปเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ
หน้าที่ของผู้ตัดสินเกินสมควร หรือประพฤติตนไม่เหมาะสมผู้ตัดสินสามารถปลดเขาออกจากหน้าที่ และเขียนรายงาน
เสนอต่อผู้มีอานาจหน้าที่ที่ได้รับการแต่งตั้งไว้
• กฎข้อที่ 7: ระยะเวลาการแข่งขัน
ช่วงเวลาของการแข่งขัน (Periods of Play) การแข่งขันแบ่งออกเป็น2 ครึ่งเวลา ๆ ละ 45 นาทีเท่ากัน การ
รักษาเวลาเป็นหน้าที่ของผู้รักษาเวลา ซึ่งมีหน้าที่ตามที่กาหนดไว้ในกติกาข้อ 7 ระยะเวลาของการแข่งขันแต่ละครึ่งเวลา
อาจจะมีการเพิ่มการเตะโทษ ณ จุดโทษ
เวลานอก (Time-out) ทั้งสองทีมมีสิทธิ์ขอเวลานอกเป็นระยะเวลา1 นาที ได้ในแต่ละครึ่งเวลา ภายใต้เงื่อนไข
ดังต่อไปนี้
1. ผู้ฝึกสอนเท่านั้นที่มีสิทธิ์ในการขอเวลานอก 1 นาที จากผู้รักษาเวลา 2. การขอเวลานอก 1 สามารถร้องขอได้
ตลอดเวลา แต่จะให้เวลานอกก็ต่อเมื่อทีมได้เป็นฝ่ายครอบครองบอล (ส่งลูกบอลเข้าเล่น)3. ผู้รักษาเวลาต้องแสดงการ
อนุญาตสาหรับการขอเวลานอกของทีม เมื่อลูกบอลอยู่นอกการเล่นโดยการใช้เสียงสัญญาณอื่นๆ ที่แตกต่างจากเสียง
สัญญาณนกหวีดของผู้ตัดสินที่ใช้อยู่4. เมื่ออนุญาตให้เป็นเวลานอก ผู้เล่นทุกคนต้องรวมกันอยู่ในสนามแข่งขัน ถ้าต้อง
ได้รับคาแนะนาจากเจ้าหน้าที่ทีม จะกระทาได้เฉพาะที่เส้นข้างบริเวณด้านหน้าที่นั่งสารองของทีมตนเองผู้เล่นทุกคนต้อง
ไม่ออกไปนอกสนามแข่งขัน เช่นเดียวกันกับเจ้าหน้าที่ทีมที่ต้องให้คาแนะนาจะต้องไม่เข้าไปในสนามแข่งขัน 5. ถ้าทีม
ไม่ใช่สิทธิ์ในการขอเวลานอกในครึ่งเวลาแรก จะไม่สามารถนาไปทดแทนในครึ่งเวลาหลังได้พักครึ่งเวลา (Half -
time Interval) การพักครึ่งเวลาต้องไม่เกิน15 นาที
ข้อตกลง (Decisions) 1. ถ้าไม่มีผู้รักษาเวลา ผู้ฝึกสอนต้องร้องขอเวลานอกได้จากผู้ตัดสิน2. ถ้าระเบียบการ
แข่งขันระบุให้มีการต่อเวลาพิเศษ ในกรณีที่การแข่งขันในเวลาปกติ ถ้าผลการแข่งขันจบลงด้วยการเสมอกัน การแข่งขัน
ในระหว่างการต่อเวลาพิเศษของการแข่งขัน จะไม่มีการขอเวลานอก
• กฎข้อที่ 8: การเริ่มต้นการแข่งขัน
1.เมื่อเริ่มเล่น ในการที่จะเลือกแดนหรือเลือกเตะเริ่มเล่นก่อนให้ตัดสินโดยการเสี่ยง ด้วยการโยนหัว โยนก้อย ฝ่ายที่ชนะ
การเสี่ยงเป็นผู้มีสิทธิ์ในการเลือกแดนหรือเลือกเตะ2.เมื่อได้ประตูการเล่นต้องเริ่มต้นใหม่ ในทานองเดียวกัน โดยผู้เล่น
คนหนึ่งของฝ่ายที่เสียประตู เป็นผู้เล่น 3.เมื่อหมดครึ่งเวลา การตั้งต้นเล่นใหม่หลังจากได้หยุดพักระหว่างครึ่งเวลาแล้ว
ให้เปลี่ยนแดนและให้ผู้เล่นคนหนึ่งของชุดฝ่ายตรงข้ามที่มิได้เตะเริ่มเล่นในตอนแรกเป็นผู้เตะเริ่มเล่น
• กฎข้อที่ 9: บอลออกนอกสนาม
ลูกบอลจะอยู่นอกการเล่นเมื่อ1.ลูกบอลได้ผ่านเส้นประตูหรือเส้นข้างไม่ว่าจะเป็นบนพื้นดินหรือในอากาศออกไปทั้ง
ลูก2.ผู้ตัดสินสั่งหยุดการเล่นลูกบอลอยู่ในการเล่น(Ball In Play) ลูกบอลอยู่ในการเล่นตลอดเวลารวมทั้งในขณะที่
1. กระดอนจากเสาประตูคานประตู หรือธงมุมสนาม และเข้ามาในสนามแข่งขันกติกาข้อ 10 การนับประตู
• กฎข้อที่ 10: วิธีนับคะแนน
ถ้าลูกฟุตบอลลอยข้ามเส้นประตูเต็มใบโดยการเล่นลูกที่ถูกกติกา (ได้แก่การใช้เท้าหรือศีรษะ)ถือว่าได้1 คะแนน
(ในภาษาฟุตบอลเรียกว่า 1 ประตู) อย่างไรก็ดี มักมีคนเข้าใจผิดว่าการได้คะแนน คือ การที่ลูกบอลสัมผัสกับตาข่าย
หลังเส้นประตูซึ่งจริงๆ แล้วตาข่ายไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกติกาฟุตบอลมีไว้เพื่อรองรับลูกบอลที่เข้าประตูแล้วเท่านั้น
• กฎข้อที่ 11: การล้าหน้า
1.ผู้เล่นจะอยู่ในตำแหน่งล้ำหน้ำ ถ้ำเขำอยู่ใกล้เส้นประตูของคู่ต่อสู้กว่ำลูกบอล 2.ผู้เล่นจะถูกตัดสินให้เป็นเล่นล้ำ
หน้ำและจะถูกลงโทษ ถ้ำผู้ตัดสินพิจำรณำเห็นว่ำขณะที่ลูกโดนหรือลูกเล่นโดยผู้เล่นฝ่ำยเดียวกัน 3.ผู้เล่นจะยังไม่ถูก
ตัดสินว่ำล้ำหน้ำ ถ้ำ 1.เขำเพียงแต่อยู่ในตำแหน่งล้ำหน้ำเท่ำนั้น หรือ 2.เขำได้รับลูกโดยตรงจำกำรเตะจำกประตูกำร
ทุ่มจำกเส้นข้ำง กำรเตะจำกมุม หรือ กำรปล่อยลูกจำกมือโดยผู้ตัดสิน 4.ถ้ำผู้เล่นถูกตัดสินให้เป็นเล่นล้ำหน้ำ ผู้ตัดสิน
จะให้คู่ต่อสู้ได้เตะโทษโดยอ้อม ณ ที่ซึ่งกำรละเมิดกติกำได้เกิดขึ้น
• กฎข้อที่ 12: ฟาวล์
ผู้เล่นคนใดเจตนากระทาผิดข้อหนึ่งข้อใดใน 9 ข้อ ดังต่อไปนี้ 1.แตะหรือ พยายามจะเตะคู่ต่อสู้ 2.ขัดขาคู่ต่อสู้คือ
ทาหรือพยายามจะทาให้คู่ต่อสู้ล้มลงด้วยการใช้ขา หรือด้วยการหมอบลงข้างหน้า
หรือข้างหลัง 3.กระโดดเข้าหาคู่ต่อสู้4.ชนคู่ต่อสู้อย่างรุนแรง5.ชนคู่ต่อสู้ข้าง
หลัง นอกจากคู่ต่อสู้นั้นเจตนากีดกัน 6.ทาร้าย หรือพยายามจะทาร้ายคู่ต่อสู้ หรือ
ถ่มน้าลายรดคู่ต่อสู้7.ฉุด ดึง คู่ต่อสู้ 8.ผลัก ดัน คู่ต่อสู้ 9.เล่นด้วยมือ คือ ทุบ ต่อย
ปัด เตะลูกด้วยมือหรือแขน
• กฎข้อที่ 13: ฟรีคิก
การเตะฟรีคิกจะเกิดขึ้นต่อเมื่อผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามทาฟาวล์ตั้งแต่จุดที่ทาฟาวล์โดยจะผู้เล่นตั้งเตะลูกฟรีคิกตรงจุดที่ผู้เล่น
ฝ่ายตรงข้ามทาฟาวล์
• กฎข้อที่ 14: ลูกโทษหรือการยิงจุดโทษ
กำรยิงจุดโทษในเวลำกำรแข่งขันจะเกิดขึ้นต่อเมื่อผู้เล่นฝ่ำยตรงข้ำมทำฟำวล์ตั้งแต่ในเขตโทษ กำรยิงลูกโทษจะเป็น
กำรให้ผู้เล่นยิงดวลตัวต่อตัวกับผู้รักษำประตูโดยที่ผู้เล่นคนอื่นที่ไม่ได้มีหน้ำที่ยิงจุดโทษหรือไม่ใช่ผู้รักษำประตูที่จะต้อง
เซฟจุดโทษจะต้องอยู่บริเวณนอกเขตโทษจนกว่ำผู้เล่นที่ยิงจุดโทษจะยิงประตูผู้เล่นคนอื่นจึงจะมีสิทิิววิ่งในเขตโทษได้
เมื่อต่อเวลำพิเศษ30นำทีแล้วไม่มีทีมทำประตูได้หรือเสมอจะทำกำรยิงลูกที่จุดโทษ โดยจะใช้ผู้เล่นยิงสลับกันฝั่งละ
5คนเมื่อยิงครบแล้วยังหำผู้ชนะไม่ได้ก็จะยิงต่อไปจนมีผู้ชนะ โดยกำรยิงลูกจุดโทษนั้นเป็นวิิีสุดท้ำยที่หำทีมชนะ
• กฎข้อที่ 15: การทุ่ม
กำรทุ่ม ขณะแข่งขันลูกฟุตบอลได้ออกเส้นข้ำงไปทั้งลูก ไม่ว่ำจะกลิ้งไปบนพื้นสนำมหรือลอยไปบนอำกำศก็ตำม ให้ผู้
เล่นฝ่ำยตรงข้ำมเป็นฝ่ำยได้ทุ่ม
-เท้ำทั้งสองข้ำงต้องติดพื้นตลอดเวลำกำรทุ่ม
- ต้องทุ่มด้วยมือทั้งสอง ลูกบอลออกจำกด้ำนหลังศีรษะ แขนทั้งสอง " ต้องผ่ำนศีรษะไปข้ำงหน้ำอย่ำงต่อเนื่อง "
- ด้ำนหน้ำของร่ำงกำยหันหน้ำเข้ำหำสนำมด้ำนไหนให้ทุ่มไปทำงนั้น
- ย่อทุ่มได้ แต่ห้ำมนั่งทุ่ม
- บอลออกเส้นข้ำง ณ จุดใด ให้ทุ่ม ณ จุดนั้น
- ณ จุดที่มือปล่อยบอล เท้ำหรือตัวของผู้ทุ่ม ห้ำมห่ำงจำกเส้นข้ำงเกิน หนึ่งเมตร
- ฝ่ำยรับต้องยืนห่ำงจำกผู้ทุ่ม ในสนำมแข่งขัน อย่ำงน้อย ๒ เมตร
- ทุ่มทีเดียว โดยไม่สัมผัสผู้เล่นฝ่ำยใด ฝ่ำยหนึ่ง ไม่ถือว่ำเป็นประตู
- รับบอลจำกกำรทุ่ม ไม่มีกำรล้ำหน้ำ
- ทุ่มบอลคืนให้ผู้รักษำประตู ผู้รักษำประตูใช้มือรับ ให้เตะลูกโทษโดยอ้อม ณ จุดเกิดเหตุทันที
• กฎข้อที่ 16: โกลคิก
คือ ลูกตั้งเตะจากเขตประตูโดยผู้รักษาประตูเตะจากในกรอบเขตประตู
• กฎข้อที่ 17: การเตะมุม
เมื่อลูกทั้งลูกได้ผ่านเส้นประตูออกไปนอกสนามนอกจากจะผ่านไปในระหว่าง
เสาประตูไม่ว่าจะกลิ้งไปบนพื้นสนามหรือลอยไปในอากาศก็ตามโดยฝ่ายรับเป็นผู้
ถูกลูกนั้นเป็นครั้งสุดท้าย ให้ฝ่ายรุกนาลูกไปวางเตะภายในเขตมุม ณ ธงมุมใกล้กับที่ลูกได้ออกไปและต้องไม่ทาให้คันธง
เคลื่อนที่ ในการเตะจากมุมนี้ ถ้าเตะทีเดียวลูกตรงเข้าประตูให้นับว่าได้ประตูผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามกับผู้เตะจากมุมนั้นจะเข้า
มาอยู่ใกล้ลูกในขณะที่ผู้เตะกาลังจะเตะลูกน้อยกว่า10 หลา ไม่ได้เว้นเสียแต่ผู้เตะจะได้เตะให้ลูกไปได้ไกลอย่างน้อย
เท่ากับระยะรอบวงของลูกจึงจะเล่นต่อไปได้จะเล่นลูกนั้นซ้าอีกไม่ได้จนกว่าลูกนั้นจะได้ถูกหรือเล่นโดยผู้เล่นคนใดคน
หนึ่งเสียก่อน
ระยะเวลาการแข่งขัน
การแข่งขันจะแบ่งออกเป็นสองครึ่งโดยครึ่งละ 45 นาที โดยเวลาการแข่งขันจะมีการนับตลอดเวลา แม้ว่าฟุตบอลจะ
ถูกเตะออกนอกสนามและกรรมการสั่งให้หยุดเล่นก็ตามระหว่างครึ่งจะมีเวลาพักให้15 นาที กรรมการจะเป็นคน
ควบคุมเวลา และจะทาการทดเวลาบาดเจ็บในช่วงท้ายของแต่ละครึ่งเพื่อทดแทนเวลาที่เสียไประหว่างการเล่น โดยเมื่อ
จบการแข่งขันกรรมการจะทาการเป่านกหวีดเพื่อหยุดการแข่งขัน
ในการแข่งขันแบบลีก จะมีการจบการแข่งขันสาหรับผลเสมอ แต่สาหรับการแข่งขันที่ต้องรู้ผลแพ้ชนะจะมีการต่อ
เวลาพิเศษ(ง่ายๆคือการแข่งชิงถ้วย,จาน,หม้อ)ซึ่งจะประกอบไปด้วย 2 ครึ่ง ครึ่งละ 15 นาที โดยถ้าคะแนนยังคงเสมอ
กันจะมีการให้เตะลูกโทษ (ด้านการเตะลูกโทษมีคนวิจัยมาว่าทีมไหนเตะก่อนจะมีเปอร์เซนต์การชนะมากกว่าทีมที่เตะที
หลัง)
ไอเอฟเอบีได้ทดลองการกาหนดรูปแบบการทาคะแนนในช่วงต่อเวลาที่เรียกว่า โกลเดนโกล โดย
ทีมที่ทาประตูได้ก่อนในช่วงต่อเวลาจะเป็นผู้ชนะการแข่งขัน และ ซิลเวอร์โกล โดยทีมที่ทาประตูนา
เมื่อจบครึ่งเวลาแรกจะเป็นผู้ชนะการแข่งขัน โดยโกลเดนโกลได้ถูกนามาใช้ใน ฟุตบอลโลก
1998 และ ฟุตบอลโลก 2002 โดยมีการใช้ครั้งแรกในการแข่งขันทีมชาติ
ฝรั่งเศส ชนะ ปารากวัย ในปี 1998 ขณะที่ซิลเวอร์โกลได้มีการใช้ครั้งแรกในฟุตบอลยูโร 2004
ซึ่งปัจจุบันโกลเดนโกล และซิลเวอร์โกลไม่มีการใช้แล้ว
การแข่งขันระหว่างประเทศ
• ทีมชาติ
การแข่งขันฟุตบอลในระดับโลกนั้น มีการแข่งขันสูงสุดคือ ฟุตบอลโลก ที่จัดขึ้นทุก 4 ปี ซึ่งทีมที่ร่วมเล่นจะเป็นทีม
ชาติจากแต่ละประเทศที่เป็นสมาชิกของฟีฟ่า โดยแต่ละทีมจาเป็นต้องผ่านรอบคัดเลือกของทางสมาพันธ์ เพื่อมีสิทธิเข้า
ร่วมเล่น โดยในแต่ละสมาพันธ์จะมีจากัดจานวนทีมที่ร่วมเล่นแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับผลงานของแต่ละทีมในอดีตโดยทาง
ฟีฟ่าจะเป็นทางกาหนดและนอกจากฟุตบอลโลกแล้วในแต่ละสมาพันธ์จะมีการแข่งขันสูงสุดของแต่ละสมาพันธ์เองซึ่ง
จัดขึ้นทุก 4 ปี โดยผู้ชนะจากแต่ละสมาพันธ์จะทาการแข่งขันกันในคอนเฟเดอเรชันส์คัพพร้อมกับทีมที่ชนะเลิศใน
ฟุตบอลโลกครั้งล่าสุด
นอกเหนือจากการแข่งขันที่จัดโดยฟีฟ่า การแข่งขันฟุตบอลทีมชาติที่เป็นที่จับตามองได้แก่การแข่งขันฟุตบอลในกีฬา
ระหว่างประเทศ เช่น โอลิมปิก (ทั่วโลก) เอเชียนเกมส์ (ทวีปเอเชีย) หรือ ซีเกมส์ (เฉพาะเอเชียตะวันออกเฉียงใต้)
ภูมิภาค เอเชีย แอฟริกา
อเมริกาเหนือ
และกลาง
อเมริกาใต้ ออสเตรเลีย ยุโรป
สมาพันธ์
เอเอฟซี ซีเอเอฟ คอนแคแคฟ คอนเมบอล โอเอฟซี ยูฟ่ำ
AFC CAF CONCACAF CONMEBOL OFC UEFA
การแข่งขันสูงสุด เอเชียนคัพ แอฟริกันคัพ โกลด์คัพ โคปำอเมริกำ โอเอฟซีเนชันส์คัพ ฟุตบอลยูฟ่ำยูโร
ระดับโลก คอนเฟเดอเรชันส์คัพ
• ทีมสโมสร
สาหรับทีมสโมสรนั้น ทีมที่ชนะเลิศการแข่งขันในประเทศมีสิทธิเข้าร่วมการแข่งขันในระดับสมาพันธ์ที่มีการจัดขึ้น
ทุกปี (บางสมาพันธ์จะให้ทีมรองชนะเลิศร่วมด้วย)โดยทีมที่ชนะเลิศในแต่ละสมาพันธ์จะมาแข่งขันกันในระดับโลก ใน
การแข่งขัน ฟีฟ่าคลับเวิลด์คัพ ซึ่งจัดขึ้นทุกปี
ภูมิภาค เอเชีย แอฟริกา
อเมริกาเหนือ
และกลาง
อเมริกาใต้ ออสเตรเลีย ยุโรป
สมาพันธ์
เอเอฟซี ซีเอเอฟ คอนแคแคฟ คอนเมบอล โอเอฟซี ยูฟ่ำ
AFC CAF CONCACAF CONMEBOL OFC UEFA
การแข่งขัน
ระดับสมาพันธ์
เอเอฟซีแชมเปียนส์
ลีก
ซีเอเอฟแชมเปียนส์
ลีก
คอนคำแคฟ
แชมเปียนส์ลีก
โคปำลิเบอร์ตำโด
เรส
โอเชียเนียคลับ
แชมเปียนชิพ
ยูฟ่ำแชมเปียนส์ลีก
ระดับโลก ฟีฟ่ำคลับเวิลด์คัพ
สหพันธ์ฟุตบอล
• สหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ
สหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (Federation International Football Association FIFA) ก่อตั้งขึ้นที่
กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมื่อ พ.ศ.2447 โดยสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศฝรั่งเศสและประเทศที่เข้าร่วมก่อตั้ง7
ประเทศคือ ฝรั่งเศส เบลเยียม เดนมาร์ก เนเธอร์แลนด์สเปน สวีเดน และสวิตเซอร์แลนด์มีสานักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ เมืองซู
ริก ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
• สมาพันธ์ฟุตบอลที่ได้รับการรับรองจากสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ
1.) Africa (C.A.F.) เป็นเขตที่มีสมาชิกมากที่สุด ได้แก่ ประเทศแอลจีเรีย ตูนิเซีย แซร์ ไนจีเรีย และซูดาน เป็นต้น
2.) America-North and Central Caribbean (Concacaf) ได้แก่ ประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดา
เม็กซิโก คิวบา เอติ เอลซัลวาดอร์ กัวเตมาลา และฮอนดูรัสเป็นต้น
3.) South America (Conmebol) ได้แก่ ประเทศเปรู บราซิล อุรุกวัย โบลิเวีย อาร์เจนตินา ชิลี เวเนซุเอลา อี
คิวเตอร์ และโคลัมเบีย เป็นต้น
4.) Asia (A.F.C.) เป็นเขตที่มีสมาชิกรองจากแอฟริกาได้แก่ ประเทศไทย มาเลเซีย เกาหลี ญี่ปุ่น ฮ่องกงเลบานอน
อิสราเอล อิหร่าน จอร์แดน และเนปาลเป็นต้น
5.) Europe (U.E.F.A.) เป็นเขตที่มีการพัฒนามากที่สุด ได้แก่ ประเทศอังกฤษฝรั่งเศส เยอรมัน ฮังการี อิตาลี
สกอตแลนด์รัสเซีย สวีเดน สเปน และเนเธอร์แลนด์เป็นต้น
6.) Oceania เป็นเขตที่มีสมาชิกน้อยที่สุดและเพิ่งจะได้รับการแบ่งแยกได้แก่ ประเทศออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ฟิจิ
และปาปัวนิวกินี เป็นต้น ซึ่งประเทศต่างๆที่เป็นสมาชิกต้องเสียค่าบารุงเป็นรายปี ปีละ 300 ฟรังสวิสส์ หรือประมาณ
2,400 บาท
• สหพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชีย
ในทวีปเอเชียมีการจัดตั้งสหพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเอเชีย(A.F.C.) เพื่อดาเนินการด้านฟุตบอลดังนี้
พ.ศ.2495 มีการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกที่เฮลซิงกิ ประเทศฟินแลนด์โดยมีนักกีฬาและเจ้าหน้าที่จากประเทศในเอเชีย
เข้ามาร่วมการแข่งขันด้วย จึงได้ปรึกษาหารือกันในการจัดตั้งสหพันธ์ฟุตบอลเอเชียขึ้น
พ.ศ.2497 มีการแข่งขันเอเชียนเกมส์ที่กรุงมะนิลาประเทศฟิลิปปินส์ ก็ได้เริ่มตั้งคณะกรรมการจากชาติต่างๆที่เข้า
ร่วมเป็นสมาชิก 12 ประเทศ
• พ.ศ.2501 มีการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ที่ประเทศญี่ปุ่น ได้มีการประชุมเกี่ยวกับเรื่องนี้อีกและมีประเทศเข้าร่วม
เป็นสมาชิกรวมเป็น 35 ประเทศ
พ.ศ.2509 ฟีฟ่าได้มองเห็นความสาคัญของA.F.C. จึงได้กาหนดให้มีเลขานุการประจาในเอเชีย โดยออก
ค่าใช้จ่ายให้ทั้งหมด รวมทั้งเงินเดือน และคนแรกที่ได้รับตาแหน่งคือ Khow Eve Turk
พ.ศ.2517 ในการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ที่เตหะราน ประเทศอิหร่านได้มีการประชุมประเทศสมาชิกA.F.C.
และที่ประชุมได้ลงมติขับไล่อิสราเอลออกจากสมาชิกและให้จีนแดงเข้าเป็นสมาชิกแทนทั้งๆ ที่จีนแดงไม่ได้เป็น
สมาชิกของฟีฟ่านับว่าเป็นการสร้างเหตุการณ์ที่ประหลาดใจให้กับบุคคลทั่วไปเป็นอย่างมากทั้งนี้เนื่องจากเหตุผล
ทางการเมือง
พ.ศ.2519 มีการประชุมกันที่ประเทศมาเลเซียปรากฏว่าประเทศสมาชิกได้ลงมติให้ขับไล่ประเทศไต้หวันออกจาก
สมาชิก และให้รับจีนแดงเข้ามาเป็นสมาชิกแทนทั้งๆ ที่ไต้หวันเป็นประเทศที่ร่วมกันก่อตั้งสหพันธ์ขึ้นมา
• ประเทศไทยได้แชมป์ฟุตบอลเอเชียนเกมส์ครั้งที่ 28
• งานของสหพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชีย
– ดาเนินการจัดการแข่งขันและควบคุม Asian Cup
– ดาเนินการจัดการแข่งขันและควบคุม Asian Youth
– ดาเนินการจัดการแข่งขันและควบคุมฟุตบอลโลกรอบคัดเลือก
– ดาเนินการจัดการแข่งขันและควบคุม Pre-Olympic
– ดาเนินการจัดการแข่งขันและควบคุม World Youth
– ควบคุมการแข่งขัน Kings Cup, President Cup, Merdeka, Djakarta Cup
นอกจากนี้ยังได้รับความร่วมมือจากฟีฟ่าจัดส่งวิทยากรมาช่วยดาเนินการ
แหล่งอ้างอิง
1.http://www.educatepark.com/story/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8
%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%9F%E0%B8%B8%E0%B8%95%E0%B8%9A%
E0%B8%AD%E0%B8%A5/
2.https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9F%E0%B8%B8%E0%B8%95%E0%B
8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%A5
3.https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B
8%81%E0%B8%B2%E0%B8%9F%E0%B8%B8%E0%B8%95%E0%B8%9A%E0%B
8%AD%E0%B8%A5
4.http://hilight.kapook.com/view/72210
ขอบคุณครับ

More Related Content

What's hot

Presentacion sobre el FUTBOL
Presentacion sobre el FUTBOLPresentacion sobre el FUTBOL
Presentacion sobre el FUTBOLJorgeySara
 
Historical development of football by satyadev singh rawat (Delhi)
Historical development of football by satyadev singh rawat (Delhi)Historical development of football by satyadev singh rawat (Delhi)
Historical development of football by satyadev singh rawat (Delhi)SATYADEV SINGH
 
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemkasidid20309
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560Thitaree Samphao
 
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองNattapon
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทssuser21a057
 
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5พงศธร ภักดี
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกPannaray Kaewmarueang
 
2015 FGCU Women's Soccer Marketing Plan
2015 FGCU Women's Soccer Marketing Plan2015 FGCU Women's Soccer Marketing Plan
2015 FGCU Women's Soccer Marketing PlanKevin Thurman
 
NC State Mens Soccer Marketing Plan
NC State Mens Soccer Marketing PlanNC State Mens Soccer Marketing Plan
NC State Mens Soccer Marketing PlanWes Purcell
 
Diapocitivas fa
Diapocitivas faDiapocitivas fa
Diapocitivas faluiferr
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตพัน พัน
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายKan Pan
 
ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64Oui Nuchanart
 

What's hot (20)

Presentacion sobre el FUTBOL
Presentacion sobre el FUTBOLPresentacion sobre el FUTBOL
Presentacion sobre el FUTBOL
 
การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
 
Football
FootballFootball
Football
 
Historical development of football by satyadev singh rawat (Delhi)
Historical development of football by satyadev singh rawat (Delhi)Historical development of football by satyadev singh rawat (Delhi)
Historical development of football by satyadev singh rawat (Delhi)
 
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
 
2015 FGCU Women's Soccer Marketing Plan
2015 FGCU Women's Soccer Marketing Plan2015 FGCU Women's Soccer Marketing Plan
2015 FGCU Women's Soccer Marketing Plan
 
NC State Mens Soccer Marketing Plan
NC State Mens Soccer Marketing PlanNC State Mens Soccer Marketing Plan
NC State Mens Soccer Marketing Plan
 
Diapocitivas fa
Diapocitivas faDiapocitivas fa
Diapocitivas fa
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64
 
ประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้นประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้น
 

ฟุตบอล(Football)

  • 1. กีฬาฟุตบอล Football จัดทาโดย นาย พชร ปันชัย เลขที่ 7 นาย ชัยวัฒน์ รัตน์ชาญวศิน เลขที่ 17 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3 เสนอ คุณครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์
  • 2. ฟุตบอล (Football) หรือซอคเก้อร์ (Soccer) เป็นกีฬาที่มีผู้สนใจที่จะชมการแข่งขันและเข้าร่วมเล่น มากที่สุดในโลก ชนชาติใดเป็นผู้กาเนิดกีฬาชนิดนี้อย่างแท้จริงนั้นไม่อาจจะยืนยันได้แน่นอนเพราะแต่ละชนชาติต่าง ยืนยันว่าเกิดจากประเทศของตน แต่ในประเทศฝรั่งเศสและประเทศอิตาลี ได้มีการละเล่นชนิดหนึ่งที่เรียกว่า “ซูเลอ” (Soule) หรือจิโอโค เดล คาซิโอ (Gioco Del Calcio) มีลักษณะการเล่นที่คล้ายคลึงกับกีฬาฟุตบอลในปัจจุบัน ทั้งสองประเทศอาจจะถกเถียงกันว่ากีฬาฟุตบอลถือกาเนิดจากประเทศของตนอันเป็นการหาข้อยุติไม่ได้เพราะขาด หลักฐานยืนยันอย่างแท้จริง ดังนั้น ประวัติของกีฬาฟุตบอลที่มีหลักฐานที่แท้จริงสามารถจะอ้างอิงได้เพราะการเล่นที่มี กติกาการแข่งขันที่แน่นอน คือประเทศอังกฤษเพราะประเทศอังกฤษตั้งสมาคมฟุตบอลในปี พ.ศ.2406 และฟุตบอล อาชีพของอังกฤษเกิดขึ้นในปี พ.ศ.2431
  • 3. วิวัฒนาการด้านฟุตบอลจะเป็นไปพร้อมกับความเจริญก้าวหน้าของมนุษย์ตลอดมาต้นกาเนิดกีฬา ตะวันออกไกลจะได้รับอิทธิพลมาจากสงครามครั้งสาคัญๆ เช่น สงครามพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชได้นาเอา “แกล โล-โรมัน” (Gello-Roman) พร้อมกีฬาต่างๆเข้ามาสู่เมืองกอล(Gaul) อันเป็นรากฐานส่วนหนึ่งของกีฬา ฟุตบอลในอนาคตและการเล่นฮาร์ปาสตัม(Harpastum) ได้ถูกดัดแปลงมาเป็นกีฬาซูเลอ
  • 4. ประวัติฟุตบอลโลก จุดเริ่มต้นของกีฬาฟุตบอลไม่มีหลักฐานชี้ชัดว่ากาเนิดมาจากที่ใดกันแน่ เพราะแต่ละชาติต่างออกมายืนยันว่า ประเทศตนเองเป็นประเทศต้นกาเนิดเช่น อิตาลี กับ ฝรั่งเศส ก็มีการเล่น ซูเลอ หรือ จิโอโค เดล คาซิโอ ซึ่งมีกติกาคล้าย กับฟุตบอลเป็นต้น อย่างไรก็ตาม จุดเริ่มต้นของฟุตบอลที่มีหลักฐานอย่างเป็นทางการเริ่มตั้งแต่ ปี ค.ศ. 1863 (พ.ศ.2406) ที่ ประเทศอังกฤษมีการจัดตั้งสมาคมฟุตบอลอังกฤษในปีนั้นและเริ่มมีการแข่งขันฟุตบอลลีกเป็นครั้งแรกใน ค.ศ. 1888 (พ.ศ.2431) และเริ่มมีการแข่งขันระหว่างประเทศครั้งแรกในปี ค.ศ. 1889 (พ.ศ.2432) ในปี ค.ศ. 1904 (พ.ศ.2447) เริ่มก่อตั้งสมาพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ หรือ ฟีฟ่าขึ้น และมีการแข่งขันฟุตบอล โลกครั้งแรกใน ค.ศ. 1930 (พ.ศ.2473) ที่ประเทศอุรุกวัย
  • 5. กีฬาฟุตบอลในประเทศไทย สาหรับกีฬาฟุตบอลในประเทศไทยเริ่มเข้ามาในยุคพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 โดยมี เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรีนาเข้ามา จากการไปเรียนที่ต่างประเทศซึ่งใน พ.ศ.2443 มีการแข่งขันฟุตบอลเป็นครั้งแรก ระหว่างทีมชุดบางกอกกับชุดกรมศึกษาธิการ ที่สนามหลวง ปรากฎว่าเสมอกัน 2-2 ต่อมาในยุคสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 6 พระองค์ทรงสนใจกีฬาฟุตบอลอย่างมากมี ทีมฟุตบอลส่วนพระองค์คือ ทีมเสือป่า และมีการเผยแพร่ข่าวสาร การเล่น เกี่ยวกับฟุตบอลอย่างแพร่หลายนอกจากนี้ สมาคมฟุตบอลแห่งสยามถูกก่อตั้งขึ้นเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ.2459 อีกด้วยวิธีดาเนินงาน
  • 6. กฎกติกา • กฎข้อที่ 1: สนามฟุตบอล -สนาม เป็นสนามหญ้ารูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ความกว้างต่าสุด 50 หลา สูงสุด 100 หลา ความยาวต่าสุด 100 หลา สูงสุด 130 หลา -เครื่องหมายในสนาม เกิดจากเส้นต่าง ๆ โดยในแต่ละเส้นจะมีความกว้างไม่เกิน 5 นิ้ว ทาเป็นสัญลักษณ์ในสนาม ได้แก่ -เส้นเขตสนาม อยู่รอบเขตสนาม ส่วนที่สั้นเรียก เส้นประตู ส่วนที่ยาวเรียก เส้นข้าง -เส้นแบ่งเขตแดน แบ่งสนามตามขวางเป็น 2 ส่วนเท่า ๆ กัน -จุดกึ่งกลางสนามอยู่กึ่งกลางเส้นแบ่งเขตแดนมีวงกลมรัศมี 10 หลาล้อมรอบจุดไว้ -เส้นประตู เชื่อมระหว่างโคนเสาประตูทั้ง 2 ฝั่ง -เขตประตู คือพื้นที่ที่เกิดจากการลากเส้นจากเสาประตูทั้ง2 ฝั่งตั้งฉากกับเส้นประตูเข้าหาสนามยาว 6 หลา แล้ว เชื่อมด้วยเส้นตรง -เขตโทษ คือพื้นที่ที่เกิดจากการลากเส้นจากเสาประตูทั้ง2 ฝั่งขนานกับเส้นประตู ออกจากประตูยาว 16.5 เมตร แล้วลากเส้นตั้งฉากกับเส้นประตูเข้าหาสนามยาว 16.5 เมตร แล้วเชื่อมด้วยเส้นตรง
  • 7. -จุดโทษ อยู่ในเขตโทษ ห่างจากเสาประตู 12 หลา มีการเขียนส่วนโค้งนอกเขตโทษ รัศมีห่างจากจุดโทษ 10 หลา -ประตู มีสีขาว ระยะห่างระหว่างเสาประตู8 หลา คานสูงจากพื้น 8 ฟุต มีการติดตาข่ายรองรับลูก -มุมธง อยู่ทั้ง 4 มุมของสนาม รัศมี 1 หลา -เสาธง เป็นจุดศูนย์กลางของมุมธงไว้แสดงเขตในการเตะมุม สูงไม่น้อยกว่า 1.5 เมตร ยอดไม่แหลม ผูกธงไว้ที่ยอด
  • 8. • กฎข้อที่ 2: ลูกฟุตบอล -เป็นทรงกลมทาจากหนัง หรือวัสดุอื่นๆ ตามความเหมาะสมที่ไม่เป็นอันตรายต่อผู้เล่น เป็นฟุตบอลเบอร์ 5 มีเส้นรอบวง ประมาณ 68-70 เซนติเมตร น้าหนักประมาณ 410-450 กรัม
  • 9. • กฎข้อที่ 3: จานวนผู้เล่น ประกอบด้วยทีม 2 ทีม และแต่ละทีมประกอบด้วยผู้เล่นตัวจริงและตัวสารองผู้เล่นตัวจริงจะเป็นผู้เล่นชุดแรกที่ลง สนาม ส่วนผู้เล่นตัวสารองมีไว้เพื่อสับเปลี่ยนกับผู้เล่นตัวจริงในกรณีที่ผู้เล่นตัวจริงไม่สามารถเล่นได้หรือกรณีอื่นๆตาม ความเหมาะสมหรือตามแต่ดุลยพินิจของผู้จัดการทีม( โดยการแข่งขันเพื่อจุดประสงค์ในการคว้าแชมป์จะเปลี่ยนได้3 คนเท่านั้น แต่ถ้าเป็นการแข่งขันกระชับมิตรหรือเฉลิมฉลองสร้างความสัมพันธ์จะมีการเปลี่ยนตัวไม่จากัด) ผู้เล่นตัวจริง ที่ลงสนามต้องมีไม่ต่ากว่า7 คน และไม่เกิน11คน และหนึ่งในนั้นจะต้องมีผู้เล่นตาแหน่ง ผู้รักษาประตู 1 คน, ตัวสารองสามารถมีได้ไม่เกิน7 คน ถ้าเป็นการแข่ง ทั่วไป หรือเชื่อมความสัมพันธ์ สามารถกาหนดจานวนตัวสารองได้ โดยต้องแจ้งให้กรรมการทราบก่อนการแข่งขัน
  • 10. • กฎข้อที่ 4: อุปกรณ์การเล่น ลูกฟุตบอล (ตามกฎข้อ 2) ใช้สาหรับเล่น 1 ลูก และ เครื่องแบบของนักกีฬา ทีมทั้ง 2 ทีมที่ลงแข่งขัน สมาชิกทุกคน ในทีมยกเว้นผู้รักษาประตูจะต้องใส่ชุดแข่งขันสีเดียวกัน และทั้ง2 ทีมจะต้องใส่ชุดแข่งที่มีสีตัดกันอย่างชัดเจน จะใส่ชุด ที่มีโทนสีคล้ายกันไม่ได้(เช่น ทีมหนึ่งใสชุดแข่งสีขาว อีกทีมหนึ่งใส่ชุดแข่งสีเหลือง)ผู้รักษาประตูจะต้องใส่ชุดแข่งที่มีสี ไม่ซ้ากับผู้เล่นทั้ง 2 ทีม และนักกีฬาที่ทาการแข่งขันจะต้องใส่รองเท้า(ในปัจจุบันไม่อนุญาตให้นักกีฬาใช้เท้าเปล่าใน การเล่น)
  • 11. • กฎข้อที่ 5: ผู้ตัดสิน (ฟุตบอล) โดยกรรมการจะมีหน้าที่ดังต่อไปนี้ -ปฏิบัติตามกติกาข้อ ควบคุมการแข่งขันโดยมีผู้ช่วยผู้ตัดสิน กรรมการผู้ตัดสินคนที่ 4 คอยให้ความร่วมมือช่วยเหลือตาม ความเหมาะสม -แน่ใจว่าลูกบอลทุกลูกทีใช้ในการแข่งขันถูกต้องตามข้อกาหนดของกติกาข้อ2 -แน่ใจว่าอุปกรณ์ของผู้เล่นถูกต้องตามข้อกาหนดของกติกาข้อ4 -ทาหน้าที่รักษาเวลาการแข่งขัน และเขียนรายงานการแข่งขัน -พิจารณาการสั่งหยุดการเล่นหยุดการเล่นชั่วคราว หรือยุติการแข่งขัน (Suspends or Terminate the Match)ทุกกรณีของการกระทาผิดกติกาการแข่งขัน
  • 12. -พิจารณาการสั่งหยุดการเล่นหยุดการเล่นชั่วคราว หรือยุติการแข่งขัน เนื่องจากมีสิ่งรบกวนจากภายนอก ทุกชนิดทาการ รบกวนการแข่งขัน -สั่งหยุดการเล่นถ้าดุลยพินิจของเขาเห็นว่าผู้เล่นบาดเจ็บหนักและแน่ใจว่าเคลื่อนย้าออกจากสนามแข่งขันไปแล้วผู้เล่นที่ บาดเจ็บนั้นจะกลับเข้าไปในสนามแข่งได้อีกเอภายหลังการเริ่มเล่นใหม่ได้เริ่มเล่นไปแล้ว. -อนุญาตให้การเล่นดาเนินต่อไปจนกว่าลูกบอลจะอยู่นอกการเล่นถ้าเห็นว่าผู้เล่นบาดเจ็บเพียงเล็กน้อย -แน่ใจว่าผู้เล่นที่มีเลือดไหลออกจากบาดแผลได้ออกจากสนามแข่นขันแล้วและผู้เล่นนั้นจะกลับไปเล่นใหม่ได้เมื่อ ได้รับสัญญาณจากผู้ตัดสิน ซึ่งต้องพึงพอใจแล้วว่าเลือดที่ไหลออกมานั้นได้หยุดแล้ว
  • 13. -อนุญาตให้การเล่นดาเนินต่อไปเมื่อทีมที่ถูกกระทาผิดจะเกิดประโยชน์จากการได้เปรียบและถ้าการคาดคะเนในการให้ ได้เปรียบนั้นไม่เป็นตามที่คาดไว้ในขณะนั้น กาจะลงโทษตามความผิดที่เกิดขึ้นแต่แรกนั้น -ลงโทษความผิดที่ร้ายแรงกว่าในกรณีที่ผู้เล่นทาผิดมากกว่า 1 อย่าง ภายในเวลาเดียวกัน -ควบคุมระเบียบวินัยโดยแสดงการต่อต้านต่อผู้เล่นที่กระทาผิดต้องได้รับการคาดโทษและการให้ออกจาการแข่งขัน เขา ไม่ได้ถูกบังคับว่าต้องกระทาในทันทีทันใดแต่ต้องทาทันทีลูกบอลอยู่นอกการเล่นแล้ว -ทาหน้าที่แสดงการต่อต้านเจ้าหน้าที่ทีมที่ขาดความรับผิดชอบในการควบคุมการประพฤติปฏิบัติตนเองที่ดี และเขาอาจ พิจารณาให้อกจากสนามแข่งขันและบริเวณแวดล้อมในทันมี
  • 14. -ปฏิบัติตามการช่วยเหลือของผู้ช่วยผู้ตัดสินตามเหตุการณ์ที่ตนเองมองไม่เห็น -แน่ใจว่าไม่มีบุคคลอื่น ๆ ที่ไม่ได้รับอนุญาตเข้าไปในสนามแข่งขัน -ให้ทาการเริ่มเล่นได้หยุดลง -เขียนรายงานการแข่งขันเสนอต่อผู้ที่มีอานาจหน้าที่ที่ได้แต่งตั้งไว้ซึ่งรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับการควบคุมระเบียบทุก อย่างที่กระทาต่อผู้เล่นและ/หรือเจ้าหน้าที่ทีมและเหตุการณ์ณ์อื่นๆ ทักกรณีที่เกิดขึ้นก่อนการ แข่งขัน ระหว่างการ แข่งขัน หรือภายหลังการแข่งขัน -ผู้ตัดสินจะมีสิทธิ์ให้ใบเหลืองหรือใบแดงตามความเหมาะสมต่อเมื่อผู้เล่นทาผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามรุนแรงหรือ แสดง พฤติกรรมไม่เหมาะสมต่อผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามหรือผู้ตัดสินโดยตรงหรือกรณีอื่นๆแต่อย่างใด
  • 15. • กฎข้อที่ 6: ผู้ช่วยกรรมการ ผู้ช่วยผู้ตัดสินมีหน้าที่ช่วยเหลือผู้ตัดสินในการควบคุมการแข่งขันให้เป็นไปตามกติกาการแข่งขัน และในกรณีพิเศษ ผู้ช่วยผู้ตัดสินอาจเข้าไปในสนามได้เพื่อช่วยควบคุมระยะ 9.15 เมตร ถ้าผู้ช่วยผู้ตัดสินเข้าไปเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ หน้าที่ของผู้ตัดสินเกินสมควร หรือประพฤติตนไม่เหมาะสมผู้ตัดสินสามารถปลดเขาออกจากหน้าที่ และเขียนรายงาน เสนอต่อผู้มีอานาจหน้าที่ที่ได้รับการแต่งตั้งไว้
  • 16. • กฎข้อที่ 7: ระยะเวลาการแข่งขัน ช่วงเวลาของการแข่งขัน (Periods of Play) การแข่งขันแบ่งออกเป็น2 ครึ่งเวลา ๆ ละ 45 นาทีเท่ากัน การ รักษาเวลาเป็นหน้าที่ของผู้รักษาเวลา ซึ่งมีหน้าที่ตามที่กาหนดไว้ในกติกาข้อ 7 ระยะเวลาของการแข่งขันแต่ละครึ่งเวลา อาจจะมีการเพิ่มการเตะโทษ ณ จุดโทษ เวลานอก (Time-out) ทั้งสองทีมมีสิทธิ์ขอเวลานอกเป็นระยะเวลา1 นาที ได้ในแต่ละครึ่งเวลา ภายใต้เงื่อนไข ดังต่อไปนี้ 1. ผู้ฝึกสอนเท่านั้นที่มีสิทธิ์ในการขอเวลานอก 1 นาที จากผู้รักษาเวลา 2. การขอเวลานอก 1 สามารถร้องขอได้ ตลอดเวลา แต่จะให้เวลานอกก็ต่อเมื่อทีมได้เป็นฝ่ายครอบครองบอล (ส่งลูกบอลเข้าเล่น)3. ผู้รักษาเวลาต้องแสดงการ อนุญาตสาหรับการขอเวลานอกของทีม เมื่อลูกบอลอยู่นอกการเล่นโดยการใช้เสียงสัญญาณอื่นๆ ที่แตกต่างจากเสียง สัญญาณนกหวีดของผู้ตัดสินที่ใช้อยู่4. เมื่ออนุญาตให้เป็นเวลานอก ผู้เล่นทุกคนต้องรวมกันอยู่ในสนามแข่งขัน ถ้าต้อง ได้รับคาแนะนาจากเจ้าหน้าที่ทีม จะกระทาได้เฉพาะที่เส้นข้างบริเวณด้านหน้าที่นั่งสารองของทีมตนเองผู้เล่นทุกคนต้อง ไม่ออกไปนอกสนามแข่งขัน เช่นเดียวกันกับเจ้าหน้าที่ทีมที่ต้องให้คาแนะนาจะต้องไม่เข้าไปในสนามแข่งขัน 5. ถ้าทีม ไม่ใช่สิทธิ์ในการขอเวลานอกในครึ่งเวลาแรก จะไม่สามารถนาไปทดแทนในครึ่งเวลาหลังได้พักครึ่งเวลา (Half - time Interval) การพักครึ่งเวลาต้องไม่เกิน15 นาที
  • 17.
  • 18. ข้อตกลง (Decisions) 1. ถ้าไม่มีผู้รักษาเวลา ผู้ฝึกสอนต้องร้องขอเวลานอกได้จากผู้ตัดสิน2. ถ้าระเบียบการ แข่งขันระบุให้มีการต่อเวลาพิเศษ ในกรณีที่การแข่งขันในเวลาปกติ ถ้าผลการแข่งขันจบลงด้วยการเสมอกัน การแข่งขัน ในระหว่างการต่อเวลาพิเศษของการแข่งขัน จะไม่มีการขอเวลานอก
  • 19. • กฎข้อที่ 8: การเริ่มต้นการแข่งขัน 1.เมื่อเริ่มเล่น ในการที่จะเลือกแดนหรือเลือกเตะเริ่มเล่นก่อนให้ตัดสินโดยการเสี่ยง ด้วยการโยนหัว โยนก้อย ฝ่ายที่ชนะ การเสี่ยงเป็นผู้มีสิทธิ์ในการเลือกแดนหรือเลือกเตะ2.เมื่อได้ประตูการเล่นต้องเริ่มต้นใหม่ ในทานองเดียวกัน โดยผู้เล่น คนหนึ่งของฝ่ายที่เสียประตู เป็นผู้เล่น 3.เมื่อหมดครึ่งเวลา การตั้งต้นเล่นใหม่หลังจากได้หยุดพักระหว่างครึ่งเวลาแล้ว ให้เปลี่ยนแดนและให้ผู้เล่นคนหนึ่งของชุดฝ่ายตรงข้ามที่มิได้เตะเริ่มเล่นในตอนแรกเป็นผู้เตะเริ่มเล่น
  • 20. • กฎข้อที่ 9: บอลออกนอกสนาม ลูกบอลจะอยู่นอกการเล่นเมื่อ1.ลูกบอลได้ผ่านเส้นประตูหรือเส้นข้างไม่ว่าจะเป็นบนพื้นดินหรือในอากาศออกไปทั้ง ลูก2.ผู้ตัดสินสั่งหยุดการเล่นลูกบอลอยู่ในการเล่น(Ball In Play) ลูกบอลอยู่ในการเล่นตลอดเวลารวมทั้งในขณะที่ 1. กระดอนจากเสาประตูคานประตู หรือธงมุมสนาม และเข้ามาในสนามแข่งขันกติกาข้อ 10 การนับประตู
  • 21. • กฎข้อที่ 10: วิธีนับคะแนน ถ้าลูกฟุตบอลลอยข้ามเส้นประตูเต็มใบโดยการเล่นลูกที่ถูกกติกา (ได้แก่การใช้เท้าหรือศีรษะ)ถือว่าได้1 คะแนน (ในภาษาฟุตบอลเรียกว่า 1 ประตู) อย่างไรก็ดี มักมีคนเข้าใจผิดว่าการได้คะแนน คือ การที่ลูกบอลสัมผัสกับตาข่าย หลังเส้นประตูซึ่งจริงๆ แล้วตาข่ายไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกติกาฟุตบอลมีไว้เพื่อรองรับลูกบอลที่เข้าประตูแล้วเท่านั้น
  • 22. • กฎข้อที่ 11: การล้าหน้า 1.ผู้เล่นจะอยู่ในตำแหน่งล้ำหน้ำ ถ้ำเขำอยู่ใกล้เส้นประตูของคู่ต่อสู้กว่ำลูกบอล 2.ผู้เล่นจะถูกตัดสินให้เป็นเล่นล้ำ หน้ำและจะถูกลงโทษ ถ้ำผู้ตัดสินพิจำรณำเห็นว่ำขณะที่ลูกโดนหรือลูกเล่นโดยผู้เล่นฝ่ำยเดียวกัน 3.ผู้เล่นจะยังไม่ถูก ตัดสินว่ำล้ำหน้ำ ถ้ำ 1.เขำเพียงแต่อยู่ในตำแหน่งล้ำหน้ำเท่ำนั้น หรือ 2.เขำได้รับลูกโดยตรงจำกำรเตะจำกประตูกำร ทุ่มจำกเส้นข้ำง กำรเตะจำกมุม หรือ กำรปล่อยลูกจำกมือโดยผู้ตัดสิน 4.ถ้ำผู้เล่นถูกตัดสินให้เป็นเล่นล้ำหน้ำ ผู้ตัดสิน จะให้คู่ต่อสู้ได้เตะโทษโดยอ้อม ณ ที่ซึ่งกำรละเมิดกติกำได้เกิดขึ้น
  • 23. • กฎข้อที่ 12: ฟาวล์ ผู้เล่นคนใดเจตนากระทาผิดข้อหนึ่งข้อใดใน 9 ข้อ ดังต่อไปนี้ 1.แตะหรือ พยายามจะเตะคู่ต่อสู้ 2.ขัดขาคู่ต่อสู้คือ ทาหรือพยายามจะทาให้คู่ต่อสู้ล้มลงด้วยการใช้ขา หรือด้วยการหมอบลงข้างหน้า หรือข้างหลัง 3.กระโดดเข้าหาคู่ต่อสู้4.ชนคู่ต่อสู้อย่างรุนแรง5.ชนคู่ต่อสู้ข้าง หลัง นอกจากคู่ต่อสู้นั้นเจตนากีดกัน 6.ทาร้าย หรือพยายามจะทาร้ายคู่ต่อสู้ หรือ ถ่มน้าลายรดคู่ต่อสู้7.ฉุด ดึง คู่ต่อสู้ 8.ผลัก ดัน คู่ต่อสู้ 9.เล่นด้วยมือ คือ ทุบ ต่อย ปัด เตะลูกด้วยมือหรือแขน
  • 24. • กฎข้อที่ 13: ฟรีคิก การเตะฟรีคิกจะเกิดขึ้นต่อเมื่อผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามทาฟาวล์ตั้งแต่จุดที่ทาฟาวล์โดยจะผู้เล่นตั้งเตะลูกฟรีคิกตรงจุดที่ผู้เล่น ฝ่ายตรงข้ามทาฟาวล์
  • 25. • กฎข้อที่ 14: ลูกโทษหรือการยิงจุดโทษ กำรยิงจุดโทษในเวลำกำรแข่งขันจะเกิดขึ้นต่อเมื่อผู้เล่นฝ่ำยตรงข้ำมทำฟำวล์ตั้งแต่ในเขตโทษ กำรยิงลูกโทษจะเป็น กำรให้ผู้เล่นยิงดวลตัวต่อตัวกับผู้รักษำประตูโดยที่ผู้เล่นคนอื่นที่ไม่ได้มีหน้ำที่ยิงจุดโทษหรือไม่ใช่ผู้รักษำประตูที่จะต้อง เซฟจุดโทษจะต้องอยู่บริเวณนอกเขตโทษจนกว่ำผู้เล่นที่ยิงจุดโทษจะยิงประตูผู้เล่นคนอื่นจึงจะมีสิทิิววิ่งในเขตโทษได้ เมื่อต่อเวลำพิเศษ30นำทีแล้วไม่มีทีมทำประตูได้หรือเสมอจะทำกำรยิงลูกที่จุดโทษ โดยจะใช้ผู้เล่นยิงสลับกันฝั่งละ 5คนเมื่อยิงครบแล้วยังหำผู้ชนะไม่ได้ก็จะยิงต่อไปจนมีผู้ชนะ โดยกำรยิงลูกจุดโทษนั้นเป็นวิิีสุดท้ำยที่หำทีมชนะ
  • 26. • กฎข้อที่ 15: การทุ่ม กำรทุ่ม ขณะแข่งขันลูกฟุตบอลได้ออกเส้นข้ำงไปทั้งลูก ไม่ว่ำจะกลิ้งไปบนพื้นสนำมหรือลอยไปบนอำกำศก็ตำม ให้ผู้ เล่นฝ่ำยตรงข้ำมเป็นฝ่ำยได้ทุ่ม -เท้ำทั้งสองข้ำงต้องติดพื้นตลอดเวลำกำรทุ่ม - ต้องทุ่มด้วยมือทั้งสอง ลูกบอลออกจำกด้ำนหลังศีรษะ แขนทั้งสอง " ต้องผ่ำนศีรษะไปข้ำงหน้ำอย่ำงต่อเนื่อง " - ด้ำนหน้ำของร่ำงกำยหันหน้ำเข้ำหำสนำมด้ำนไหนให้ทุ่มไปทำงนั้น
  • 27. - ย่อทุ่มได้ แต่ห้ำมนั่งทุ่ม - บอลออกเส้นข้ำง ณ จุดใด ให้ทุ่ม ณ จุดนั้น - ณ จุดที่มือปล่อยบอล เท้ำหรือตัวของผู้ทุ่ม ห้ำมห่ำงจำกเส้นข้ำงเกิน หนึ่งเมตร - ฝ่ำยรับต้องยืนห่ำงจำกผู้ทุ่ม ในสนำมแข่งขัน อย่ำงน้อย ๒ เมตร - ทุ่มทีเดียว โดยไม่สัมผัสผู้เล่นฝ่ำยใด ฝ่ำยหนึ่ง ไม่ถือว่ำเป็นประตู - รับบอลจำกกำรทุ่ม ไม่มีกำรล้ำหน้ำ - ทุ่มบอลคืนให้ผู้รักษำประตู ผู้รักษำประตูใช้มือรับ ให้เตะลูกโทษโดยอ้อม ณ จุดเกิดเหตุทันที
  • 28. • กฎข้อที่ 16: โกลคิก คือ ลูกตั้งเตะจากเขตประตูโดยผู้รักษาประตูเตะจากในกรอบเขตประตู
  • 29. • กฎข้อที่ 17: การเตะมุม เมื่อลูกทั้งลูกได้ผ่านเส้นประตูออกไปนอกสนามนอกจากจะผ่านไปในระหว่าง เสาประตูไม่ว่าจะกลิ้งไปบนพื้นสนามหรือลอยไปในอากาศก็ตามโดยฝ่ายรับเป็นผู้ ถูกลูกนั้นเป็นครั้งสุดท้าย ให้ฝ่ายรุกนาลูกไปวางเตะภายในเขตมุม ณ ธงมุมใกล้กับที่ลูกได้ออกไปและต้องไม่ทาให้คันธง เคลื่อนที่ ในการเตะจากมุมนี้ ถ้าเตะทีเดียวลูกตรงเข้าประตูให้นับว่าได้ประตูผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามกับผู้เตะจากมุมนั้นจะเข้า มาอยู่ใกล้ลูกในขณะที่ผู้เตะกาลังจะเตะลูกน้อยกว่า10 หลา ไม่ได้เว้นเสียแต่ผู้เตะจะได้เตะให้ลูกไปได้ไกลอย่างน้อย เท่ากับระยะรอบวงของลูกจึงจะเล่นต่อไปได้จะเล่นลูกนั้นซ้าอีกไม่ได้จนกว่าลูกนั้นจะได้ถูกหรือเล่นโดยผู้เล่นคนใดคน หนึ่งเสียก่อน
  • 30. ระยะเวลาการแข่งขัน การแข่งขันจะแบ่งออกเป็นสองครึ่งโดยครึ่งละ 45 นาที โดยเวลาการแข่งขันจะมีการนับตลอดเวลา แม้ว่าฟุตบอลจะ ถูกเตะออกนอกสนามและกรรมการสั่งให้หยุดเล่นก็ตามระหว่างครึ่งจะมีเวลาพักให้15 นาที กรรมการจะเป็นคน ควบคุมเวลา และจะทาการทดเวลาบาดเจ็บในช่วงท้ายของแต่ละครึ่งเพื่อทดแทนเวลาที่เสียไประหว่างการเล่น โดยเมื่อ จบการแข่งขันกรรมการจะทาการเป่านกหวีดเพื่อหยุดการแข่งขัน ในการแข่งขันแบบลีก จะมีการจบการแข่งขันสาหรับผลเสมอ แต่สาหรับการแข่งขันที่ต้องรู้ผลแพ้ชนะจะมีการต่อ เวลาพิเศษ(ง่ายๆคือการแข่งชิงถ้วย,จาน,หม้อ)ซึ่งจะประกอบไปด้วย 2 ครึ่ง ครึ่งละ 15 นาที โดยถ้าคะแนนยังคงเสมอ กันจะมีการให้เตะลูกโทษ (ด้านการเตะลูกโทษมีคนวิจัยมาว่าทีมไหนเตะก่อนจะมีเปอร์เซนต์การชนะมากกว่าทีมที่เตะที หลัง)
  • 31. ไอเอฟเอบีได้ทดลองการกาหนดรูปแบบการทาคะแนนในช่วงต่อเวลาที่เรียกว่า โกลเดนโกล โดย ทีมที่ทาประตูได้ก่อนในช่วงต่อเวลาจะเป็นผู้ชนะการแข่งขัน และ ซิลเวอร์โกล โดยทีมที่ทาประตูนา เมื่อจบครึ่งเวลาแรกจะเป็นผู้ชนะการแข่งขัน โดยโกลเดนโกลได้ถูกนามาใช้ใน ฟุตบอลโลก 1998 และ ฟุตบอลโลก 2002 โดยมีการใช้ครั้งแรกในการแข่งขันทีมชาติ ฝรั่งเศส ชนะ ปารากวัย ในปี 1998 ขณะที่ซิลเวอร์โกลได้มีการใช้ครั้งแรกในฟุตบอลยูโร 2004 ซึ่งปัจจุบันโกลเดนโกล และซิลเวอร์โกลไม่มีการใช้แล้ว
  • 32. การแข่งขันระหว่างประเทศ • ทีมชาติ การแข่งขันฟุตบอลในระดับโลกนั้น มีการแข่งขันสูงสุดคือ ฟุตบอลโลก ที่จัดขึ้นทุก 4 ปี ซึ่งทีมที่ร่วมเล่นจะเป็นทีม ชาติจากแต่ละประเทศที่เป็นสมาชิกของฟีฟ่า โดยแต่ละทีมจาเป็นต้องผ่านรอบคัดเลือกของทางสมาพันธ์ เพื่อมีสิทธิเข้า ร่วมเล่น โดยในแต่ละสมาพันธ์จะมีจากัดจานวนทีมที่ร่วมเล่นแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับผลงานของแต่ละทีมในอดีตโดยทาง ฟีฟ่าจะเป็นทางกาหนดและนอกจากฟุตบอลโลกแล้วในแต่ละสมาพันธ์จะมีการแข่งขันสูงสุดของแต่ละสมาพันธ์เองซึ่ง จัดขึ้นทุก 4 ปี โดยผู้ชนะจากแต่ละสมาพันธ์จะทาการแข่งขันกันในคอนเฟเดอเรชันส์คัพพร้อมกับทีมที่ชนะเลิศใน ฟุตบอลโลกครั้งล่าสุด
  • 34. ภูมิภาค เอเชีย แอฟริกา อเมริกาเหนือ และกลาง อเมริกาใต้ ออสเตรเลีย ยุโรป สมาพันธ์ เอเอฟซี ซีเอเอฟ คอนแคแคฟ คอนเมบอล โอเอฟซี ยูฟ่ำ AFC CAF CONCACAF CONMEBOL OFC UEFA การแข่งขันสูงสุด เอเชียนคัพ แอฟริกันคัพ โกลด์คัพ โคปำอเมริกำ โอเอฟซีเนชันส์คัพ ฟุตบอลยูฟ่ำยูโร ระดับโลก คอนเฟเดอเรชันส์คัพ
  • 35. • ทีมสโมสร สาหรับทีมสโมสรนั้น ทีมที่ชนะเลิศการแข่งขันในประเทศมีสิทธิเข้าร่วมการแข่งขันในระดับสมาพันธ์ที่มีการจัดขึ้น ทุกปี (บางสมาพันธ์จะให้ทีมรองชนะเลิศร่วมด้วย)โดยทีมที่ชนะเลิศในแต่ละสมาพันธ์จะมาแข่งขันกันในระดับโลก ใน การแข่งขัน ฟีฟ่าคลับเวิลด์คัพ ซึ่งจัดขึ้นทุกปี
  • 36. ภูมิภาค เอเชีย แอฟริกา อเมริกาเหนือ และกลาง อเมริกาใต้ ออสเตรเลีย ยุโรป สมาพันธ์ เอเอฟซี ซีเอเอฟ คอนแคแคฟ คอนเมบอล โอเอฟซี ยูฟ่ำ AFC CAF CONCACAF CONMEBOL OFC UEFA การแข่งขัน ระดับสมาพันธ์ เอเอฟซีแชมเปียนส์ ลีก ซีเอเอฟแชมเปียนส์ ลีก คอนคำแคฟ แชมเปียนส์ลีก โคปำลิเบอร์ตำโด เรส โอเชียเนียคลับ แชมเปียนชิพ ยูฟ่ำแชมเปียนส์ลีก ระดับโลก ฟีฟ่ำคลับเวิลด์คัพ
  • 37. สหพันธ์ฟุตบอล • สหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ สหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (Federation International Football Association FIFA) ก่อตั้งขึ้นที่ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมื่อ พ.ศ.2447 โดยสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศฝรั่งเศสและประเทศที่เข้าร่วมก่อตั้ง7 ประเทศคือ ฝรั่งเศส เบลเยียม เดนมาร์ก เนเธอร์แลนด์สเปน สวีเดน และสวิตเซอร์แลนด์มีสานักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ เมืองซู ริก ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
  • 38. • สมาพันธ์ฟุตบอลที่ได้รับการรับรองจากสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ 1.) Africa (C.A.F.) เป็นเขตที่มีสมาชิกมากที่สุด ได้แก่ ประเทศแอลจีเรีย ตูนิเซีย แซร์ ไนจีเรีย และซูดาน เป็นต้น
  • 39. 2.) America-North and Central Caribbean (Concacaf) ได้แก่ ประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดา เม็กซิโก คิวบา เอติ เอลซัลวาดอร์ กัวเตมาลา และฮอนดูรัสเป็นต้น
  • 40. 3.) South America (Conmebol) ได้แก่ ประเทศเปรู บราซิล อุรุกวัย โบลิเวีย อาร์เจนตินา ชิลี เวเนซุเอลา อี คิวเตอร์ และโคลัมเบีย เป็นต้น
  • 41. 4.) Asia (A.F.C.) เป็นเขตที่มีสมาชิกรองจากแอฟริกาได้แก่ ประเทศไทย มาเลเซีย เกาหลี ญี่ปุ่น ฮ่องกงเลบานอน อิสราเอล อิหร่าน จอร์แดน และเนปาลเป็นต้น
  • 42. 5.) Europe (U.E.F.A.) เป็นเขตที่มีการพัฒนามากที่สุด ได้แก่ ประเทศอังกฤษฝรั่งเศส เยอรมัน ฮังการี อิตาลี สกอตแลนด์รัสเซีย สวีเดน สเปน และเนเธอร์แลนด์เป็นต้น
  • 43. 6.) Oceania เป็นเขตที่มีสมาชิกน้อยที่สุดและเพิ่งจะได้รับการแบ่งแยกได้แก่ ประเทศออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ฟิจิ และปาปัวนิวกินี เป็นต้น ซึ่งประเทศต่างๆที่เป็นสมาชิกต้องเสียค่าบารุงเป็นรายปี ปีละ 300 ฟรังสวิสส์ หรือประมาณ 2,400 บาท
  • 44.
  • 45. • สหพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชีย ในทวีปเอเชียมีการจัดตั้งสหพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเอเชีย(A.F.C.) เพื่อดาเนินการด้านฟุตบอลดังนี้ พ.ศ.2495 มีการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกที่เฮลซิงกิ ประเทศฟินแลนด์โดยมีนักกีฬาและเจ้าหน้าที่จากประเทศในเอเชีย เข้ามาร่วมการแข่งขันด้วย จึงได้ปรึกษาหารือกันในการจัดตั้งสหพันธ์ฟุตบอลเอเชียขึ้น พ.ศ.2497 มีการแข่งขันเอเชียนเกมส์ที่กรุงมะนิลาประเทศฟิลิปปินส์ ก็ได้เริ่มตั้งคณะกรรมการจากชาติต่างๆที่เข้า ร่วมเป็นสมาชิก 12 ประเทศ
  • 46. • พ.ศ.2501 มีการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ที่ประเทศญี่ปุ่น ได้มีการประชุมเกี่ยวกับเรื่องนี้อีกและมีประเทศเข้าร่วม เป็นสมาชิกรวมเป็น 35 ประเทศ พ.ศ.2509 ฟีฟ่าได้มองเห็นความสาคัญของA.F.C. จึงได้กาหนดให้มีเลขานุการประจาในเอเชีย โดยออก ค่าใช้จ่ายให้ทั้งหมด รวมทั้งเงินเดือน และคนแรกที่ได้รับตาแหน่งคือ Khow Eve Turk พ.ศ.2517 ในการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ที่เตหะราน ประเทศอิหร่านได้มีการประชุมประเทศสมาชิกA.F.C. และที่ประชุมได้ลงมติขับไล่อิสราเอลออกจากสมาชิกและให้จีนแดงเข้าเป็นสมาชิกแทนทั้งๆ ที่จีนแดงไม่ได้เป็น สมาชิกของฟีฟ่านับว่าเป็นการสร้างเหตุการณ์ที่ประหลาดใจให้กับบุคคลทั่วไปเป็นอย่างมากทั้งนี้เนื่องจากเหตุผล ทางการเมือง พ.ศ.2519 มีการประชุมกันที่ประเทศมาเลเซียปรากฏว่าประเทศสมาชิกได้ลงมติให้ขับไล่ประเทศไต้หวันออกจาก สมาชิก และให้รับจีนแดงเข้ามาเป็นสมาชิกแทนทั้งๆ ที่ไต้หวันเป็นประเทศที่ร่วมกันก่อตั้งสหพันธ์ขึ้นมา
  • 48. • งานของสหพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชีย – ดาเนินการจัดการแข่งขันและควบคุม Asian Cup – ดาเนินการจัดการแข่งขันและควบคุม Asian Youth – ดาเนินการจัดการแข่งขันและควบคุมฟุตบอลโลกรอบคัดเลือก – ดาเนินการจัดการแข่งขันและควบคุม Pre-Olympic – ดาเนินการจัดการแข่งขันและควบคุม World Youth – ควบคุมการแข่งขัน Kings Cup, President Cup, Merdeka, Djakarta Cup นอกจากนี้ยังได้รับความร่วมมือจากฟีฟ่าจัดส่งวิทยากรมาช่วยดาเนินการ