SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
การสื่อสารและการส่งผ่านข้อมูล
จัดทาโดย
นาย ธงชัย เซี่ยงหวอง สชฟ1/1 เลขที่ 7
นางสาว พิมพิชา ยงสวาสดิ์ สชฟ1/1 เลขที่ 12
นาย ธนกร พานิชชอบ สชฟ1/2 เลขที่ 8
นาย พัฒนพงษ์ พังคา สชฟ1/2 เลขที่12
การสื่อสารข้อมูล (Data Communication)
การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและ
ผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล เพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับเกิดความ
เข้าใจซึ่งกันและกัน
วิธีการส่งข้อมูล จะแปลงข้อมูลเป็นสัญญาณ หรือรหัสเสียก่อนแล้วจึงส่งไปยังผู้รับ และเมื่อถึงปลายทางหรือผู้รับก็จะต้องมีการแปลง
สัญญาณนั้น กลับมาให้อยู่ในรูปที่มนุษย์ สามารถที่จะเข้าใจได้ ในระหว่างการส่งอาจจะมีอุปสรรค์ที่เกิดขึ้นก็คือ สิ่งรบกวน (Noise)
จากภายนอกทาให้ข้อมูลบางส่วนเสียหาย หรือผิดเพี้ยนไปได้ซึ่งระยะทางก็มีส่วนเกี่ยวข้อง ด้วยเพราะถ้าระยะทางในการส่งยิ่งมากก็อาจจะ
ทาให้เกิดสิ่งรบกวนได้มากเช่นกัน จึงต้องมีหาวิธีลดสิ่งรบกวน
เหล่านี้ โดยการพัฒนาตัวกลางในการสื่อสารที่จะทาให้เกิดการรบกวนน้อยที่สุด
องค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบสื่อสารโทรคมนาคม สามารถจาแนกออกเป็นส่วนประกอบได้
ดังต่อไปนี้
1. ผู้ส่งข่าวสารหรือแหล่งกาเนิดข่าวสาร (source) อาจจะเป็นสัญญาณต่าง ๆ เช่น
สัญญาณภาพ
ข้อมูล และเสียงเป็นต้น ในการติดต่อสื่อสารสมัยก่อนอาจจะใช้แสงไฟ ควันไฟ หรือท่าทางต่าง ๆ ก็นับว่า
เป็นแหล่งกาเนิดข่าวสาร จัดอยู่ในหมวดหมู่นี้เช่นกัน
2. ผู้รับข่าวสารหรือจุดหมายปลายทางของข่าวสาร (sink) ซึ่งจะรับรู้จากสิ่งที่ผู้ส่ง
ข่าวสาร หรือแหล่งกาเนิดข่าวสารส่งผ่านมาให้ตราบใด
ที่การติดต่อสื่อสารบรรลุวัตถุประสงค์ ผู้รับสารหรือจุดหมายปลายทางของข่าวสารก็จะได้รับข่าวสารนั้น
ๆ ถ้าผู้รับสารหรือ จุดหมายปลายทางไม่ได้รับ
ข่าวสาร ก็แสดงว่าการสื่อสารนั้นไม่ประสบความสาเร็จ กล่าวคือไม่มีการสื่อสารเกิดขึ้นนั่นเอง
องค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบ
3. ช่องสัญญาณ (channel) ในที่นี้อาจจะหมายถึงสื่อกลางหรือตัวกลางที่ข่าวสารเดิน
ทางผ่าน อาจจะเป็นอากาศ สายนาสัญญาณต่าง ๆ หรือแม้กระทั่งของเหลว เช่น น้า น้ามัน เป็น
ต้น เปรียบเสมือนเป็นสะพานที่จะให้ข่าวสารข้ามจากฝั่งหนึ่งไปยังอีกฝั่งหนึ่ง
4. การเข้ารหัส (encoding) เป็นการช่วยให้ผู้ส่งข่าวสารและผู้รับข่าวสารมีความเข้าใจตรงกันในการ
สื่อความหมาย จึงมีความจาเป็นต้องแปลง
ความหมายนี้ การเข้ารหัสจึงหมายถึงการแปลงข่าวสารให้อยู่ในรูปพลังงาน ที่พร้อมจะส่งไปในสื่อกลาง ทางผู้
ส่งมีความเข้าใจต้องตรงกันระหว่าง ผู้ส่งและผู้รับ หรือมีรหัสเดียวกัน การสื่อสารจึงเกิดขึ้นได้
5. การถอดรหัส (decoding) หมายถึงการที่ผู้รับข่าวสารแปลงพลังงานจากสื่อกลางให้กลับไปอยู่
ในรูปข่าวสารที่ส่งมาจากผู้ส่งข่าวสาร โดยมีความเข้าในหรือรหัสตรงกัน
 6. สัญญาณรบกวน (noise) เป็นสิ่งที่มีอยู่ในธรรมชาติ มักจะลดทอนหรือรบกวนระบบ
อาจจะเกิดขึ้นได้ทั้งทางด้านผู้ส่งข่าวสาร ผู้รับข่าวสาร และช่องสัญญาณ แต่ในการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มักจะสมมติให้ทางด้านผู้ส่งข่าวสารและผู้รับข่าวสารไม่มีความผิดพลาด ตาแหน่งที่ใช้วิเคราะห์ มักจะเป็นที่
ตัวกลางหรือช่องสัญญาณ เมื่อไรที่รวมสัญญาณรบกวนด้านผู้ส่งข่าวสารและด้านผู้รับข่าวสาร ในทาง
ปฎิบัติมักจะใช้ วงจรกรอง (filter)
กรองสัญญาณแต่ต้นทาง เพื่อให้การสื่อสารมีคุณภาพดียิ่งขึ้นแล้วค่อยดาเนินการ เช่น การเข้ารหัส
แหล่งข้อมูล เป็นต้น
ข่ายการสื่อสารข้อมูล
หมายถึง การรับส่งข้อมูลหรือสารสนเทศจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง โดยอาศัยระบบการส่งข้อมูล ทางคลื่นไฟฟ้ าหรือ
แสง อุปกรณ์ที่ประกอบเป็นระบบการสื่อสารข้อมูลโดยทั่วไปเรียกว่า
ข่ายการสื่อสารข้อมูล (Data Communication Networks)
องค์ประกอบพื้นฐาน
1.หน่วยส่งข้อมูล (Sending Unit)
2.ช่องทางการส่งข้อมูล (Transmisstion Channel)
3.หน่วยรับข้อมูล (Receiving Unit)
 วัตถุประสงค์หลักของการนาการสื่อการข้อมูลมาประยุกต์ใช้ในองค์การประกอบด้วยเพื่อรับข้อมูลและ
สารสนเทศจากแหล่งกาเนิดข้อมูล
 เพื่อส่งและกระจายข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว
 เพื่อลดเวลาการทางาน
 เพื่อการประหยัดค่าใช้จ่ายในการส่งข่าวสาร
 เพื่อช่วยขยายการดาเนินการองค์การ
 เพื่อช่วยปรับปรุงการบริหารขององค์การ
 ประโยชน์ของการสื่อสารข้อมูล
1) การจัดเก็บข้อมูลได้ง่ายและสื่อสารได้รวดเร็ว การจัดเก็บซึ่อยู่ในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ สามารถ
จัดเก็บไว้ในแผ่นบันทึกที่มีความหนาแน่นสูง
แผ่นบันทึกแผ่นหนึ่งสามารถบันทึกข้อมูลได้มากกกว่า 1 ล้านตัวอักษร สาหรับการสื่อสารข้อมูลนั้น ถ้าข้อมูลผ่าน
สายโทรศัพท์ได้ในอัตรา 120 ตัวอักษร
ต่อวินาทีแล้ว จะส่งข้อมูล 200 หน้าได้ในเวลา 40 นาที โดยไม่ต้องเสียเวลานั่งป้ อนข้อมูลเหล่านั้นซ้าใหม่อีก
2) ความถูกต้องของข้อมูล โดยปกติวิธีส่งข้อมูลด้วยสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งด้วย
ระบบดิจิตอล วิธีการส่งข้อมูลนั้นมีการตรวจสอบ
สภาพของข้อมูล หากข้อมูลผิดพลาดก็จะมีการรับรู้ และพยายามหาวิธีแก้ไขให้ข้อมูลที่ได้รับมีความถูกต้อง โดยอาจ
ให้ทาการส่งใหม่ หรือกรณีที่ผิดพลาด
ไม่มากนัก ฝ่ายผู้รับอาจใช้โปรแกรมของตนแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องได้
3) ความเร็วของการทางาน โดยปกติสัญญาณทางไฟฟ้ าจะเดินทางด้วยความเร็วเท่าแสง ทาให้การใช้
คอมพิวเตอร์ส่งข้อมูลจากซีกโลกหนึ่ง ไปยังอีกซีก
โลกหนึ่ง หรือค้นหาข้อมูลจากฐานข้อมูลขนาดใหญ่ สามารถทาได้รวดเร็ว ความรวดเร็วของระบบทาให้ผู้ใช้
สะดวกสบายยิ่งขึ้น เช่น บริษัทสายการบินทุกแห่ง
สามารถทราบข้อมูลของทุกเที่ยวบินได้อย่างรวดเร็ว ทาให้การจองที่นั่งของสายการบินสามารถทาได้ทันที
4) ต้นทุนประหยัด การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าหากันเป็นเครือข่าย เพื่อส่งหรือสาเนาข้อมูล ทาให้ราคาต้นทุน
ของการใช้ข้อมูลประหยัดขึ้น เมื่อเทียบกับการ
จัดส่งแบบวิธีอื่น สามารถส่งข้อมูลให้กันและกันผ่านทางสายโทรศัพท์ได้
 ความหมายของ Data Transmission
 การส่งข้อมูลเกิดขึ้นระหว่างเครื่องส่งสัญญาณ (ผู้ส่ง) และผู้รับ บนตัวกลางการสื่อสาร
 การถ่ายโอนข้อมูลนี้จะเกิดขึ้นโดยผ่านตัวกลาง เช่น Coaxial cable (สายโคแอคเชียล),
Fiber optics (สายใยแก้วนาแสง) ฯลฯ
 ความสาเร็จในการส่งข้อมูลขึ้นอยู่กับสองปัจจัย คือ คุณภาพของสัญญาณและตัวกลางการ
สื่อสารที่ส่ง
การส่งผ่านข้อมูล (Data Transmission)
 การส่งผ่านข้อมูลโดยสัญญาณแอนาลอกไม่ต้องคานึงถึงว่าข้อมูลจะเป็นแอนาลอก (voice) หรือ
ดิจิตอล (ข้อมูลที่เป็น binary จะผ่าน modem)
 สัญญาณแอนาลอกจะมีการลดทอนแปรผันไปตามระยะทาง
 มีการใช้ amplifier สาหรับขยายสัญญาณหรือเป็นrepeater
 แต่อย่างไรก็ตาม amplifier ก็จะขยายสัญญาณรบกวนด้วย
การส่งผ่านข้อมูลอะนาล็อค (Analog
Transmission)
 การส่งผ่านข้อมูลโดยสัญญาณดิจิตอลต้องคานึงถึงสัญญาณรบกวน, การลดทอนและอื่นๆ
 ความสมบูรณ์ของข้อมูลถูกลดทอน โดยสัญญาณรบกวน, การลดทอนและอื่นๆ
 ใช้ repeater สาหรับกู้คืนข้อมูลหรือทาซ้าข้อมูลที่รับมาได้
 จากคุณสมบัติของ repeater ดังกล่าวทาให้ข้อมูลดิจิตอลรับได้ที่จุดหมายปลายทางไม่มี
สัญญาณรบกวนสะสมเนื่องจากสัญญาณรบกวนจะถูกขจัดไปโดย repeater โดย
สัญญาณดิจิตอลจะถูกสร้างขึ้นมาใหม่ที่ repeater นั้นๆ
 สัญญาณรบกวนจะไม่ถูกขยาย
การส่งผ่านข้อมูลดิจิตอล (Digital Transmission)
 เทคโนโลยีของดิจิตอล
 มีต้นทุนถูกโดยอาศัยเทคโนโลยีของ LSI/VLSI
 ความเที่ยงตรงของข้อมูล
 เนื่องจากการใช้repeater ทาให้สัญญาณดิจิตอลสามารถส่งผ่านตัวกลางที่มีคุณภาพต่าได้ในระยะทางที่ไกลๆ
 ความจุประสิทธิผล
 ประหยัดในการสร้าง link สาหรับส่งผ่านสัญญาณในระบบที่ต้องการแบนด์วิดท์กว้างเช่น satelliteและ optical
fiber
 การ multiplex โดยใช้เทคนิคของดิจิตอลทาได้ง่ายและถูกมากกว่าการใช้เทคนิคของแอนาลอก
 ความปลอดภัยหรือการรักษาความลับของข้อมูลข่าวสาร
 การเข้ารหัสข้อมูล (Encryption)
 Integration
 อาศัยการแปลงข้อมูลทั้งแอนาลอกและดิจิตอลให้เป็นสัญญาณดิจิตอลดังนั้นข้อมูลทั้งสองชนิดจะมีรูปแบบเดียวกันทาให้ง่าย
ต่อการออกแบบและผลิต

ข้อดีของการส่งผ่านดิจิตอล: เหตุผลของเลือกที่ส่งผ่านดิจิตอล
ต้น
ทาง
ปลายท
าง
2. การส่งผ่านข้อมูลแบบอนุกรม (Serial
Transimission)
รูปแบบการส่งผ่านข ้อมูลในลักษณะนี้ทุกบิตที่เข ้ารหัสแทนข ้อมูลหนึ่งตัวอักษรจะถูกส่งผ่านไปตามสายส่งเรียงลาดับกันไปทีละบิตในสายส่งเพียงเส ้นเดียว ดังรูป
รูปที่ 5 การส่งข ้อมูลแบบอนุกรม
 จากรูปตัวอักษรจะประกอบด้วย 8 บิต เรียงเป็นลาดับ ข้อมูลจะถูกส่งออกมาทีละบิตระหว่างต้นทาง และ
ปลายทาง และปลายทางจะรวบรวมบิตเหล่านี้ทีละบิตจนครบ 8 บิต เป็น 1 ตัวอักษร จะเห็นว่าการส่ง
ข้อมูลแบบนี้จะช้ากว่าแบบขนาน แต่ค่าใช้จ่ายจะถูกกว่าแบบขนาน ซึ่งเหมาะสาหรับการส่งระยะทางไกลๆ
โดยทั่วไปแล้วการส่งข้อมูลนั้นจะประกอบไปด้วยกลุ่มของตัวอักษร ดังนั้นในการส่งข้อมูลแบบอนุกรม
นี้จึงเกิดปัญหาขึ้นว่า แล้วต้นทางและปลายทางจะทราบได้อย่างไรว่า จะแบ่งแต่ละตัวอักษรตรงบิตใด จึง
เกิดวิธีการสื่อสารข้อมูลขึ้น 2 แบบคือ การสื่อสารแบบอะซิงโคนัส (Asynchronous
Transmission) และการสื่อสารแบบซิงโคนัส (Synchronous Transmission
 การสื่อสารแบบอะซิงโคนัส หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าเป็น การสื่อสารแบบระบุจุดเริ่มต้น และ
จุดสิ้นสุด (Start-Stop Transmission) ลักษณะของสัญญาณที่ใช้ในการ
ติดต่อสื่อสารกันจะประกอบไปด้วย บิตเริ่มต้น (start bit) บิตของข้อมูลที่สื่อสาร
(transmission data) จานวน 8 บิต บิตตรวจข้อผิดพลาด(parity bit) และ
บิตสิ้นสุด (stop bit) สาหรับบิตตรวจสอบข้อผิดพลาดจะใช้หรือไม่ใช้ก็ได้ ดังนั้น
สัญญาณจึงต้องประกอบด้วยส่วนประกอบอย่างน้อย 3 ส่วน ดังรูป
2.1 การสื่อสารแบบอะซิงโคนัส (Asynchronous
Transmission)

 รูปที่ 6 การสื่อสารแบบอะซิงโคนัสที่ไม่ได้ใช้พารีตี้บิต
รูปที่ 7 การสื่อสารแบบอะซิงโคนัสที่ใช้พารีตี้บิต
 จากรูปจะเห็นว่าขณะที่ไม่มีข้อมูลส่งออกมาสถานะของการส่งจะเป็นแบบว่าง (Idle) ซึ่งจะมีระดับของ
สัญญาณเป็น 1 ตลอดเวลา เพื่อความแน่ใจว่าปลายทาง หรือฝ่ายรับยังคงติดต่อกับต้นทาง หรือฝ่ายส่ง
อยู่ เมื่อเริ่มจะส่งข้อมูลสัญญาณของอะซิงโคนัสจะเป็น 0 หนึ่งช่วงสัญญาณนาฬิกา ซึ่งบิตนี้เราเรียกว่าบิต
เริ่มต้น ตามหลังของบิตเริ่มต้นจะเป็นบิตข้อมูลสาหรับ 1 ตัวอักษร ตามหลังบิตข้อมูลก็จะเป็นบิตตรวจ
ข้อผิดพลาด แล้วจะตามด้วยบิตสิ้นสุด ถ้าไม่ใช่บิตตรวจข้อผิดพลาด ตามหลังบิตข้อมูลก็จะเป็นบิตสิ้นสุด
เลย หลังจากนั้นถ้าไม่มีข้อมูลส่งออกมาสัญญาณจะกลับไปอยู่ที่สถานะแบบว่างอีก เพื่อรอการส่งข้อมูล
ต่อไป
จะเห็นว่าการสื่อสารแบบอะซิงโคนัสนี้ มีลักษณะเป็นไปทีละตัวอักษร และสัญญาณที่ส่งออกมา มี
บางส่วนเป็นบิตเริ่มต้น บิตสิ้นสุด และบิตตรวจข้อผิดพลาด ทาให้ความเร็วในการส่งข้อมูลต่อวินาที
น้อยลงไป เนื่องจากต้อง สูญเสียช่องทางการสื่อสารให้กับ บิตเริ่มต้น บิตสิ้นสุด และบิตตรวจ
ข้อผิดพลาด (ถ้ามีใช้) ตลอดเวลา การสื่อสาร แบบอะซิงโคนัสนี้มักใช้ในการติดต่อระหว่างคอมพิวเตอร์
กับอุปกรณ์รอบข้าง
 การสื่อสารแบบซิงโคนัส จะทาการจัดกลุ่มของข้อมูลเป็นกลุ่มๆ และทาการส่งข้อมูลทั้งกลุ่มไป
พร้อมกันในทีเดียว เราเรียกกลุ่มของข้อมูลนี้ว่า บล็อกของข้อมูล (Block of Data)
ซึ่งตัวอักษรตัวแรก และตัวถัดไปที่อยู่ในบล็อกเดียวกันจะไม่มีอะไรมาคั่นเหมือนอย่างแบบอะซิง
โคนัส ที่ต้องใช้บิตเริ่มต้น และบิตสิ้นสุดคั่นทุกๆ ตัวอักษร แต่จะมีข้อมูลเริ่มต้นซึ่งเป็นลักษณะ
ของบิตพิเศษที่ส่งมาเพื่อให้รู้ว่านั้นคือ จุดเริ่มต้นของกลุ่มตัวอักษรที่กาลังส่งเรียงกันเข้ามา
เช่น อักขระซิง (SYN character) โดยที่อักขระซิงมีรูปแบบบิต คือ 00010110
ตัวอย่างของการส่งแสดงได้ดังรูป
2.2 การสื่อสารแบบซิงโคนัส (Synchronous
Transmission)
จากรูปเมื่อลายทางตรวจพบอักขระซิง หรือ 00010110 แล้วจะทราบได้
ทันทีว่าบิตที่ตามมาคือบิตตัวอักษรแต่ละตัว แต่การใช้อักขระซิงเพียงตัว
เดียวอาจเกิดข้อผิดพลาดได้ เช่น ถ้าเราส่งตัวอักษร b และตัวอักษร a
ติดต่อกันไป ซึ่งตัวอักษร b มีรูปแบบบิตคือ 01100010 และตัวอักษร
a มีรูปแบบบิตคือ 01100001 การส่งจะแสดงได้ดังรูป
จะเห็นว่าเครื่องปลายทางจะตรวจพบอักขระซิงระหว่างบิตของ
ตัวอักษร b และตัวอักษร a ทาให้เข้าใจว่าบิตต่อไปจะเป็นบิต
ของกลุ่มข้อมูล ซึ่งจะทาให้การรับข้อมูลนั้นเกิดผิดพลาดขึ้นได้
ดังนั้นจึงแก้ปัญหาด้วยการใช้อักขระซิง 2 ตัวต่อกันเป็นลักษณะ
ของบิตพิเศษที่บอกให้ทราบว่าเป็นจุดเริ่มต้นบิตของกลุ่มข้อมูล
ตัวอย่างของการใช้อักขระซิง 2 ตัวในการสื่อสารแบบซิงโคนัส
และการตัดแถวของบิตข้อมูลออกเป็นกลุ่มทีละ 8 บิต เพื่อแทน
ข้อมูลแสดงได้ดังรูป
รูปที่ 8 ตัวอย่างการใช้อักขระซิง 2 ตัวในการสื่อสารแบบซิงโคนัส
รูปที่ 9 แสดงการตัดแถวของบิตออกเป็นกลุ่มๆ ละ 8 บิต
การสื่อสารแบบซิงโคนัสนี้มักใช้ในการติดต่อระหว่างคอมพิวเตอร์
ประสิทธิภาพของการส่งผ่านข้อมูลแบบอะซิงโคนัส และแบบซิงโคนัส
รูปที่ 10 การส่งผ่านข้อมูลแบบซิงโคนัส
รูปที่ 11 การส่งผ่านข้อมูลแบบอะซิงโคนัส
 จากรูปที่ 10 แสดงให้เห็นว่าการส่งผ่านข้อมูลแบบซิงโคนัสนั้นส่วนมากแล้ว ตลอดทาง
ของสายส่งจะใช้ส่งผ่านข้อมูลเต็มตลอดทั้งสาย ส่วนรูปที่ 11 แสดงให้เห็นว่าการส่งผ่าน
ข้อมูลแบบอะซิงโคนัสนั้นสายส่งจะขาดความต่อเนื่องของสัญญาณข้อมูลที่ส่งผ่าน หรือถ้ามี
สัญญาณข้อมูลที่ส่งผ่านต่อเนื่องกันเต็มตลอดทั้งสายแล้ว ก็จะสูญเสียช่องทางในการส่งไป
กับการส่งบิตเริ่มต้น และบิตสิ้นสุดของแต่ละตัวอักษร
 ตัวอย่างเช่น กรณีที่ส่งผ่านข้อมูลที่อยู่ในรูปของรหัส ASCII ซึ่งตัวอักษรหนึ่งตัวถูก
แทนด้วย 8 บิต ถ้ามีการส่งกลุ่มของข้อมูล 240 ตัวอักษร ในกรณีการส่งผ่านข้อมูลแบบ
ซิงโคนัสมีการใช้ตัวอักขระซิง 3 ตัว และการส่งผ่าน ข้อมูลแบบอะซิงโคนัสไม่มีการใช้บิต
ตรวจข้อผิดพลาด ดังนั้นเราสามารถคานวณหาอัตราส่วนระหว่างการส่งข้อมูลได้ ดังนี้
 บิตทั้งหมดของตัวอักษรที่ส่งจะได้
 240 ตัวอักษร x 8 บิต/ตัวอักษร = 1920 บิต
แบบซิงโคนัส
บิตของตัวอักขระซิงที่ใช้จะได้SYN 3 ตัว เท่ากับ 3 x 8 บิต = 24 บิต
ผลรวมของบิตที่ต้องส่งทั้งหมด = 1920 + 24 = 1944 บิต
อัตราส่วนระหว่างการส่งข้อมูลที่ต้องส่งจริง กับจานวนบิตทั้งหมดที่จาเนตนต้องส่งออ
1920 หารด้วย 1944 จะได้นระมาณ 99 %
แบบอะซิงโคนัส
บิตเริ่มต้น และบิตสิ้นสุดที่ใช้จะได้2 x 240 = 480 บิต
ผลรวมของบิตที่ต้องส่งทั้งหมด = 1920 + 480 = 2400 บิต
อัตราส่วนระหว่างการส่งข้อมูลที่ต้องส่งจริง กับจานวนบิตทั้งหมดที่จาเนตนต้องส่งออ
1920 หารด้วย 2400 จะได้นระมาณ 80 %
 บิตตรวจข้อผิดพลาด หรือพารีตี้บิต จะเป็นบิตที่ใช้เพื่อทาหน้าที่ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่ส่ง
ซึ่งมีอยู่ 2 แบบด้วยกันคือ การตรวจสอบจานวนคี่ (odd parity) และการตรวจสอบจานวนคู่
(even parity)
 การตรวจสอบจานวนคี่ (Odd parity) หมายถึง บิตตรวจสอบจะต้องนับบิตที่มีค่าของ 1
สาหรับกลุ่มของบิตที่จะส่งและต้องการตรวจสอบอยู่เป็นจานวนคี่ เช่น ถ้านับบิตที่มีค่าของ 1 ในกลุ่ม
ของบิตที่จะส่ง และต้องการ ตรวจสอบได้เป็นจานวนคู่ บิตตรวจสอบนี้จะต้องมีค่าเป็น 1 เพื่อที่จะรวม
เป็นจานวนคี่ แต่ถ้าจานวนนับได้เป็นจานวนคี่ บิตตรวจสอบก็จะมีค่าเป็น 0
ตัวอย่าง
สมมุติว่าถ้าข้อมูลที่ต้องการส่งมี 7 บิต คือ 0110011 บิตตรวจสอบจานวนคี่จะต้องมีค่าเป็น 1
เพราะนับบิตที่มีค่าของ 1 ได้เท่ากับ 4 ตัว ซึ่งเป็นเลขคู่ เมื่อรวมกับบิตตรวจสอบจานวนคี่ที่มีค่าเป็น 1
ก็จะนับได้เป็น 5 ตัว ซึ่งเป็นเลขคี่และการส่งข้อมูลพร้อมบิตตรวจสอบไปจะได้เป็น 10110011
การใช้บิตตรวจข้อผิดพลาด
 หมายถึง บิตตรวจสอบจะต้องนับบิตที่มีค่าของ 1 สาหรับกลุ่มของบิตที่จะส่งและต้องการตรวจสอบอยู่เป็นจานวน
คู่ เช่น ถ้านับบิตที่มีค่าของ 1 ในกลุ่มของบิตที่จะส่งและต้องการ ตรวจสอบได้เป็นจานวนคู่ บิตตรวจสอบนี้
จะต้องมีค่าเป็น 0 เพื่อที่จะรวมเป็นจานวนคู่ แต่ถ้าจานวนนับได้เป็นจานวนคี่ บิตตรวจสอบก็จะมีค่าเป็น 1
ตัวอย่าง
สมมุติว่าถ้าข้อมูลที่ต้องการส่งมี 7 บิต คือ 0110011 บิตตรวจสอบจานวนคู่จะต้องมีค่าเป็น 0 เพราะนับ
บิตที่มีค่าของ 1 ได้เท่ากับ 4 ตัว ซึ่งเป็นเลขคู่ การส่งข้อมูลพร้อมบิตตรวจสอบไปจะได้เป็น 00110011
การตรวจสอบความถูกต้องทาได้โดย ระหว่างต้นทางและปลายทางจะต้องตกลงกันว่าจะใช้ตัวตรวจ
ข้อผิดพลาดชนิดใด ถ้าใช้ตัวตรวจข้อผิดพลาดแบบจานวนคี่แล้วเมื่อปลายทางรับข้อมูลจะตรวจสอบจานวนบิตที่
มีค่าเป็น 1 ว่าเป็นจานวนคี่หรือไม่ ถ้าไม่เป็นจานวนคี่แสดงว่าข้อมูลเกิดความผิดพลาดขึ้น ปลายทางจะต้องแจ้ง
ให้ต้นทางทราบ อาจจะให้ต้นทางส่งข้อมูลมาใหม่อีกครั้ง ส่วนการใช้ตัวตรวจข้อผิดพลาดแบบจานวนคู่ก็จะใช้
หลักการคล้ายๆ กัน
การตรวจสอบจานวนคู่ (Even parity)
 สามารถแบ่งทิศทางการสื่อสารของข้อมูลได้เป็น 3 แบบ คือ
 1. แบบทิศทางเดียว (Simplex) เป็นทิศทางการสื่อสารข้อมูลแบบที่ข้อมูลจะถูกส่งจาก
ทิศทางหนึ่งไปยังอีกทิศทางโดยไม่สามารถส่งข้อมูลย้อนกลับมาได้ เช่นระบบวิทยุ หรือ
โทรทัศน์
ทิศทางของการสื่อสารข้อมูล
2. แบบกึ่งสองทิศทาง (Half Duplex) เป็นทิศทางการสื่อสารข้อมูลแบบที่
ข้อมูลสามารถส่งกลับกันได้ 2 ทิศทาง แต่จะไม่สามารถส่งพร้อมกันได้ โดยต้อง
ผลัดกันส่งครั้งละทิศทางเท่านั้น เช่น วิทยุสื่อสารแบบผลัดกันพูด
3. แบบสองทิศทาง (Full Duplex) เป็นทิศทางการสื่อสารข้อมูล
แบบที่ข้อมูลสามารถส่งพร้อม ๆ กันได้ทั้ง 2 ทิศทาง ในเวลาเดียวกัน
เช่น ระบบโทรศัพท์
 ระบบเครือข่ายแบบเบสแบนด์ และบรอดแบนด์
 ระบบเครือข่ายแบบเบสแบนด์ (Baseband) เป็นการสื่อสารข้อมูลที่สายสัญญาณหรือตัวกลางใน
การส่งผ่านสัญญาณ สามารถส่งได้เพียงหนึ่งสัญญาณในเวลาขณะใดขณะหนึ่งเท่านั้น นั่นคืออุปกรณ์ที่ใช้
งานสายสัญญาณขณะนั้นจะครอบครองช่องสัญญาณทั้งหมด โดยอุปกรณ์อื่นจะไม่สามารถร่วมใช้งานได้
เลย เช่น ระบบโทรศัพท์ เป็นต้น การสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ส่วนมากจะเป็นการสื่อสารแบบนี้ รวมทั้ง
การสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์อื่นๆ ยกเว้นการสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายแบบ B-ISDN
ซึ่งเป็นแบบบรอดแบนด์
 ระบบเครือข่ายแบบบรอดแบนด์ (Broadband) เป็นการสื่อสารข้อมูลที่ตัวกลางในการส่งผ่าน
สัญญาณ สามารถส่งสัญญาณผ่านได้หลายๆ ช่องทางพร้อมๆ กัน โดยใช้วิธีแบ่งช่องความถี่ออกจากกัน
ทาให้อุปกรณ์ต่างๆ สามารถสื่อสารกันโดยใช้ช่องความถี่ของตนเองaผ่านตัวกลางเดียว ตัวอย่างเช่น
ระบบเครือข่ายเคเบิลทีวี เป็นต้น

More Related Content

What's hot

ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์Mind's Am'i
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลchukiat008
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์Warayut Pakdee
 
ใบความรู้หน่วยที่ 3
ใบความรู้หน่วยที่ 3 ใบความรู้หน่วยที่ 3
ใบความรู้หน่วยที่ 3 Ann Koklang
 
งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3sawitri555
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1watnawong
 
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ Sirinat Sansom
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10katuckkt
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์Supicha Ploy
 

What's hot (18)

ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้หน่วยที่ 3
ใบความรู้หน่วยที่ 3 ใบความรู้หน่วยที่ 3
ใบความรู้หน่วยที่ 3
 
Chapter 1 com net basic
Chapter 1 com net basicChapter 1 com net basic
Chapter 1 com net basic
 
งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1
 
Computer comunication
Computer comunicationComputer comunication
Computer comunication
 
Data communication
Data communicationData communication
Data communication
 
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่าย
เครือข่ายเครือข่าย
เครือข่าย
 
รายงาน (1) (2)
รายงาน (1) (2)รายงาน (1) (2)
รายงาน (1) (2)
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
รายงาน[1]
รายงาน[1]รายงาน[1]
รายงาน[1]
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

Similar to การสื่อสารและการส่งผ่านข้อมูล

การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลaomaamjeeranan
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลaomaamjeeranan
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลaomaamjeeranan
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลaomaamjeeranan
 
งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3amphaiboon
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and networkNidzy Krajangpat
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and networkkamol
 
งานนำเสนอบทที่ 4
งานนำเสนอบทที่ 4งานนำเสนอบทที่ 4
งานนำเสนอบทที่ 4sawitri555
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3chushi1991
 
การสื่ออสารข้อมูล
การสื่ออสารข้อมูลการสื่ออสารข้อมูล
การสื่ออสารข้อมูลตอ ต้น
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลchukiat008
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสารTuaLek Kitkoot
 
Ch4 communication and network
Ch4 communication and networkCh4 communication and network
Ch4 communication and networkNittaya Intarat
 
แม็พคอม
แม็พคอมแม็พคอม
แม็พคอมNattanaree
 

Similar to การสื่อสารและการส่งผ่านข้อมูล (20)

บท3
บท3บท3
บท3
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
งานนำเสนอบทที่ 4
งานนำเสนอบทที่ 4งานนำเสนอบทที่ 4
งานนำเสนอบทที่ 4
 
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
การสื่ออสารข้อมูล
การสื่ออสารข้อมูลการสื่ออสารข้อมูล
การสื่ออสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสาร
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
Ch4 communication and network
Ch4 communication and networkCh4 communication and network
Ch4 communication and network
 
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
แม็พคอม
แม็พคอมแม็พคอม
แม็พคอม
 

การสื่อสารและการส่งผ่านข้อมูล

  • 1. การสื่อสารและการส่งผ่านข้อมูล จัดทาโดย นาย ธงชัย เซี่ยงหวอง สชฟ1/1 เลขที่ 7 นางสาว พิมพิชา ยงสวาสดิ์ สชฟ1/1 เลขที่ 12 นาย ธนกร พานิชชอบ สชฟ1/2 เลขที่ 8 นาย พัฒนพงษ์ พังคา สชฟ1/2 เลขที่12
  • 2. การสื่อสารข้อมูล (Data Communication) การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและ ผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล เพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับเกิดความ เข้าใจซึ่งกันและกัน วิธีการส่งข้อมูล จะแปลงข้อมูลเป็นสัญญาณ หรือรหัสเสียก่อนแล้วจึงส่งไปยังผู้รับ และเมื่อถึงปลายทางหรือผู้รับก็จะต้องมีการแปลง สัญญาณนั้น กลับมาให้อยู่ในรูปที่มนุษย์ สามารถที่จะเข้าใจได้ ในระหว่างการส่งอาจจะมีอุปสรรค์ที่เกิดขึ้นก็คือ สิ่งรบกวน (Noise) จากภายนอกทาให้ข้อมูลบางส่วนเสียหาย หรือผิดเพี้ยนไปได้ซึ่งระยะทางก็มีส่วนเกี่ยวข้อง ด้วยเพราะถ้าระยะทางในการส่งยิ่งมากก็อาจจะ ทาให้เกิดสิ่งรบกวนได้มากเช่นกัน จึงต้องมีหาวิธีลดสิ่งรบกวน เหล่านี้ โดยการพัฒนาตัวกลางในการสื่อสารที่จะทาให้เกิดการรบกวนน้อยที่สุด
  • 3. องค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบสื่อสารโทรคมนาคม สามารถจาแนกออกเป็นส่วนประกอบได้ ดังต่อไปนี้ 1. ผู้ส่งข่าวสารหรือแหล่งกาเนิดข่าวสาร (source) อาจจะเป็นสัญญาณต่าง ๆ เช่น สัญญาณภาพ ข้อมูล และเสียงเป็นต้น ในการติดต่อสื่อสารสมัยก่อนอาจจะใช้แสงไฟ ควันไฟ หรือท่าทางต่าง ๆ ก็นับว่า เป็นแหล่งกาเนิดข่าวสาร จัดอยู่ในหมวดหมู่นี้เช่นกัน 2. ผู้รับข่าวสารหรือจุดหมายปลายทางของข่าวสาร (sink) ซึ่งจะรับรู้จากสิ่งที่ผู้ส่ง ข่าวสาร หรือแหล่งกาเนิดข่าวสารส่งผ่านมาให้ตราบใด ที่การติดต่อสื่อสารบรรลุวัตถุประสงค์ ผู้รับสารหรือจุดหมายปลายทางของข่าวสารก็จะได้รับข่าวสารนั้น ๆ ถ้าผู้รับสารหรือ จุดหมายปลายทางไม่ได้รับ ข่าวสาร ก็แสดงว่าการสื่อสารนั้นไม่ประสบความสาเร็จ กล่าวคือไม่มีการสื่อสารเกิดขึ้นนั่นเอง องค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบ
  • 4.
  • 5. 3. ช่องสัญญาณ (channel) ในที่นี้อาจจะหมายถึงสื่อกลางหรือตัวกลางที่ข่าวสารเดิน ทางผ่าน อาจจะเป็นอากาศ สายนาสัญญาณต่าง ๆ หรือแม้กระทั่งของเหลว เช่น น้า น้ามัน เป็น ต้น เปรียบเสมือนเป็นสะพานที่จะให้ข่าวสารข้ามจากฝั่งหนึ่งไปยังอีกฝั่งหนึ่ง 4. การเข้ารหัส (encoding) เป็นการช่วยให้ผู้ส่งข่าวสารและผู้รับข่าวสารมีความเข้าใจตรงกันในการ สื่อความหมาย จึงมีความจาเป็นต้องแปลง ความหมายนี้ การเข้ารหัสจึงหมายถึงการแปลงข่าวสารให้อยู่ในรูปพลังงาน ที่พร้อมจะส่งไปในสื่อกลาง ทางผู้ ส่งมีความเข้าใจต้องตรงกันระหว่าง ผู้ส่งและผู้รับ หรือมีรหัสเดียวกัน การสื่อสารจึงเกิดขึ้นได้ 5. การถอดรหัส (decoding) หมายถึงการที่ผู้รับข่าวสารแปลงพลังงานจากสื่อกลางให้กลับไปอยู่ ในรูปข่าวสารที่ส่งมาจากผู้ส่งข่าวสาร โดยมีความเข้าในหรือรหัสตรงกัน  6. สัญญาณรบกวน (noise) เป็นสิ่งที่มีอยู่ในธรรมชาติ มักจะลดทอนหรือรบกวนระบบ อาจจะเกิดขึ้นได้ทั้งทางด้านผู้ส่งข่าวสาร ผู้รับข่าวสาร และช่องสัญญาณ แต่ในการศึกษาขั้นพื้นฐาน มักจะสมมติให้ทางด้านผู้ส่งข่าวสารและผู้รับข่าวสารไม่มีความผิดพลาด ตาแหน่งที่ใช้วิเคราะห์ มักจะเป็นที่ ตัวกลางหรือช่องสัญญาณ เมื่อไรที่รวมสัญญาณรบกวนด้านผู้ส่งข่าวสารและด้านผู้รับข่าวสาร ในทาง ปฎิบัติมักจะใช้ วงจรกรอง (filter) กรองสัญญาณแต่ต้นทาง เพื่อให้การสื่อสารมีคุณภาพดียิ่งขึ้นแล้วค่อยดาเนินการ เช่น การเข้ารหัส แหล่งข้อมูล เป็นต้น
  • 6. ข่ายการสื่อสารข้อมูล หมายถึง การรับส่งข้อมูลหรือสารสนเทศจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง โดยอาศัยระบบการส่งข้อมูล ทางคลื่นไฟฟ้ าหรือ แสง อุปกรณ์ที่ประกอบเป็นระบบการสื่อสารข้อมูลโดยทั่วไปเรียกว่า ข่ายการสื่อสารข้อมูล (Data Communication Networks) องค์ประกอบพื้นฐาน 1.หน่วยส่งข้อมูล (Sending Unit) 2.ช่องทางการส่งข้อมูล (Transmisstion Channel) 3.หน่วยรับข้อมูล (Receiving Unit)
  • 7.  วัตถุประสงค์หลักของการนาการสื่อการข้อมูลมาประยุกต์ใช้ในองค์การประกอบด้วยเพื่อรับข้อมูลและ สารสนเทศจากแหล่งกาเนิดข้อมูล  เพื่อส่งและกระจายข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว  เพื่อลดเวลาการทางาน  เพื่อการประหยัดค่าใช้จ่ายในการส่งข่าวสาร  เพื่อช่วยขยายการดาเนินการองค์การ  เพื่อช่วยปรับปรุงการบริหารขององค์การ
  • 8.  ประโยชน์ของการสื่อสารข้อมูล 1) การจัดเก็บข้อมูลได้ง่ายและสื่อสารได้รวดเร็ว การจัดเก็บซึ่อยู่ในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ สามารถ จัดเก็บไว้ในแผ่นบันทึกที่มีความหนาแน่นสูง แผ่นบันทึกแผ่นหนึ่งสามารถบันทึกข้อมูลได้มากกกว่า 1 ล้านตัวอักษร สาหรับการสื่อสารข้อมูลนั้น ถ้าข้อมูลผ่าน สายโทรศัพท์ได้ในอัตรา 120 ตัวอักษร ต่อวินาทีแล้ว จะส่งข้อมูล 200 หน้าได้ในเวลา 40 นาที โดยไม่ต้องเสียเวลานั่งป้ อนข้อมูลเหล่านั้นซ้าใหม่อีก 2) ความถูกต้องของข้อมูล โดยปกติวิธีส่งข้อมูลด้วยสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งด้วย ระบบดิจิตอล วิธีการส่งข้อมูลนั้นมีการตรวจสอบ สภาพของข้อมูล หากข้อมูลผิดพลาดก็จะมีการรับรู้ และพยายามหาวิธีแก้ไขให้ข้อมูลที่ได้รับมีความถูกต้อง โดยอาจ ให้ทาการส่งใหม่ หรือกรณีที่ผิดพลาด ไม่มากนัก ฝ่ายผู้รับอาจใช้โปรแกรมของตนแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องได้ 3) ความเร็วของการทางาน โดยปกติสัญญาณทางไฟฟ้ าจะเดินทางด้วยความเร็วเท่าแสง ทาให้การใช้ คอมพิวเตอร์ส่งข้อมูลจากซีกโลกหนึ่ง ไปยังอีกซีก โลกหนึ่ง หรือค้นหาข้อมูลจากฐานข้อมูลขนาดใหญ่ สามารถทาได้รวดเร็ว ความรวดเร็วของระบบทาให้ผู้ใช้ สะดวกสบายยิ่งขึ้น เช่น บริษัทสายการบินทุกแห่ง สามารถทราบข้อมูลของทุกเที่ยวบินได้อย่างรวดเร็ว ทาให้การจองที่นั่งของสายการบินสามารถทาได้ทันที 4) ต้นทุนประหยัด การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าหากันเป็นเครือข่าย เพื่อส่งหรือสาเนาข้อมูล ทาให้ราคาต้นทุน ของการใช้ข้อมูลประหยัดขึ้น เมื่อเทียบกับการ จัดส่งแบบวิธีอื่น สามารถส่งข้อมูลให้กันและกันผ่านทางสายโทรศัพท์ได้
  • 9.  ความหมายของ Data Transmission  การส่งข้อมูลเกิดขึ้นระหว่างเครื่องส่งสัญญาณ (ผู้ส่ง) และผู้รับ บนตัวกลางการสื่อสาร  การถ่ายโอนข้อมูลนี้จะเกิดขึ้นโดยผ่านตัวกลาง เช่น Coaxial cable (สายโคแอคเชียล), Fiber optics (สายใยแก้วนาแสง) ฯลฯ  ความสาเร็จในการส่งข้อมูลขึ้นอยู่กับสองปัจจัย คือ คุณภาพของสัญญาณและตัวกลางการ สื่อสารที่ส่ง การส่งผ่านข้อมูล (Data Transmission)
  • 10.  การส่งผ่านข้อมูลโดยสัญญาณแอนาลอกไม่ต้องคานึงถึงว่าข้อมูลจะเป็นแอนาลอก (voice) หรือ ดิจิตอล (ข้อมูลที่เป็น binary จะผ่าน modem)  สัญญาณแอนาลอกจะมีการลดทอนแปรผันไปตามระยะทาง  มีการใช้ amplifier สาหรับขยายสัญญาณหรือเป็นrepeater  แต่อย่างไรก็ตาม amplifier ก็จะขยายสัญญาณรบกวนด้วย การส่งผ่านข้อมูลอะนาล็อค (Analog Transmission)
  • 11.  การส่งผ่านข้อมูลโดยสัญญาณดิจิตอลต้องคานึงถึงสัญญาณรบกวน, การลดทอนและอื่นๆ  ความสมบูรณ์ของข้อมูลถูกลดทอน โดยสัญญาณรบกวน, การลดทอนและอื่นๆ  ใช้ repeater สาหรับกู้คืนข้อมูลหรือทาซ้าข้อมูลที่รับมาได้  จากคุณสมบัติของ repeater ดังกล่าวทาให้ข้อมูลดิจิตอลรับได้ที่จุดหมายปลายทางไม่มี สัญญาณรบกวนสะสมเนื่องจากสัญญาณรบกวนจะถูกขจัดไปโดย repeater โดย สัญญาณดิจิตอลจะถูกสร้างขึ้นมาใหม่ที่ repeater นั้นๆ  สัญญาณรบกวนจะไม่ถูกขยาย การส่งผ่านข้อมูลดิจิตอล (Digital Transmission)
  • 12.  เทคโนโลยีของดิจิตอล  มีต้นทุนถูกโดยอาศัยเทคโนโลยีของ LSI/VLSI  ความเที่ยงตรงของข้อมูล  เนื่องจากการใช้repeater ทาให้สัญญาณดิจิตอลสามารถส่งผ่านตัวกลางที่มีคุณภาพต่าได้ในระยะทางที่ไกลๆ  ความจุประสิทธิผล  ประหยัดในการสร้าง link สาหรับส่งผ่านสัญญาณในระบบที่ต้องการแบนด์วิดท์กว้างเช่น satelliteและ optical fiber  การ multiplex โดยใช้เทคนิคของดิจิตอลทาได้ง่ายและถูกมากกว่าการใช้เทคนิคของแอนาลอก  ความปลอดภัยหรือการรักษาความลับของข้อมูลข่าวสาร  การเข้ารหัสข้อมูล (Encryption)  Integration  อาศัยการแปลงข้อมูลทั้งแอนาลอกและดิจิตอลให้เป็นสัญญาณดิจิตอลดังนั้นข้อมูลทั้งสองชนิดจะมีรูปแบบเดียวกันทาให้ง่าย ต่อการออกแบบและผลิต  ข้อดีของการส่งผ่านดิจิตอล: เหตุผลของเลือกที่ส่งผ่านดิจิตอล
  • 13. ต้น ทาง ปลายท าง 2. การส่งผ่านข้อมูลแบบอนุกรม (Serial Transimission) รูปแบบการส่งผ่านข ้อมูลในลักษณะนี้ทุกบิตที่เข ้ารหัสแทนข ้อมูลหนึ่งตัวอักษรจะถูกส่งผ่านไปตามสายส่งเรียงลาดับกันไปทีละบิตในสายส่งเพียงเส ้นเดียว ดังรูป รูปที่ 5 การส่งข ้อมูลแบบอนุกรม
  • 14.  จากรูปตัวอักษรจะประกอบด้วย 8 บิต เรียงเป็นลาดับ ข้อมูลจะถูกส่งออกมาทีละบิตระหว่างต้นทาง และ ปลายทาง และปลายทางจะรวบรวมบิตเหล่านี้ทีละบิตจนครบ 8 บิต เป็น 1 ตัวอักษร จะเห็นว่าการส่ง ข้อมูลแบบนี้จะช้ากว่าแบบขนาน แต่ค่าใช้จ่ายจะถูกกว่าแบบขนาน ซึ่งเหมาะสาหรับการส่งระยะทางไกลๆ โดยทั่วไปแล้วการส่งข้อมูลนั้นจะประกอบไปด้วยกลุ่มของตัวอักษร ดังนั้นในการส่งข้อมูลแบบอนุกรม นี้จึงเกิดปัญหาขึ้นว่า แล้วต้นทางและปลายทางจะทราบได้อย่างไรว่า จะแบ่งแต่ละตัวอักษรตรงบิตใด จึง เกิดวิธีการสื่อสารข้อมูลขึ้น 2 แบบคือ การสื่อสารแบบอะซิงโคนัส (Asynchronous Transmission) และการสื่อสารแบบซิงโคนัส (Synchronous Transmission
  • 15.  การสื่อสารแบบอะซิงโคนัส หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าเป็น การสื่อสารแบบระบุจุดเริ่มต้น และ จุดสิ้นสุด (Start-Stop Transmission) ลักษณะของสัญญาณที่ใช้ในการ ติดต่อสื่อสารกันจะประกอบไปด้วย บิตเริ่มต้น (start bit) บิตของข้อมูลที่สื่อสาร (transmission data) จานวน 8 บิต บิตตรวจข้อผิดพลาด(parity bit) และ บิตสิ้นสุด (stop bit) สาหรับบิตตรวจสอบข้อผิดพลาดจะใช้หรือไม่ใช้ก็ได้ ดังนั้น สัญญาณจึงต้องประกอบด้วยส่วนประกอบอย่างน้อย 3 ส่วน ดังรูป 2.1 การสื่อสารแบบอะซิงโคนัส (Asynchronous Transmission)
  • 16.   รูปที่ 6 การสื่อสารแบบอะซิงโคนัสที่ไม่ได้ใช้พารีตี้บิต
  • 18.  จากรูปจะเห็นว่าขณะที่ไม่มีข้อมูลส่งออกมาสถานะของการส่งจะเป็นแบบว่าง (Idle) ซึ่งจะมีระดับของ สัญญาณเป็น 1 ตลอดเวลา เพื่อความแน่ใจว่าปลายทาง หรือฝ่ายรับยังคงติดต่อกับต้นทาง หรือฝ่ายส่ง อยู่ เมื่อเริ่มจะส่งข้อมูลสัญญาณของอะซิงโคนัสจะเป็น 0 หนึ่งช่วงสัญญาณนาฬิกา ซึ่งบิตนี้เราเรียกว่าบิต เริ่มต้น ตามหลังของบิตเริ่มต้นจะเป็นบิตข้อมูลสาหรับ 1 ตัวอักษร ตามหลังบิตข้อมูลก็จะเป็นบิตตรวจ ข้อผิดพลาด แล้วจะตามด้วยบิตสิ้นสุด ถ้าไม่ใช่บิตตรวจข้อผิดพลาด ตามหลังบิตข้อมูลก็จะเป็นบิตสิ้นสุด เลย หลังจากนั้นถ้าไม่มีข้อมูลส่งออกมาสัญญาณจะกลับไปอยู่ที่สถานะแบบว่างอีก เพื่อรอการส่งข้อมูล ต่อไป จะเห็นว่าการสื่อสารแบบอะซิงโคนัสนี้ มีลักษณะเป็นไปทีละตัวอักษร และสัญญาณที่ส่งออกมา มี บางส่วนเป็นบิตเริ่มต้น บิตสิ้นสุด และบิตตรวจข้อผิดพลาด ทาให้ความเร็วในการส่งข้อมูลต่อวินาที น้อยลงไป เนื่องจากต้อง สูญเสียช่องทางการสื่อสารให้กับ บิตเริ่มต้น บิตสิ้นสุด และบิตตรวจ ข้อผิดพลาด (ถ้ามีใช้) ตลอดเวลา การสื่อสาร แบบอะซิงโคนัสนี้มักใช้ในการติดต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ กับอุปกรณ์รอบข้าง
  • 19.  การสื่อสารแบบซิงโคนัส จะทาการจัดกลุ่มของข้อมูลเป็นกลุ่มๆ และทาการส่งข้อมูลทั้งกลุ่มไป พร้อมกันในทีเดียว เราเรียกกลุ่มของข้อมูลนี้ว่า บล็อกของข้อมูล (Block of Data) ซึ่งตัวอักษรตัวแรก และตัวถัดไปที่อยู่ในบล็อกเดียวกันจะไม่มีอะไรมาคั่นเหมือนอย่างแบบอะซิง โคนัส ที่ต้องใช้บิตเริ่มต้น และบิตสิ้นสุดคั่นทุกๆ ตัวอักษร แต่จะมีข้อมูลเริ่มต้นซึ่งเป็นลักษณะ ของบิตพิเศษที่ส่งมาเพื่อให้รู้ว่านั้นคือ จุดเริ่มต้นของกลุ่มตัวอักษรที่กาลังส่งเรียงกันเข้ามา เช่น อักขระซิง (SYN character) โดยที่อักขระซิงมีรูปแบบบิต คือ 00010110 ตัวอย่างของการส่งแสดงได้ดังรูป 2.2 การสื่อสารแบบซิงโคนัส (Synchronous Transmission)
  • 20. จากรูปเมื่อลายทางตรวจพบอักขระซิง หรือ 00010110 แล้วจะทราบได้ ทันทีว่าบิตที่ตามมาคือบิตตัวอักษรแต่ละตัว แต่การใช้อักขระซิงเพียงตัว เดียวอาจเกิดข้อผิดพลาดได้ เช่น ถ้าเราส่งตัวอักษร b และตัวอักษร a ติดต่อกันไป ซึ่งตัวอักษร b มีรูปแบบบิตคือ 01100010 และตัวอักษร a มีรูปแบบบิตคือ 01100001 การส่งจะแสดงได้ดังรูป
  • 21. จะเห็นว่าเครื่องปลายทางจะตรวจพบอักขระซิงระหว่างบิตของ ตัวอักษร b และตัวอักษร a ทาให้เข้าใจว่าบิตต่อไปจะเป็นบิต ของกลุ่มข้อมูล ซึ่งจะทาให้การรับข้อมูลนั้นเกิดผิดพลาดขึ้นได้ ดังนั้นจึงแก้ปัญหาด้วยการใช้อักขระซิง 2 ตัวต่อกันเป็นลักษณะ ของบิตพิเศษที่บอกให้ทราบว่าเป็นจุดเริ่มต้นบิตของกลุ่มข้อมูล ตัวอย่างของการใช้อักขระซิง 2 ตัวในการสื่อสารแบบซิงโคนัส และการตัดแถวของบิตข้อมูลออกเป็นกลุ่มทีละ 8 บิต เพื่อแทน ข้อมูลแสดงได้ดังรูป
  • 22. รูปที่ 8 ตัวอย่างการใช้อักขระซิง 2 ตัวในการสื่อสารแบบซิงโคนัส
  • 26.  จากรูปที่ 10 แสดงให้เห็นว่าการส่งผ่านข้อมูลแบบซิงโคนัสนั้นส่วนมากแล้ว ตลอดทาง ของสายส่งจะใช้ส่งผ่านข้อมูลเต็มตลอดทั้งสาย ส่วนรูปที่ 11 แสดงให้เห็นว่าการส่งผ่าน ข้อมูลแบบอะซิงโคนัสนั้นสายส่งจะขาดความต่อเนื่องของสัญญาณข้อมูลที่ส่งผ่าน หรือถ้ามี สัญญาณข้อมูลที่ส่งผ่านต่อเนื่องกันเต็มตลอดทั้งสายแล้ว ก็จะสูญเสียช่องทางในการส่งไป กับการส่งบิตเริ่มต้น และบิตสิ้นสุดของแต่ละตัวอักษร  ตัวอย่างเช่น กรณีที่ส่งผ่านข้อมูลที่อยู่ในรูปของรหัส ASCII ซึ่งตัวอักษรหนึ่งตัวถูก แทนด้วย 8 บิต ถ้ามีการส่งกลุ่มของข้อมูล 240 ตัวอักษร ในกรณีการส่งผ่านข้อมูลแบบ ซิงโคนัสมีการใช้ตัวอักขระซิง 3 ตัว และการส่งผ่าน ข้อมูลแบบอะซิงโคนัสไม่มีการใช้บิต ตรวจข้อผิดพลาด ดังนั้นเราสามารถคานวณหาอัตราส่วนระหว่างการส่งข้อมูลได้ ดังนี้  บิตทั้งหมดของตัวอักษรที่ส่งจะได้  240 ตัวอักษร x 8 บิต/ตัวอักษร = 1920 บิต
  • 27. แบบซิงโคนัส บิตของตัวอักขระซิงที่ใช้จะได้SYN 3 ตัว เท่ากับ 3 x 8 บิต = 24 บิต ผลรวมของบิตที่ต้องส่งทั้งหมด = 1920 + 24 = 1944 บิต อัตราส่วนระหว่างการส่งข้อมูลที่ต้องส่งจริง กับจานวนบิตทั้งหมดที่จาเนตนต้องส่งออ 1920 หารด้วย 1944 จะได้นระมาณ 99 % แบบอะซิงโคนัส บิตเริ่มต้น และบิตสิ้นสุดที่ใช้จะได้2 x 240 = 480 บิต ผลรวมของบิตที่ต้องส่งทั้งหมด = 1920 + 480 = 2400 บิต อัตราส่วนระหว่างการส่งข้อมูลที่ต้องส่งจริง กับจานวนบิตทั้งหมดที่จาเนตนต้องส่งออ 1920 หารด้วย 2400 จะได้นระมาณ 80 %
  • 28.  บิตตรวจข้อผิดพลาด หรือพารีตี้บิต จะเป็นบิตที่ใช้เพื่อทาหน้าที่ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่ส่ง ซึ่งมีอยู่ 2 แบบด้วยกันคือ การตรวจสอบจานวนคี่ (odd parity) และการตรวจสอบจานวนคู่ (even parity)  การตรวจสอบจานวนคี่ (Odd parity) หมายถึง บิตตรวจสอบจะต้องนับบิตที่มีค่าของ 1 สาหรับกลุ่มของบิตที่จะส่งและต้องการตรวจสอบอยู่เป็นจานวนคี่ เช่น ถ้านับบิตที่มีค่าของ 1 ในกลุ่ม ของบิตที่จะส่ง และต้องการ ตรวจสอบได้เป็นจานวนคู่ บิตตรวจสอบนี้จะต้องมีค่าเป็น 1 เพื่อที่จะรวม เป็นจานวนคี่ แต่ถ้าจานวนนับได้เป็นจานวนคี่ บิตตรวจสอบก็จะมีค่าเป็น 0 ตัวอย่าง สมมุติว่าถ้าข้อมูลที่ต้องการส่งมี 7 บิต คือ 0110011 บิตตรวจสอบจานวนคี่จะต้องมีค่าเป็น 1 เพราะนับบิตที่มีค่าของ 1 ได้เท่ากับ 4 ตัว ซึ่งเป็นเลขคู่ เมื่อรวมกับบิตตรวจสอบจานวนคี่ที่มีค่าเป็น 1 ก็จะนับได้เป็น 5 ตัว ซึ่งเป็นเลขคี่และการส่งข้อมูลพร้อมบิตตรวจสอบไปจะได้เป็น 10110011 การใช้บิตตรวจข้อผิดพลาด
  • 29.  หมายถึง บิตตรวจสอบจะต้องนับบิตที่มีค่าของ 1 สาหรับกลุ่มของบิตที่จะส่งและต้องการตรวจสอบอยู่เป็นจานวน คู่ เช่น ถ้านับบิตที่มีค่าของ 1 ในกลุ่มของบิตที่จะส่งและต้องการ ตรวจสอบได้เป็นจานวนคู่ บิตตรวจสอบนี้ จะต้องมีค่าเป็น 0 เพื่อที่จะรวมเป็นจานวนคู่ แต่ถ้าจานวนนับได้เป็นจานวนคี่ บิตตรวจสอบก็จะมีค่าเป็น 1 ตัวอย่าง สมมุติว่าถ้าข้อมูลที่ต้องการส่งมี 7 บิต คือ 0110011 บิตตรวจสอบจานวนคู่จะต้องมีค่าเป็น 0 เพราะนับ บิตที่มีค่าของ 1 ได้เท่ากับ 4 ตัว ซึ่งเป็นเลขคู่ การส่งข้อมูลพร้อมบิตตรวจสอบไปจะได้เป็น 00110011 การตรวจสอบความถูกต้องทาได้โดย ระหว่างต้นทางและปลายทางจะต้องตกลงกันว่าจะใช้ตัวตรวจ ข้อผิดพลาดชนิดใด ถ้าใช้ตัวตรวจข้อผิดพลาดแบบจานวนคี่แล้วเมื่อปลายทางรับข้อมูลจะตรวจสอบจานวนบิตที่ มีค่าเป็น 1 ว่าเป็นจานวนคี่หรือไม่ ถ้าไม่เป็นจานวนคี่แสดงว่าข้อมูลเกิดความผิดพลาดขึ้น ปลายทางจะต้องแจ้ง ให้ต้นทางทราบ อาจจะให้ต้นทางส่งข้อมูลมาใหม่อีกครั้ง ส่วนการใช้ตัวตรวจข้อผิดพลาดแบบจานวนคู่ก็จะใช้ หลักการคล้ายๆ กัน การตรวจสอบจานวนคู่ (Even parity)
  • 30.  สามารถแบ่งทิศทางการสื่อสารของข้อมูลได้เป็น 3 แบบ คือ  1. แบบทิศทางเดียว (Simplex) เป็นทิศทางการสื่อสารข้อมูลแบบที่ข้อมูลจะถูกส่งจาก ทิศทางหนึ่งไปยังอีกทิศทางโดยไม่สามารถส่งข้อมูลย้อนกลับมาได้ เช่นระบบวิทยุ หรือ โทรทัศน์ ทิศทางของการสื่อสารข้อมูล
  • 31. 2. แบบกึ่งสองทิศทาง (Half Duplex) เป็นทิศทางการสื่อสารข้อมูลแบบที่ ข้อมูลสามารถส่งกลับกันได้ 2 ทิศทาง แต่จะไม่สามารถส่งพร้อมกันได้ โดยต้อง ผลัดกันส่งครั้งละทิศทางเท่านั้น เช่น วิทยุสื่อสารแบบผลัดกันพูด
  • 32. 3. แบบสองทิศทาง (Full Duplex) เป็นทิศทางการสื่อสารข้อมูล แบบที่ข้อมูลสามารถส่งพร้อม ๆ กันได้ทั้ง 2 ทิศทาง ในเวลาเดียวกัน เช่น ระบบโทรศัพท์
  • 33.  ระบบเครือข่ายแบบเบสแบนด์ และบรอดแบนด์  ระบบเครือข่ายแบบเบสแบนด์ (Baseband) เป็นการสื่อสารข้อมูลที่สายสัญญาณหรือตัวกลางใน การส่งผ่านสัญญาณ สามารถส่งได้เพียงหนึ่งสัญญาณในเวลาขณะใดขณะหนึ่งเท่านั้น นั่นคืออุปกรณ์ที่ใช้ งานสายสัญญาณขณะนั้นจะครอบครองช่องสัญญาณทั้งหมด โดยอุปกรณ์อื่นจะไม่สามารถร่วมใช้งานได้ เลย เช่น ระบบโทรศัพท์ เป็นต้น การสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ส่วนมากจะเป็นการสื่อสารแบบนี้ รวมทั้ง การสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์อื่นๆ ยกเว้นการสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายแบบ B-ISDN ซึ่งเป็นแบบบรอดแบนด์  ระบบเครือข่ายแบบบรอดแบนด์ (Broadband) เป็นการสื่อสารข้อมูลที่ตัวกลางในการส่งผ่าน สัญญาณ สามารถส่งสัญญาณผ่านได้หลายๆ ช่องทางพร้อมๆ กัน โดยใช้วิธีแบ่งช่องความถี่ออกจากกัน ทาให้อุปกรณ์ต่างๆ สามารถสื่อสารกันโดยใช้ช่องความถี่ของตนเองaผ่านตัวกลางเดียว ตัวอย่างเช่น ระบบเครือข่ายเคเบิลทีวี เป็นต้น