SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
รายงาน
เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
จัดทาโดย
นาย ณัฐพงศ์ หนูเนตร
เลขที่ 1 ชั้น ม.4/1
เสนอ
อ. จุฑารัตน์ ใจบุญ
ปีการศึกษา2556
โรงเรียนรษฏานุประดิษฐ์อนุสรณ์
คานา
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ซึ่งเกี่ยวกับ
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์องค์ประกอบหลักในการสื่อสารข้อมูลประเภทของระบบเครือข่าย
และการส่งสัญญาณจัดทาขึ้นเพื่อเป็นสื่อในการเรียนการสอนวิชาคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา
สามารถที่จะนามาใช้เป็นแหล่งศึกษาค้นคว้าหาความรู้แก่ผู้สนใจ
หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานเล่มนี้จะให้ประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจศึกษาเป็นอย่างมาถ้า
มีข้อผิดพลาดประการใดก็ขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย และจะนาไปปรับปรุงในโอกาสต่อไป

คณะผู้จดทา
ั
นาย ณัฐพงศ์ หนูเนตร
สารบัญ
เนื้อเรื่อง

หน้า

เครือข่ายคอมพิวเตอร์

1

ความหมายของระบบเครือข่าย

3

คอมพิวเตอร์แม่ข่าย

3

ช่องทางการสื่อสาร

4

สถานีงาน

4

อุปกรณ์ในเครือข่าย

5

โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์

8

เทคโนโลยีไร้สาย

13

บรรณานุกรม
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและความสาคัญเพิ่มขึ้น เพราะ
ไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับการใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ
เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านั้นถึงกับเพื่อเพิ่มขีดความสามารถของระบบให้สูงขึ้น
เพิ่มการใช้งานด้านต่าง ๆ และลดต้นทุนระบบโดยรวมลง มีการแบ่งใช้งาน
อุปกรณ์และข้อมูลต่าง ๆ ตลอดจนสามารถทางานร่วมกันได้
สิ่งสาคัญที่ทาให้ระบบข้อมูลมีขีดความสามารถเพิ่มขึ้น คือ การโอนย้ายข้อมูล
ระหว่างกัน และการเชือมต่อหรือการสื่อสาร การโอนย้ายข้อมูลหมายถึงการนา
่
ข้อมูลมาแบ่งกันใช้งาน หรือการนาข้อมูลไปใช้ประมวลผลในลักษณะแบ่งกันใช้
ทรัพยากร เช่น แบ่งกันใช้ซีพียู แบ่งกันใช้ฮาร์ดดิสก์ แบ่งกันใช้โปรแกรม และ
แบ่งกันใช้อุปกรณ์อื่น ๆ ที่มีราคาแพงหรือไม่สามารถจัดหาให้ทุกคนได้
การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่ายจึงเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งาน
ให้กว้างขวางและมากขึนจากเดิม
้
การเชื่อมต่อในความหมายของระบบเครือข่ายท้องถิ่น ไม่ได้จากัดอยูที่การ
่
เชื่อมต่อระหว่างเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ แต่ยังรวมไปถึงการเชื่อมต่ออุปกรณ์
รอบข้าง เทคโนโลยีที่ก้าวหน้าทาให้การทางานเฉพาะมีขอบเขตกว้างขวางยิงขึ้น มี
่
การใช้เครื่องบริการแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บรวบควมแฟ้มข้อมูลต่างๆ มีการทา
ฐานข้อมูลกลาง มีหน่วยจัดการระบบสือสารหน่วยบริการใช้เครื่องพิมพ์ หน่วย
บริการการใช้ซีดี หน่วยบริการปลายทาง และอุปกรณ์ประกอบสาหรับต่อเข้าใน
ระบบเครือข่ายเพื่อจะทางานเฉพาะเจาะจงอย่างใดอย่างหนึ่ง ในรูป เป็นตัวอย่าง
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ทจัดกลุ่มเชื่อมโยงเป็นระบบ
ี่
ตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่จัดกลุ่มอุปกรณ์รอบข้างเชื่อมโยงเป็นระบบ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์กอให้เกิดความสามารถในการปฎิบัติการร่วมกัน ซึ่งหมายถึง
่
การให้อุปกรณ์ทุกชินทีต่ออยู่บนเครือข่ายทางานร่วมกันได้ทั้งหมดในลักษณะที่
้ ่
ประสานรวมกัน โดยผูใช้เห็นเสมือนใช้งานในอุปกรณ์เดียวกัน จึงเป็นวิธีการในการ
้
นาเอาอุปกรณ์ตางชนิดจานวนมาก มารวมกันเป็นเสมือนระบบเดียวกัน ทั้ง ๆ ที่
่
อุปกรณ์เหล่านันอาจจะมาจากต่างยี่ห้อ ต่างบริษัท ก็ได้
้
ความหมายของระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึงการนาเครื่อง
คอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่อสารข้อมูล เพือ
่
แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ และการใช้ทรัพยากรของระบบ
ร่วมกัน (Shared Resource) ในเครือข่ายนั้น

รูปแสดงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีองค์ประกอบที่สาคัญ เพือการเชื่อมต่อเป็นเครือข่าย
่
คอมพิวเตอร์ ได้แก่ คอมพิวเตอร์แม่ข่าย (File Server) ช่องทางการสื่อสาร
(Communication Chanel) สถานีงาน (Workstation or Terminal) และ อุปกรณ์ใน
เครือข่าย (Network Operation System)
คอมพิวเตอร์แม่ข่าย
คอมพิวเตอร์แม่ข่าย หมายถึงคอมพิวเตอร์ ทีทาหน้าที่เป็นผู้ให้บริการทรัพยากร
่
(Resources) ต่าง ๆ ซึงได้แก่ หน่วยประมวลผล หน่วยความจา หน่วยความจาสารอง
่
ฐานข้อมูล และ โปรแกรมต่าง ๆ เป็นต้น ในระบบเครือข่ายท้องถิ่น (LAN) มัก
เรียกว่าคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ในระบบเครือข่ายระยะไกล ที่ใช้เมนเฟรมคอมพิวเตอร์
หรือ มินิคอมพิวเตอร์เป็นศูนย์กลางของเครือข่าย เรานิยมเรียกว่า
Host Computer และเรียกเครื่องที่รอรับบริการว่าลูกข่ายหรือสถานีงาน
ช่องทางการสื่อสาร
ช่องทางการสื่อสาร หมายถึง สื่อกลางหรือเส้นทางที่ใช้เป็นทางผ่าน ในการรับส่ง
ข้อมูล ระหว่างผู้รับ (Receiver) และผู้ส่งข้อมูล (Transmitter) ปัจจุบันมีช่องทางการ
สื่อสาร สาหรับการเชื่อมต่อเครือข่าย คอมพิวเตอร์มีหลายประเภทคือ สายโทรศัพท์
แบบสายคู่ตีเกลียวไม่มีฉนวนหุ้ม (UTP) สายคู่ตีเกลียว แบบมีฉนวนหุม (STP) สาย
้
โคแอคเชียล สายใยแก้วนาแสง คลื่นไมโครเวป และดาวเทียม เป็นต้น

รูปแสดงช่องทางการสื่อสารโดยใช้จานรับดาวเทียม
สถานีงาน
สถานีงาน (Workstation or Terminal) หมายถึง อุปกรณ์หรือเครื่อง
ไมโครคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่อ กับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทาหน้าที่เป็นสถานี
ปลายทางหรือสถานีงาน ที่ได้รับการบริการจากเครื่อง คอมพิวเตอร์แม่ข่าย เรียกว่า
เป็นคอมพิวเตอร์ลูกข่าย (Workstation) ในระบบเครือข่ายระยะใกล้ มักมีหน่วย
ประมวลผล หรือซีพียูของตนเอง ในระบบที่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรม เป็น
ศูนย์กลาง เรียกสถานีปลายทางว่าเทอร์มนอล (Terminal) ประกอบด้วยจอภาพและ
ิ
แป้นพิมพ์เท่านั้น ไม่มหน่วยประมวลกลางของตัวเอง ต้องใช้หน่วยประมวลผลของ
ี
คอมพิวเตอร์ศูนย์กลางหรือ Host
อุปกรณ์ในเครือข่าย
การ์ดเชื่อมต่อเครือข่าย (Network Interface Card :NIC) หมายถึง แผงวงจรสาหรับ
ใช้ในการเชื่อมต่อสายสัญญาณของเครือข่าย ติดตั้งไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็น
เครื่องแม่ข่าย และเครื่องที่เป็นลูกข่าย หน้าที่ของการ์ดนี้คือแปลงสัญญาณจาก
คอมพิวเตอร์ส่งผ่านไปตามสายสัญญาณ ทาให้คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายแลกเปลี่ยน
ข้อมูลข่าวสารกันได้

รูปแสดงการ์ดเชื่อมต่อเครือข่าย
องค์ประกอบของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
โมเด็ม ( Modem : Modulator Demodulator) หมายถึง อุปกรณ์สาหรับการแปลง
สัญญาณดิจิตอล (Digital) จากคอมพิวเตอร์ดานผู้ส่ง เพือส่งไปตามสายสัญญาณ
้
่
ข้อมูลแบบอนาลอก(Analog) เมื่อถึงคอมพิวเตอร์ด้านผู้รับ โมเด็มก็จะทาหน้าที่แปลง
สัญญาณอนาลอก ให้เป็นดิจิตอลนาเข้าสู่เครืองคอมพิวเตอร์ เพื่อทาการประมวลผล
่
โดยปกติจะใช้โมเด็มกับระบบเครือข่ายระยะไกล โดยการใชสายโทรศัพท์เป็น
สื่อกลาง เช่น เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นต้น
รูปแสดงการใช้โมเด็มในการติดต่อเครือข่ายระยะไกล
ฮับ ( Hub) คือ อุปกรณ์เชื่อมต่อที่ใช้เป็นจุดรวม และ แยกสายสัญญาณ เพื่อให้เกิด
ความสะดวก ในการเชือมต่อของเครือข่ายแบบดาว (Star) โดยปกติใช้เป็นจุดรวมการ
่
เชื่อมต่อสายสัญญาณระหว่าง File Server กับ Workstation ต่าง ๆ

แสดงฮับที่ใช้เป็นจุดเชือมต่อและจุดแยกของสาย
่
ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย
ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบตการเครือข่าย หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่ทาหน้าที่ จัดการระบบ
ัิ
เครือข่ายของคอมพิวเตอร์ เพือให้คอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่ออยู่กับเครือข่าย สามารถ
่
ติดต่อสื่อสาร แลกเปลียนข้อมูลกันได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ ทาหน้าที่
่
จัดการด้านการรักษาความปลอดภัย ของระบบเครือข่าย และยังมีหน้าที่ควบคุม การ
นาโปรแกรมประยุกต์ ด้านการติดต่อสื่อสาร มาทางานในระบบเครือข่ายอีกด้วย
นับว่าซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย มีความสาคัญต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อย่างยิ่ง ตัวอย่าง ซอฟต์แวร์ประเภทนี้ได้แก่ ระบบปฏิบัติการ Windows NT , Linux ,
Novell Netware , Windows XP ,Windows 2000 , Solaris , Unix เป็นต้น

แสดงซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย
โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (TOPOLOGY)
การนาเครื่องคอมพิวเตอร์มาเชือมต่อกันเพื่อประโยชน์ของการสื่อสารนั้น สามารถ
่
กระทาได้หลายรูปแบบ ซึ่งแต่ละแบบก็มีจุดเด่นที่แตกต่างกันไป โดยทึ่วไปแล้ว
โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์สามารถจาแนกตามลักษณะของการเชือมต่อ
่
ดังต่อไปนี้
1. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบบัส (bus topology)
โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบบัส จะประกอบด้วย สายส่งข้อมูลหลัก
ที่ใช้ส่งข้อมูลภายในเครือข่าย เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง จะเชื่อมต่อเข้ากับ
สายข้อมูลผ่านจุดเชือมต่อ เมื่อมีการส่งข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่อง
่
พร้อมกัน จะมีสัญญาณข้อมูลส่งไปบนสายเคเบิ้ล และมีการแบ่งเวลาการใช้สาย
เคเบิ้ลแต่ละเครื่อง ข้อดีของการเชือมต่อแบบบัส คือ ใช้สื่อนาข้อมูลน้อย ช่วยให้
่
ประหยัดค่าใช้จาย และถ้าเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งเสียก็จะไม่ส่งผลต่อ
่
การทางานของระบบโดยรวม แต่มีข้อเสียคือ การตรวจจุดที่มีปัญหา กระทาได้
ค่อนข้างยาก และถ้ามีจานวนเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายมากเกินไป จะมีการส่ง
ข้อมูลชนกันมากจนเป็นปัญหา
2. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบวงแหวน (ring topology)
โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบวงแหวน มีการเชือมต่อระหว่างเครื่อง
่
คอมพิวเตอร์โดยที่แต่ละการเชือมต่อจะมีลักษณะเป็นวงกลม การส่งข้อมูลภายใน
่
เครือข่ายนี้ก็จะเป็นวงกลมด้วยเช่นกัน ทิศทางการส่งข้อมูลจะเป็นทิศทางเดียวกัน
เสมอ จากเครื่องหนึ่งจนถึงปลายทาง ในกรณีที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่อง
หนึ่งขัดข้อง การส่งข้อมูลภายในเครือข่ายชนิดนี้จะไม่สามารถทางานต่อไปได้ ข้อดี
ของโครงสร้าง เครือข่ายแบบวงแหวนคือ ใช้สายเคเบิ้ลน้อย และถ้าตัดเครื่อง
คอมพิวเตอร์ที่เสียออกจากระบบ ก็จะไม่ส่งผลต่อการทางานของระบบเครือข่าย
นี้ และจะไม่มีการชนกันของข้อมูลที่แต่ละเครืองส่ง
่

3. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบดาว (star topology)
โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบดาว ภายในเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะต้อง
มีจุกศูนย์กลางในการควบคุมการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ หรือ ฮับ (hub) การสื่อสาร
ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆ จะสื่อสารผ่านฮับก่อนที่จะส่งข้อมูลไปสู่เครื่อง
คอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบบดาวมีข้อดี คือ ถ้า
ต้องการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เครื่องใหม่ก็สามารถทาได้ง่ายและไม่กระทบต่อเครื่อง
คอมพิวเตอร์อนๆ ในระบบ ส่วนข้อเสีย คือ ค่าใช้จ่ายในการใช้สายเคเบิ้ลจะค่อนข้าง
ื่
สูง และเมื่อฮับไม่ทางาน การสื่อสารของคอมพิวเตอร์ทงระบบก็จะหยุดตามไปด้วย
ั้

เทคโนโลยีไร้สาย
ไมโครเวฟบนผิวโลก - การสื่อสารไมโครเวฟบนผิวโลกจะใช้เครื่องส่งและเครื่องรับ
สัญญาณจากสถานีบนผิวโลกที่มีลักษณะคล้ายจานดาวเทียม ไมโครเวฟภาคพื้นดินอยู่ในช่วงกิ
กะเฮิรตซ์ที่ต่า ซึ่งจากัดการสื่อสารทั้งหมดด้วยเส้นสายตาเท่านั้น สถานีทวนสัญญาณมี
ระยะห่างประมาณ 48 กิโลเมตร (30 ไมล์)
ดาวเทียมสื่อสาร - การสื่อสารดาวเทียมผ่านทางคลื่นวิทยุไมโครเวฟที่ไม่ได้เบี่ยงเบน
โดยชั้นบรรยากาศของโลก ดาวเทียมจะถูกส่งไปประจาการในอวกาศ ที่มักจะอยู่ในวงโคจร
geosynchronous ที่ 35,400 กิโลเมตร (22,000 ไมล์) เหนือเส้นศูนย์สูตร
ระบบการโคจรของโลกนี้มีความสามารถในการรับและถ่ายทอดสัญญาณเสียง, ข้อมูลและทีวี
ระบบเซลลูลาร์และ PCS ใช้เทคโนโลยีการสื่อสารวิทยุหลายเทคโนโลยี ระบบแบ่ง
ภูมิภาคที่ครอบคลุมออกเป็นพื้นที่ทางภูมิศาสตร์หลายพื้นที่ แต่ละพื้นที่มีเครื่องส่งหรืออุปกรณ์
เสาอากาศถ่ายทอดสัญญาณวิทยุพลังงานต่าเพื่อถ่ายทอดสัญญาณเรียกจากพื้นที่หนึ่งไปยังอีก
พื้นที่หนึ่งข้างหน้า
เทคโนโลยีวิทยุและการแพร่กระจายสเปกตรัม
- เครือข่ายท้องถิ่นไร้สายจะใช้เทคโนโลยีวิทยุความถี่สูงคล้ายกับโทรศัพท์มือถือดิจิทัล
และเทคโนโลยีวิทยุความถี่ต่า. LAN ไร้สายใช้เทคโนโลยีการแพร่กระจายคลื่นความถี่เพื่อ
การสื่อสารระหว่างอุปกรณ์หลายชนิดในพื้นที่จากัด. IEEE 802.11 กาหนดคุณสมบัติ
ทั่วไปของเทคโนโลยีคลื่นวิทยุไร้สายมาตรฐานเปิดที่รู้จักกันคือ Wifi
การสื่อสารอินฟราเรด
สามารถส่งสัญญาณระยะทางสั้นๆมักไม่เกิน 10 เมตร ในหลายกรณีส่วนใหญ่ การส่ง
แสงจะใช้แบบเส้นสายตา ซึ่งจากัดตาแหน่งการติดตั้งของอุปกรณ์การสื่อสาร
เครือข่ายทั่วโลก (global area network หรือ GAN)
เป็นเครือข่ายที่ใช้สาหรับการสนับสนุนการใช้งานมือถือข้ามหลายๆ LAN ไร้สาย
หรือในพื้นที่ที่ดาวเทียมครอบคลุมถึง ฯลฯ ความท้าทายที่สาคัญในการสื่อสารเคลื่อนที่คือการ
ส่งมอบการสื่อสารของผู้ใช้จากพื้นที่หนึ่งไปอีกพื้นที่หนึ่ง ใน IEEE 802 การส่งมอบนี้
เกี่ยวข้องกับความต่อเนื่องของ LAN ไร้สายบนผิวโลก .
บรรณานุกรม
http://www.school.net.th/library/snet1/hardware/network.html

More Related Content

What's hot

การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลpookpikdel
 
ระบบการสื่อสารข้อมูล
  ระบบการสื่อสารข้อมูล  ระบบการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูลPukpik Jutamanee
 
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายบทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายTum WinNing
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1Morn Suwanno
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8Nuttapat Sukcharoen
 
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายสื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายNote Narudaj
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์bosskrittachai boss
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์Piyanoot Ch
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43Sireethorn43
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลchukiat008
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and networkkamol
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลleelawadeerattakul99
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์Supicha Ploy
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์nipaporn333
 
ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่  2.1ใบงานที่  2.1
ใบงานที่ 2.1Meaw Sukee
 
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)Puangkaew Kingkaew
 

What's hot (19)

การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
ระบบการสื่อสารข้อมูล
  ระบบการสื่อสารข้อมูล  ระบบการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูล
 
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายบทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
 
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายสื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
ระบบสื่อสารข้อมูล
ระบบสื่อสารข้อมูลระบบสื่อสารข้อมูล
ระบบสื่อสารข้อมูล
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่  2.1ใบงานที่  2.1
ใบงานที่ 2.1
 
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
 

Similar to รายงาน (1) (2)

เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์delloov
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ B
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Bเครือข่ายคอมพิวเตอร์ B
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ BMontita Kongmuang
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
  เครือข่ายคอมพิวเตอร์  เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Sun ZaZa
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28sawalee kongyuen
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์KachonsakBunchuai41
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบญจมาศ คงดี
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Buzzer'Clup Her-Alone
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Buzzer'Clup Her-Alone
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27sawalee kongyuen
 
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์L'Lig Tansuda Yongseng
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบญจมาศ คงดี
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Benjamas58
 
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์อยู่ไหน เหงา
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลsawalee kongyuen
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28babiesawalee
 
การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1Tharathep Chumchuen
 

Similar to รายงาน (1) (2) (20)

รายงาน 1
รายงาน  1 รายงาน  1
รายงาน 1
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ B
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Bเครือข่ายคอมพิวเตอร์ B
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ B
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
  เครือข่ายคอมพิวเตอร์  เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงาน1233
รายงาน1233รายงาน1233
รายงาน1233
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
 
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1
 

รายงาน (1) (2)

  • 1. รายงาน เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทาโดย นาย ณัฐพงศ์ หนูเนตร เลขที่ 1 ชั้น ม.4/1 เสนอ อ. จุฑารัตน์ ใจบุญ ปีการศึกษา2556 โรงเรียนรษฏานุประดิษฐ์อนุสรณ์
  • 2. คานา รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ซึ่งเกี่ยวกับ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์องค์ประกอบหลักในการสื่อสารข้อมูลประเภทของระบบเครือข่าย และการส่งสัญญาณจัดทาขึ้นเพื่อเป็นสื่อในการเรียนการสอนวิชาคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา สามารถที่จะนามาใช้เป็นแหล่งศึกษาค้นคว้าหาความรู้แก่ผู้สนใจ หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานเล่มนี้จะให้ประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจศึกษาเป็นอย่างมาถ้า มีข้อผิดพลาดประการใดก็ขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย และจะนาไปปรับปรุงในโอกาสต่อไป คณะผู้จดทา ั นาย ณัฐพงศ์ หนูเนตร
  • 4. เครือข่ายคอมพิวเตอร์ การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและความสาคัญเพิ่มขึ้น เพราะ ไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับการใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านั้นถึงกับเพื่อเพิ่มขีดความสามารถของระบบให้สูงขึ้น เพิ่มการใช้งานด้านต่าง ๆ และลดต้นทุนระบบโดยรวมลง มีการแบ่งใช้งาน อุปกรณ์และข้อมูลต่าง ๆ ตลอดจนสามารถทางานร่วมกันได้ สิ่งสาคัญที่ทาให้ระบบข้อมูลมีขีดความสามารถเพิ่มขึ้น คือ การโอนย้ายข้อมูล ระหว่างกัน และการเชือมต่อหรือการสื่อสาร การโอนย้ายข้อมูลหมายถึงการนา ่ ข้อมูลมาแบ่งกันใช้งาน หรือการนาข้อมูลไปใช้ประมวลผลในลักษณะแบ่งกันใช้ ทรัพยากร เช่น แบ่งกันใช้ซีพียู แบ่งกันใช้ฮาร์ดดิสก์ แบ่งกันใช้โปรแกรม และ แบ่งกันใช้อุปกรณ์อื่น ๆ ที่มีราคาแพงหรือไม่สามารถจัดหาให้ทุกคนได้ การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่ายจึงเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งาน ให้กว้างขวางและมากขึนจากเดิม ้ การเชื่อมต่อในความหมายของระบบเครือข่ายท้องถิ่น ไม่ได้จากัดอยูที่การ ่ เชื่อมต่อระหว่างเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ แต่ยังรวมไปถึงการเชื่อมต่ออุปกรณ์ รอบข้าง เทคโนโลยีที่ก้าวหน้าทาให้การทางานเฉพาะมีขอบเขตกว้างขวางยิงขึ้น มี ่ การใช้เครื่องบริการแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บรวบควมแฟ้มข้อมูลต่างๆ มีการทา ฐานข้อมูลกลาง มีหน่วยจัดการระบบสือสารหน่วยบริการใช้เครื่องพิมพ์ หน่วย บริการการใช้ซีดี หน่วยบริการปลายทาง และอุปกรณ์ประกอบสาหรับต่อเข้าใน ระบบเครือข่ายเพื่อจะทางานเฉพาะเจาะจงอย่างใดอย่างหนึ่ง ในรูป เป็นตัวอย่าง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ทจัดกลุ่มเชื่อมโยงเป็นระบบ ี่
  • 5. ตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่จัดกลุ่มอุปกรณ์รอบข้างเชื่อมโยงเป็นระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์กอให้เกิดความสามารถในการปฎิบัติการร่วมกัน ซึ่งหมายถึง ่ การให้อุปกรณ์ทุกชินทีต่ออยู่บนเครือข่ายทางานร่วมกันได้ทั้งหมดในลักษณะที่ ้ ่ ประสานรวมกัน โดยผูใช้เห็นเสมือนใช้งานในอุปกรณ์เดียวกัน จึงเป็นวิธีการในการ ้ นาเอาอุปกรณ์ตางชนิดจานวนมาก มารวมกันเป็นเสมือนระบบเดียวกัน ทั้ง ๆ ที่ ่ อุปกรณ์เหล่านันอาจจะมาจากต่างยี่ห้อ ต่างบริษัท ก็ได้ ้
  • 6. ความหมายของระบบเครือข่าย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึงการนาเครื่อง คอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่อสารข้อมูล เพือ ่ แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ และการใช้ทรัพยากรของระบบ ร่วมกัน (Shared Resource) ในเครือข่ายนั้น รูปแสดงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีองค์ประกอบที่สาคัญ เพือการเชื่อมต่อเป็นเครือข่าย ่ คอมพิวเตอร์ ได้แก่ คอมพิวเตอร์แม่ข่าย (File Server) ช่องทางการสื่อสาร (Communication Chanel) สถานีงาน (Workstation or Terminal) และ อุปกรณ์ใน เครือข่าย (Network Operation System) คอมพิวเตอร์แม่ข่าย คอมพิวเตอร์แม่ข่าย หมายถึงคอมพิวเตอร์ ทีทาหน้าที่เป็นผู้ให้บริการทรัพยากร ่ (Resources) ต่าง ๆ ซึงได้แก่ หน่วยประมวลผล หน่วยความจา หน่วยความจาสารอง ่ ฐานข้อมูล และ โปรแกรมต่าง ๆ เป็นต้น ในระบบเครือข่ายท้องถิ่น (LAN) มัก
  • 7. เรียกว่าคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ในระบบเครือข่ายระยะไกล ที่ใช้เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หรือ มินิคอมพิวเตอร์เป็นศูนย์กลางของเครือข่าย เรานิยมเรียกว่า Host Computer และเรียกเครื่องที่รอรับบริการว่าลูกข่ายหรือสถานีงาน ช่องทางการสื่อสาร ช่องทางการสื่อสาร หมายถึง สื่อกลางหรือเส้นทางที่ใช้เป็นทางผ่าน ในการรับส่ง ข้อมูล ระหว่างผู้รับ (Receiver) และผู้ส่งข้อมูล (Transmitter) ปัจจุบันมีช่องทางการ สื่อสาร สาหรับการเชื่อมต่อเครือข่าย คอมพิวเตอร์มีหลายประเภทคือ สายโทรศัพท์ แบบสายคู่ตีเกลียวไม่มีฉนวนหุ้ม (UTP) สายคู่ตีเกลียว แบบมีฉนวนหุม (STP) สาย ้ โคแอคเชียล สายใยแก้วนาแสง คลื่นไมโครเวป และดาวเทียม เป็นต้น รูปแสดงช่องทางการสื่อสารโดยใช้จานรับดาวเทียม สถานีงาน สถานีงาน (Workstation or Terminal) หมายถึง อุปกรณ์หรือเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่อ กับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทาหน้าที่เป็นสถานี ปลายทางหรือสถานีงาน ที่ได้รับการบริการจากเครื่อง คอมพิวเตอร์แม่ข่าย เรียกว่า เป็นคอมพิวเตอร์ลูกข่าย (Workstation) ในระบบเครือข่ายระยะใกล้ มักมีหน่วย ประมวลผล หรือซีพียูของตนเอง ในระบบที่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรม เป็น ศูนย์กลาง เรียกสถานีปลายทางว่าเทอร์มนอล (Terminal) ประกอบด้วยจอภาพและ ิ แป้นพิมพ์เท่านั้น ไม่มหน่วยประมวลกลางของตัวเอง ต้องใช้หน่วยประมวลผลของ ี คอมพิวเตอร์ศูนย์กลางหรือ Host
  • 8. อุปกรณ์ในเครือข่าย การ์ดเชื่อมต่อเครือข่าย (Network Interface Card :NIC) หมายถึง แผงวงจรสาหรับ ใช้ในการเชื่อมต่อสายสัญญาณของเครือข่าย ติดตั้งไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็น เครื่องแม่ข่าย และเครื่องที่เป็นลูกข่าย หน้าที่ของการ์ดนี้คือแปลงสัญญาณจาก คอมพิวเตอร์ส่งผ่านไปตามสายสัญญาณ ทาให้คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายแลกเปลี่ยน ข้อมูลข่าวสารกันได้ รูปแสดงการ์ดเชื่อมต่อเครือข่าย องค์ประกอบของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โมเด็ม ( Modem : Modulator Demodulator) หมายถึง อุปกรณ์สาหรับการแปลง สัญญาณดิจิตอล (Digital) จากคอมพิวเตอร์ดานผู้ส่ง เพือส่งไปตามสายสัญญาณ ้ ่ ข้อมูลแบบอนาลอก(Analog) เมื่อถึงคอมพิวเตอร์ด้านผู้รับ โมเด็มก็จะทาหน้าที่แปลง สัญญาณอนาลอก ให้เป็นดิจิตอลนาเข้าสู่เครืองคอมพิวเตอร์ เพื่อทาการประมวลผล ่ โดยปกติจะใช้โมเด็มกับระบบเครือข่ายระยะไกล โดยการใชสายโทรศัพท์เป็น สื่อกลาง เช่น เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นต้น
  • 9. รูปแสดงการใช้โมเด็มในการติดต่อเครือข่ายระยะไกล ฮับ ( Hub) คือ อุปกรณ์เชื่อมต่อที่ใช้เป็นจุดรวม และ แยกสายสัญญาณ เพื่อให้เกิด ความสะดวก ในการเชือมต่อของเครือข่ายแบบดาว (Star) โดยปกติใช้เป็นจุดรวมการ ่ เชื่อมต่อสายสัญญาณระหว่าง File Server กับ Workstation ต่าง ๆ แสดงฮับที่ใช้เป็นจุดเชือมต่อและจุดแยกของสาย ่
  • 10. ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบตการเครือข่าย หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่ทาหน้าที่ จัดการระบบ ัิ เครือข่ายของคอมพิวเตอร์ เพือให้คอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่ออยู่กับเครือข่าย สามารถ ่ ติดต่อสื่อสาร แลกเปลียนข้อมูลกันได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ ทาหน้าที่ ่ จัดการด้านการรักษาความปลอดภัย ของระบบเครือข่าย และยังมีหน้าที่ควบคุม การ นาโปรแกรมประยุกต์ ด้านการติดต่อสื่อสาร มาทางานในระบบเครือข่ายอีกด้วย นับว่าซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย มีความสาคัญต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อย่างยิ่ง ตัวอย่าง ซอฟต์แวร์ประเภทนี้ได้แก่ ระบบปฏิบัติการ Windows NT , Linux , Novell Netware , Windows XP ,Windows 2000 , Solaris , Unix เป็นต้น แสดงซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย
  • 11. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (TOPOLOGY) การนาเครื่องคอมพิวเตอร์มาเชือมต่อกันเพื่อประโยชน์ของการสื่อสารนั้น สามารถ ่ กระทาได้หลายรูปแบบ ซึ่งแต่ละแบบก็มีจุดเด่นที่แตกต่างกันไป โดยทึ่วไปแล้ว โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์สามารถจาแนกตามลักษณะของการเชือมต่อ ่ ดังต่อไปนี้ 1. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบบัส (bus topology) โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบบัส จะประกอบด้วย สายส่งข้อมูลหลัก ที่ใช้ส่งข้อมูลภายในเครือข่าย เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง จะเชื่อมต่อเข้ากับ สายข้อมูลผ่านจุดเชือมต่อ เมื่อมีการส่งข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่อง ่ พร้อมกัน จะมีสัญญาณข้อมูลส่งไปบนสายเคเบิ้ล และมีการแบ่งเวลาการใช้สาย เคเบิ้ลแต่ละเครื่อง ข้อดีของการเชือมต่อแบบบัส คือ ใช้สื่อนาข้อมูลน้อย ช่วยให้ ่ ประหยัดค่าใช้จาย และถ้าเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งเสียก็จะไม่ส่งผลต่อ ่ การทางานของระบบโดยรวม แต่มีข้อเสียคือ การตรวจจุดที่มีปัญหา กระทาได้ ค่อนข้างยาก และถ้ามีจานวนเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายมากเกินไป จะมีการส่ง ข้อมูลชนกันมากจนเป็นปัญหา
  • 12. 2. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบวงแหวน (ring topology) โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบวงแหวน มีการเชือมต่อระหว่างเครื่อง ่ คอมพิวเตอร์โดยที่แต่ละการเชือมต่อจะมีลักษณะเป็นวงกลม การส่งข้อมูลภายใน ่ เครือข่ายนี้ก็จะเป็นวงกลมด้วยเช่นกัน ทิศทางการส่งข้อมูลจะเป็นทิศทางเดียวกัน เสมอ จากเครื่องหนึ่งจนถึงปลายทาง ในกรณีที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่อง หนึ่งขัดข้อง การส่งข้อมูลภายในเครือข่ายชนิดนี้จะไม่สามารถทางานต่อไปได้ ข้อดี ของโครงสร้าง เครือข่ายแบบวงแหวนคือ ใช้สายเคเบิ้ลน้อย และถ้าตัดเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่เสียออกจากระบบ ก็จะไม่ส่งผลต่อการทางานของระบบเครือข่าย นี้ และจะไม่มีการชนกันของข้อมูลที่แต่ละเครืองส่ง ่ 3. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบดาว (star topology) โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบดาว ภายในเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะต้อง มีจุกศูนย์กลางในการควบคุมการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ หรือ ฮับ (hub) การสื่อสาร ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆ จะสื่อสารผ่านฮับก่อนที่จะส่งข้อมูลไปสู่เครื่อง คอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบบดาวมีข้อดี คือ ถ้า
  • 13. ต้องการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เครื่องใหม่ก็สามารถทาได้ง่ายและไม่กระทบต่อเครื่อง คอมพิวเตอร์อนๆ ในระบบ ส่วนข้อเสีย คือ ค่าใช้จ่ายในการใช้สายเคเบิ้ลจะค่อนข้าง ื่ สูง และเมื่อฮับไม่ทางาน การสื่อสารของคอมพิวเตอร์ทงระบบก็จะหยุดตามไปด้วย ั้ เทคโนโลยีไร้สาย ไมโครเวฟบนผิวโลก - การสื่อสารไมโครเวฟบนผิวโลกจะใช้เครื่องส่งและเครื่องรับ สัญญาณจากสถานีบนผิวโลกที่มีลักษณะคล้ายจานดาวเทียม ไมโครเวฟภาคพื้นดินอยู่ในช่วงกิ กะเฮิรตซ์ที่ต่า ซึ่งจากัดการสื่อสารทั้งหมดด้วยเส้นสายตาเท่านั้น สถานีทวนสัญญาณมี ระยะห่างประมาณ 48 กิโลเมตร (30 ไมล์) ดาวเทียมสื่อสาร - การสื่อสารดาวเทียมผ่านทางคลื่นวิทยุไมโครเวฟที่ไม่ได้เบี่ยงเบน โดยชั้นบรรยากาศของโลก ดาวเทียมจะถูกส่งไปประจาการในอวกาศ ที่มักจะอยู่ในวงโคจร geosynchronous ที่ 35,400 กิโลเมตร (22,000 ไมล์) เหนือเส้นศูนย์สูตร ระบบการโคจรของโลกนี้มีความสามารถในการรับและถ่ายทอดสัญญาณเสียง, ข้อมูลและทีวี ระบบเซลลูลาร์และ PCS ใช้เทคโนโลยีการสื่อสารวิทยุหลายเทคโนโลยี ระบบแบ่ง ภูมิภาคที่ครอบคลุมออกเป็นพื้นที่ทางภูมิศาสตร์หลายพื้นที่ แต่ละพื้นที่มีเครื่องส่งหรืออุปกรณ์ เสาอากาศถ่ายทอดสัญญาณวิทยุพลังงานต่าเพื่อถ่ายทอดสัญญาณเรียกจากพื้นที่หนึ่งไปยังอีก พื้นที่หนึ่งข้างหน้า
  • 14. เทคโนโลยีวิทยุและการแพร่กระจายสเปกตรัม - เครือข่ายท้องถิ่นไร้สายจะใช้เทคโนโลยีวิทยุความถี่สูงคล้ายกับโทรศัพท์มือถือดิจิทัล และเทคโนโลยีวิทยุความถี่ต่า. LAN ไร้สายใช้เทคโนโลยีการแพร่กระจายคลื่นความถี่เพื่อ การสื่อสารระหว่างอุปกรณ์หลายชนิดในพื้นที่จากัด. IEEE 802.11 กาหนดคุณสมบัติ ทั่วไปของเทคโนโลยีคลื่นวิทยุไร้สายมาตรฐานเปิดที่รู้จักกันคือ Wifi การสื่อสารอินฟราเรด สามารถส่งสัญญาณระยะทางสั้นๆมักไม่เกิน 10 เมตร ในหลายกรณีส่วนใหญ่ การส่ง แสงจะใช้แบบเส้นสายตา ซึ่งจากัดตาแหน่งการติดตั้งของอุปกรณ์การสื่อสาร เครือข่ายทั่วโลก (global area network หรือ GAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้สาหรับการสนับสนุนการใช้งานมือถือข้ามหลายๆ LAN ไร้สาย หรือในพื้นที่ที่ดาวเทียมครอบคลุมถึง ฯลฯ ความท้าทายที่สาคัญในการสื่อสารเคลื่อนที่คือการ ส่งมอบการสื่อสารของผู้ใช้จากพื้นที่หนึ่งไปอีกพื้นที่หนึ่ง ใน IEEE 802 การส่งมอบนี้ เกี่ยวข้องกับความต่อเนื่องของ LAN ไร้สายบนผิวโลก .