SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
รายงาน
เรื่อง

เครือข่ายคอมพิวเตอร์
จัดทาโดย

นางสาว นรากร ชัยภักดี
ชั้นม.4/3 เลขที่ 13
เสนอ
อาจารย์จุฑารัตน์ ใจบุญ
โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์
อาเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
คานา
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา คอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จัดทาขึ้นเพื่อศึกษา
ค้นคว้าเกี่ยวกับเรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่จะเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันเพื่อการติดต่อสื่อสาร ซึ่ง
ข้อมูลต่างๆ อาจเป็นทั้งข้อความ รูปภาพ เสียง ก่อให้เกิดความสะดวก รวดเร็วแก่ผู้ใช้ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่าง
ยิ่งว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้ที่สนใจได้ไม่มากก็น้อย
หากมีข้อผิดพลาดประการใดผู้จัดทาต้องขออภัยมา ณ โอกาสนี้ด้วย

จัดทาโดย
นางสาวนรากร ชัยภักดี
สารบัญ
เรื่อง

หน้า

เครือข่ายคอมพิวเตอร์

1

องค์ประกอบของระบบเครือข่าย

4

ประโยชน์ของระบบเครือข่าย

3

การรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์

7

ตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อ้างอิง

9
12
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและความสาคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับการใช้งาน
อย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านั้นถึงกับเพื่อเพิ่มขีดความสามารถของ
ระบบให้สูงขึ้น เพิ่มการใช้งานด้านต่าง ๆ และลดต้นทุนระบบโดยรวมลง มีการแบ่งใช้งานอุปกรณ์และ
ข้อมูลต่าง ๆ ตลอดจนสามารถทางานร่วมกันได้
สิ่งสาคัญที่ทาให้ระบบข้อมูลมีขีดความสามารถเพิ่มขึ้น คือ การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกัน และการ
เชื่อมต่อหรือการสื่อสาร การโอนย้ายข้อมูลหมายถึงการนาข้อมูลมาแบ่งกันใช้งาน หรือการนาข้อมูลไปใช้
ประมวลผลในลักษณะแบ่งกันใช้ทรัพยากร เช่น แบ่งกันใช้ซีพียู แบ่งกันใช้ฮาร์ดดิสก์ แบ่งกันใช้โปรแกรม
และแบ่งกันใช้อุปกรณ์อื่น ๆ ที่มีราคาแพงหรือไม่สามารถจัดหาให้ทุกคนได้ การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็น
เครือข่ายจึงเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานให้กว้างขวางและมากขึ้นจากเดิม
การเชื่อมต่อในความหมายของระบบเครือข่ายท้องถิ่น ไม่ได้จากัดอยู่ที่การเชื่อมต่อระหว่างเครื่อง
ไมโครคอมพิวเตอร์ แต่ยังรวมไปถึงการเชื่อมต่ออุปกรณ์รอบข้าง เทคโนโลยีที่ก้าวหน้าทาให้การทางาน
เฉพาะมีขอบเขตกว้างขวางยิ่งขึ้น มีการใช้เครื่องบริการแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บรวบควมแฟ้มข้อมูลต่างๆ มีการ
ทาฐานข้อมูลกลาง มีหน่วยจัดการระบบสือสารหน่วยบริการใช้เครื่องพิมพ์ หน่วยบริการการใช้ซีดี หน่วย
บริการปลายทาง และอุปกรณ์ประกอบสาหรับต่อเข้าในระบบเครือข่ายเพื่อจะทางานเฉพาะเจาะจงอย่างใด
อย่างหนึ่ง ในรูป เป็นตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่จัดกลุ่มเชื่อมโยงเป็นระบบ

ตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่จัดกลุ่มอุปกรณ์รอบข้างเชื่อมโยงเป็นระบบ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ก่อให้เกิดความสามารถในการปฎิบัติการร่วมกัน ซึ่งหมายถึงการให้อุปกรณ์
ทุกชิ้นที่ต่ออยู่บนเครือข่ายทางานร่วมกันได้ทั้งหมดในลักษณะที่ประสานรวมกัน โดยผู้ใช้เห็นเสมือนใช้
งานในอุปกรณ์เดียวกัน จึงเป็นวิธีการในการนาเอาอุปกรณ์ต่างชนิดจานวนมาก มารวมกันเป็นเสมือนระบบ
เดียวกัน ทั้ง ๆ ที่อุปกรณ์เหล่านั้นอาจจะมาจากต่างยี่ห้อ ต่างบริษัท ก็ได้
ความหมายของระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ( Computer Network) หมายถึงการนาเครื่องคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อ
เข้าด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่อสารข้อมูล เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์
และการใช้ทรัพยากรของระบบร่วมกัน (Shared Resource) ในเครือข่ายนั้น

รูปแสดงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีองค์ประกอบที่สาคัญ เพื่อการเชื่อมต่อเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ได้แก่ คอมพิวเตอร์แม่ข่าย ( File Server) ช่องทางการสื่อสาร ( Communication Chanel) สถานีงาน
(Workstation or Terminal) และ อุปกรณ์ในเครือข่าย (Network Operation System)
คอมพิวเตอร์แม่ข่าย
คอมพิวเตอร์แม่ข่าย หมายถึงคอมพิวเตอร์ ที่ทาหน้าที่เป็นผู้ให้บริการทรัพยากร ( Resources) ต่าง ๆ
ซึ่งได้แก่ หน่วยประมวลผล หน่วยความจา หน่วยความจาสารอง ฐานข้อมูล และ โปรแกรมต่าง ๆ เป็นต้น
ในระบบเครือข่ายท้องถิ่น ( LAN) มักเรียกว่าคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ในระบบเครือข่ายระยะไกล ที่ใช้
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หรือ มินิคอมพิวเตอร์เป็นศูนย์กลางของเครือข่าย เรานิยมเรียกว่า Host Computer และ
เรียกเครื่องที่รอรับบริการว่าลูกข่ายหรือสถานีงาน
ช่องทางการสื่อสาร
ช่องทางการสื่อสาร หมายถึง สื่อกลางหรือเส้นทางที่ใช้เป็นทางผ่าน ในการรับส่งข้อมูล ระหว่าง
ผู้รับ (Receiver) และผู้ส่งข้อมูล ( Transmitter) ปัจจุบันมีช่องทางการสื่อสาร สาหรับการเชื่อมต่อเครือข่าย
คอมพิวเตอร์มีหลายประเภทคือ สายโทรศัพท์แบบสายคู่ตีเกลียวไม่มีฉนวนหุ้ม ( UTP) สายคู่ตีเกลียว แบบมี
ฉนวนหุ้ม (STP) สายโคแอคเชียล สายใยแก้วนาแสง คลื่นไมโครเวป และดาวเทียม เป็นต้น
รูปแสดงช่องทางการสื่อสารโดยใช้จานรับดาวเทียม
สถานีงาน
สถานีงาน (Workstation or Terminal) หมายถึง อุปกรณ์หรือเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่อ
กับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทาหน้าที่เป็นสถานีปลายทางหรือสถานีงาน ที่ได้รับการบริการจากเครื่อง
คอมพิวเตอร์แม่ข่าย เรียกว่าเป็นคอมพิวเตอร์ลูกข่าย (Workstation) ในระบบเครือข่ายระยะใกล้ มักมีหน่วย
ประมวลผล หรือซีพียูของตนเอง ในระบบที่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรม เป็นศูนย์กลาง เรียกสถานี
ปลายทางว่าเทอร์มินอล (Terminal) ประกอบด้วยจอภาพและแป้นพิมพ์เท่านั้น ไม่มีหน่วยประมวลกลางของ
ตัวเอง ต้องใช้หน่วยประมวลผลของคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางหรือ Host
อุปกรณ์ในเครือข่าย
การ์ดเชื่อมต่อเครือข่าย ( Network Interface Card :NIC) หมายถึง แผงวงจรสาหรับ ใช้ในการ
เชื่อมต่อสายสัญญาณของเครือข่าย ติดตั้งไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นเครื่องแม่ข่าย และเครื่องที่เป็นลูก
ข่าย หน้าที่ของการ์ดนี้คือแปลงสัญญาณจากคอมพิวเตอร์ส่งผ่านไปตามสายสัญญาณ ทาให้คอมพิวเตอร์ใน
เครือข่ายแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกันได้

รูปแสดงการ์ดเชื่อมต่อเครือข่าย
องค์ประกอบของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
โมเด็ม ( Modem : Modulator Demodulator)หมายถึง อุปกรณ์สาหรับการแปลงสัญญาณดิจิตอล
(Digital) จากคอมพิวเตอร์ด้านผู้ส่ง เพื่อส่งไปตามสายสัญญาณข้อมูลแบบอนาลอก( Analog) เมื่อถึง
คอมพิวเตอร์ด้านผู้รับ โมเด็มก็จะทาหน้าที่แปลงสัญญาณอนาลอก ให้เป็นดิจิตอลนาเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์
เพื่อทาการประมวลผล โดยปกติจะใช้โมเด็มกับระบบเครือข่ายระยะไกล โดยการใช้สายโทรศัพท์เป็น
สื่อกลาง เช่น เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นต้น

รูปแสดงการใช้โมเด็มในการติดต่อเครือข่ายระยะไกล
ฮับ ( Hub)คือ อุปกรณ์เชื่อมต่อที่ใช้เป็นจุดรวม และ แยกสายสัญญาณ เพื่อให้เกิดความสะดวก ใน
การเชื่อมต่อของเครือข่ายแบบดาว ( Star) โดยปกติใช้เป็นจุดรวมการเชื่อมต่อสายสัญญาณระหว่าง File
Server กับ Workstation ต่าง ๆ

แสดงฮับที่ใช้เป็นจุดเชื่อมต่อและจุดแยกของสาย
ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย
ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่ทาหน้าที่ จัดการระบบเครือข่ายของ
คอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่ออยู่กับเครือข่าย สามารถติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้
อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ ทาหน้าที่จัดการด้านการรักษาความปลอดภัย ของระบบเครือข่าย และยังมี
หน้าที่ควบคุม การนาโปรแกรมประยุกต์ ด้านการติดต่อสื่อสาร มาทางานในระบบเครือข่ายอีกด้วย นับว่า
ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย มีความสาคัญต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างยิ่ง ตัวอย่าง ซอฟต์แวร์
ประเภทนี้ได้แก่ ระบบปฏิบัติการ Windows NT , Linux , Novell Netware , Windows XP ,Windows 2000 ,
Solaris , Unix เป็นต้น

แสดงซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย
โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (TOPOLOGY)
การนาเครื่องคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อกันเพื่อประโยชน์ของการสื่อสารนั้น สามารถกระทาได้หลาย
รูปแบบ ซึ่งแต่ละแบบก็มีจุดเด่นที่แตกต่างกันไป โดยทั่วไปแล้วโครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สามารถจาแนกตามลักษณะของการเชื่อมต่อดังต่อไปนี้
1. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบบัส ( bus topology)จะประกอบด้วย สายส่งข้อมูลหลัก ที่ใช้
ส่งข้อมูลภายในเครือข่าย เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง จะเชื่อมต่อเข้ากับสายข้อมูลผ่านจุดเชื่อมต่อ เมื่อมี
การส่งข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่องพร้อมกัน จะมีสัญญาณข้อมูลส่งไปบนสายเคเบิ้ล และมี
การแบ่งเวลาการใช้สายเคเบิ้ลแต่ละเครื่อง ข้อดีของการเชื่อมต่อแบบบัส คือ ใช้สื่อนาข้อมูลน้อย ช่วยให้
ประหยัดค่าใช้จ่าย และถ้าเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งเสียก็จะไม่ส่งผลต่อการทางานของระบบ
โดยรวม แต่มีข้อเสียคือ การตรวจจุดที่มีปัญหา กระทาได้ค่อนข้างยาก และถ้ามีจานวนเครื่องคอมพิวเตอร์ใน
เครือข่ายมากเกินไป จะมีการส่งข้อมูลชนกันมากจนเป็นปัญหา

2. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบวงแหวน ( ring topology)มีการเชื่อมต่อระหว่างเครื่อง
คอมพิวเตอร์โดยที่แต่ละการเชื่อมต่อจะมีลักษณะเป็นวงกลม การส่งข้อมูลภายในเครือข่ายนี้ก็จะเป็นวงกลม
ด้วยเช่นกัน ทิศทางการส่งข้อมูลจะเป็นทิศทางเดียวกันเสมอ จากเครื่องหนึ่งจนถึงปลายทาง ในกรณีที่มี
เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งขัดข้อง การส่งข้อมูลภายในเครือข่ายชนิดนี้จะไม่สามารถทางาน
ต่อไปได้ ข้อดีของโครงสร้าง เครือข่ายแบบวงแหวนคือ ใช้สายเคเบิ้ลน้อย และถ้าตัดเครื่องคอมพิวเตอร์ที่
เสียออกจากระบบ ก็จะไม่ส่งผลต่อการทางานของระบบเครือข่ายนี้ และจะไม่มีการชนกันของข้อมูลที่แต่ละ
เครื่องส่ง

3. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบดาว (star topology)ภายในเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะต้องมีจุก
ศูนย์กลางในการควบคุมการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ หรือ ฮับ ( hub) การสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์
ต่างๆ จะสื่อสารผ่านฮับก่อนที่จะส่งข้อมูลไปสู่เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ โครงสร้างเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ แบบดาวมีข้อดี คือ ถ้าต้องการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เครื่องใหม่ก็สามารถทาได้ง่ายและไม่
กระทบต่อเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ ในระบบ ส่วนข้อเสีย คือ ค่าใช้จ่ายในการใช้สายเคเบิ้ลจะค่อนข้างสูง
และเมื่อฮับไม่ทางาน การสื่อสารของคอมพิวเตอร์ทั้งระบบก็จะหยุดตามไปด้วย
การรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งเป็น 2 ประเภทหลัก ได้แ ก่การรับส่งข้อมูล
แบบใช้สายและการรับส่งข้อมูลแบบไร้สาย ดังนี้
การรับส่งข้อมูลแบบใช้สาย
การส่งข้อมูลแบบใช้สาย แบ่งออกตามชนิดของสายสื่อสารได้ 3 ชนิด ดังนี้
1.) สายตีเกลียวคู่ ประกอบด้วยเส้นทองแดง 2 เส้นที่หุ้มด้วยฉนวนพลาสติก พันบิดกันเป็นเกลียว
เพื่อลดการบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า จากสายข้างเคียงภายในเคเบิลเดียวกันหรือจากภายนอกเนื่องจาก
สายตีเกลียวคู่นี้ยอมให้สัญญาณไฟฟ้าความถี่สูงผ่านได้สาหรับอัตราการส่งข้อมูลผ่านสายตีเกลียวคู่จะขึ้นอยู่
กับความหนาของสาย คือสายทองแดงที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางกว้าง จะสามารถส่งสัญญาณไฟฟ้ากาลังแรงได้
ทาให้ส่งข้อมูลได้อัตราเร็วสูง โดยทั่วไปใช้สาหรับการส่งข้อมูลแบบดิจิทัลสามารถส่งได้ถึง 100 เมกะบิตต่อ
วินาที ในระยะทางไม่เกินร้อยเมตรเนื่องจากมีราคาไม่แพงมาก ใช้ส่งข้อมูลได้ดีจึงมีการใช้งานอย่าง
กว้างขวางสายตีเกลียวคู่มี 2 ชนิด ดังนี้
1.1) สายเกลียวคู่แบบไม่ป้องกันสัญญาณรบกวนหรือชนิดไม่หุ้มฉนวน ( Un-shielded
Twisted Pair : UTP)เป็นสายตีเกลียวคู่ที่ไม่มีฉนวนชั้นนอกทาให้สะดวกในการโค้งงอแต่สามารถ
ป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้น้อยกว่าสายตีเกลียวคู่ชนิดหุมฉนวน ( STP) ใช้ใน
ระบบวงจรโทรศัพท์แบบดั้งเดิมปัจจุบันมีการปรับคุณสมบัติให้ดีขึ้น สามารถใช้กับสัญญาณความถี่
สูงได้และเนื่องจากมีราคาสูงจึงนิยมใช้ในการเชื่อมต่ออุปกรณ์ในเครือข่าย
1.2) สายตีเกลียวคู่แบบป้องกันสัญญาณรบกวนหรือชนิดหุ้มฉนวน ( Shielded Twisted
Pair : STP) เป็นสายตีเกลียวคู่ที่ชั้นนอกหุ้มด้วยลวดถักที่หนาเพื่อป้องกันการรบกวนของคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้ารองรับความถี่ของการส่งข้อมูลได้สูงกว่าสายตีเกลียวคู่แบบไม่ป้องกันสัญญาณ
รบกวน แต่มีราคาแพงกว่า
2. สายโคแอกซ์ ( coaxial cable)มีลักษณะเช่นเดียวกับสายที่ต่อมาจากเสาอากาศประกอบด้วย
ลวดทองแดงที่เป็นแกนหลักหุ้มด้วยฉนวนชั้นหนึ่ง เพื่อป้องกันกระแสไฟฟ้ารั่วจากนั้นจะหุ้มด้วยตัวนาซึ่ง
ทาจากลวดทองแดงถักเป็นเปียเพื่อป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และสัญญาณรบกวนอื่นๆ
ก่อนจะหุ้มด้วยฉนวนพลาสติกสัญญาณไฟฟ้าสามารถผ่านได้สูงมากนิยมใช้เป็นช่องสื่อสารสัญญาณ
เชื่อมโยงผ่านใต้ทะเลและใต้ดินสายโคแอกซ์ที่ใช้ทั่วไปมี 2 ชนิด คือ 50 โอห์มซึ่งใช้ส่งข้อมูลสัญญาณดิจิทัล
และชนิด 75 โอห์มซึ่งใช้ส่งข้อมูลสัญญาณอะนาล็อก
3. สายใยแก้วนาแสง (fiber optic cable)หรือเส้นใยแก้วนาแสงแกนกลางของสายประกอบด้วยเส้น
ใยแก้วหรือเส้นพลาสตกขนาดเล็กภายในกลวงหลายๆเส้น อยู่รวมกัน เส้นใยแต่ละเส้นมีขนาดเล็กประมาณ
เส้นผมของมนุษย์เส้นใยแต่ละเส้นห่อหุ้มด้วยเส้นใยอีกชนิดหนึ่งก่อนจะหุ้มชั้นนอกสุดด้วยฉนวนการส่ง
ข้อมูลผ่านทางสื่อกลางชนิดนี้จะแตกต่างจากชนิดอื่นๆซึ่งจะใช้เลเซอร์วิ่งผ่านกลวงของเส้นใยแต่ละเส้นและ
อาศัยหลักการหักเหของแสง โดยใช้เส้นใยชั้นนอกเป้นกระจกสะท้อนแสงสามารถส่งข้อมูลด้วยอัตราความ
หนาแน่นของสัญญาณข้อมูลที่สูงมากและไม่มีการก่อกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทาให้สามารถส่งข้อมูลทั้ง
ตัวอักษรภาพ กราฟิก เสียง หรือวีดิทัศน์ได้ในเวลาเดียวกันแต่ยังมีข้อเสียเนื่องจากการบิดงอของ
สายสัญญาณจะทาให้เส้นใยหักจึงไม่สามารถใช้สื่อกลางนี้เดินทางตามมุมตึกได้ สายใยแก้ว นาแสงมีลี
กษณะพิเศษที่ใช้สาหรับเชื่อมโยงแบบจุดไปจุดจึงเหมาะที่จะใช้กับการเชื่อมโยงระหว่างอาคารกับอาคาร
หรือระหว่างเมืองกับเมือง
การรับส่งข้อมูลแบบไร้สาย
การส่งข้อมูลแบบไร้สายอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นสื่อกลางนาสัญญาณซึ่งสามารถแบ่งตามช่วง
ความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้ 4 ชนิด ดังนี้
1. อินฟราเรด (Intrared)เป็นลักษณะของคลื่นที่ใช้ในการส่งข้อมูลระยะใกล้ๆ ในช่วงความถี่ที่แคบ
มากใช้ช่องทงสื่อสารน้อยมักใช้กับการสื่อสารข้อมูลที่ไม่มีสิ่งกีดขวางระหว่างตัวส่งกับตัวรับสัญญาณโดย
ต้องใช้วิธีการสื่อสารตามแนวเส้นตรง ระยะทางไม่เกิน 1 – 2 เมตรความเร็วประมาณ 4 -16
เมกกะบิตต่อนาที เช่น การส่งสัญญาณจากรีโมตคอนโทรลไปยังโทรทัศน์ การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์สอง
เครื่องโดยผ่านพอร์ตไออาร์ดีเอ เป็นต้น
2. คลื่นวิทยุ ( radio frequency) ใช้ส่งสัญญาณไปในอากาศ โดยมีตัวกระจายสัญญาณส่งไปยัง
ตัวรับสัญญาณและใช้คลื่นวิทยุในช่วงความถี่ต่างๆ กัน มีความเร็วต่าประมาณ 2 เมกกะบิตต่อนาที เช่น การ
สื่อสารในระบบวิทยุเอฟเอ็ม (Frequency Modulation : FM) เอเอ็ม (Amplitude Modulation : AM) การ
สื่อสารโดยใช้ระบบไร้สายและบลูทูท
3. ไมโครเวฟ (microwave)จะใช้การส่งสัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไปในอากาศพร้อมกับข้อมูลที่
ต้องการส่งและต้องมีสถานีที่ทาหน้าที่ส่งและรับข้อมูลและเนื่องจากสัญญาณไมโครเวฟจะเดินทางเป็น
เส้นตรงไม่สามารถเลี้ยวหรือโค้งตามขอบโลกได้ จึงต้องมีการตั้งสถานีรับ – ส่งข้อมูลเป็นระยะๆและส่ง
ข้อมูลต่อกันเป็นทอดๆ ระหว่างสถานีต่อสถานี จนกว่าจะถึงสถานีปลายทางและแต่ละสถานีจะตั้งอยู่ในที่สูง
เช่น ดาดฟ้าของตึกสูล ยอดเขา เป็นต้นเพื่อหลีกเลี่ยงการชนสิ่งกีดขวางในแนวการเดินทางของสัญญาณ
เหมาะกับการส่งข้อมูลในพื้นที่ห่างไกล และทุรกันดาร
4. ดาวเทียม (satellite) เป็นสถานีรับส่งสัญญาณไมโครเวฟบนดาดฟ้าซึ่งได้รับการพัฒนาขึ้นมาเพื่อ
หลีกเลียงข้อจากัดของสถานีรับ – ส่งไมโครเวฟบนผิวโลก เพื่อใช้เป็นสถานีรับ – ส่ง สัญญาณไมโครเวฟบน
อวกาศและทวนสัญญาณในแนวโคจรของโลก ซึ่งจะต้องมีสถานีภาคพื้นดินทาหน้าที่รับและส่งสัญญาณขึ้น
ไปบนดาวเทียมที่โคจรอยู่สูงจากพื้นโลกประมาณ 35,600 ไมล์โดยดาวเทียมเหล่านั้นจะเคลื่อนที่ด้วย
ความเร็วที่เท่ากับการหมุนของโลกจึงเสมือนกับดาวเทียมนั้นอยู่นิ่งกับที่ขณะที่โลกหมุนรอบตัวเองทาให้
การส่งสัญญาณไมโครเวฟจากสถานีหนึ่งขึ้นไปบนดาวเทียมและการกระจายสัญญาณจากดาวเทียมลงมายัง
สถานีตามจุดต่างๆ บนผิวโลกเป็นไปอย่างแม่นยา

ตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เมื่อเทคโนโลยีเครือข่ายได้รับการพัฒนาโดยเฉพาะมีการประยุกต์ใช้งานบนเครือข่ายอย่าง
กว้างขวาง ทาให้เครือข่าย คอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่าย
เดียวกัน เรียกว่า อินเทอร์เน็ต ขณะเดียวกันในองค์กรแต่ละองค์กร ก็มีการพัฒนาเครือข่ายของตนเองและ
ประยุกต์ใช้กับงานเฉพาะในองค์กร เรียกว่าอินทราเน็ต ดังนั้น อินเทอร์เน็ตจึง แตกต่างจากอินทราเน็ต
ตรงที่ขอบเขตของการเชื่อมโยง ส่วนมาตรฐานและวิธีการเชื่อมโยงยังคงเป็นมาตรฐานเดียวกัน
1 อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตพัฒนามาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512 โดยกระทรวงกลาโหมประเทศสหรัฐอเมริกาให้ทุนกับ
มหาวิทยาลัย ชั้นนาในสหรัฐฯ เพื่อเชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยเข้าเป็นเครือข่าย และใช้
ทรัพยากรเพื่อทางานวิจัย เกี่ยวกับการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ร่วมกัน ซึ่งสมัยแรกใช้ชื่อว่า อาร์ปา
เน็ต และจึงมีการเปลี่ยนชื่อเป็น อินเทอร์เน็ตในภายหลัง เครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้รับการพัฒนาให้เป็น
มาตรฐาน โดยมาตรฐานการรับส่งข้อมูลมีชื่อว่า ทีซีพี/ไอพี (TCP/IP) ต่อมามีการเชื่อมเครือข่ายออกสู่
องค์กรเอกชน และแพร่ขยายไปทั่วโลก เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ถือเป็นเครือข่ายของ
เครือข่าย หมายความว่าในองค์กรได้สร้างเครือข่ายภายในตนเองขึ้นมา และนามาเชื่อมต่อสู่เครือข่าย สากล
อินเทอร์เน็ตนี้ โดยมีการกาหนดตาแหน่งอุปกรณ์ด้วยรหัสหมายเลขที่เรียกว่า แอดเดรส ซึ่งอินเทอร์เน็ต
กาหนดรหัสแอดเดรสเรียกว่า ไอพีแอดเดรส และถือเป็นรหัสสากลที่ไม่ซ้ากันเลย ไอพีแอดเดรสจะ
ประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด โดยเน้นเป็นรหัสของเครือข่ายและรหัสของอุปกรณ์ เช่น รหัสแทนเครือข่ายของ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ใช้รหัส 158.108 ส่วนรหัสของเครื่องจะมีอีกสองพิกัดตามมา เช่น 2.71 เมื่อ
เขียนรวมกันจะได้ 158.108.2.71 เพื่อให้จดจาได้ง่ายจึงมีการตั้งชื่อคู่กับหมายเลข เราเรียกชื่อนี้ว่า
โดเมน เช่นโดเมนของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ก็ ใช้ชื่อ ku.ac.th โดย th หมายถึงประเทศไทย ac
หมายถึงสถาบันการศึกษา และ ku หมายถึง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ใน
เครือข่ายหลายเครื่อง ก็ให้มีการตั้งชื่อเครื่องด้วย เช่น nontri เมื่อมีการเรียกรวมกันก็ จะ
เป็น nontri.ku.ac.th การใช้ชื่อนี้ทาให้ใช้งานง่ายกว่าตัวเลข เมื่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเชื่อมโยงกันได้ทั่ว
โลก ทาให้โลกไร้พรมแดน ข้อมูล ข่าวสารต่าง ๆ สามารถสื่อถึงได้อย่าง รวดเร็ว ตัวอย่างการใช้งานบน
อินเทอร์เน็ตที่จะกล่าวต่อไปนี้เป็นเพียงตัวอย่างที่แพร่หลายและใช้กันมากเท่านั้น แต่ยังมีการใช้งานอื่น ๆ
อีกมากที่ได้รับการพัฒนาขึ้นมาตลอดเวลา
1.การรับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
เป็นระบบการสื่อสารทางจดหมายผ่านคอมพิวเตอร์ ถ้าเราต้องการส่งข้อความถึงใครก็สามารถ
เขียนเป็นเอกสาร แล้วจ่าหน้าซองที่อยู่ของผู้รับที่เรียกว่า แอดเดรส ระบบจะนาส่งให้ทันทีอย่าง
รวดเร็ว ลักษณะของแอดเดรสจะเป็นชื่อรหัสผู้ใช้ และชื่อเครื่องประกอบ
กัน เช่น sombat@nontri.ku.ac.th การติดต่อบนอินเทอร์เน็ตนี้ จะหาตาแหน่งให้เองโดยอัตโนมัติ และนา
ส่งไปปลายทางได้อย่างถูกต้อง การรับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (email) กาลังเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย
2. การโอนย้ายแฟ้มข้อมูลระหว่างกัน
เป็นระบบที่ทาให้ผู้ใช้สามารถรับส่งแฟ้มข้อมูลระหว่างกันหรือมีสถานีให้บริการ เก็บแฟ้มข้อมูลที่
อยู่ในที่ต่าง ๆ และให้บริการ ผู้ใช้สามารถเข้าไปคัดเลือกนาแฟ้มข้อมูลมาใช้ประโยชน์ได้
3. การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในที่ห่างไกล
การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ทาให้เราสามารถ เรียกหาเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นสถานี
บริการใน ที่ห่างไกลได้ ผู้ใช้สามารถนาข้อมูลไปประมวลผลยังเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในเครือข่าย โดย
ไม่ต้องเดินทางไปเอง
4. การเรียกค้นข้อมูลข่าวสาร
ปัจจุบันมีฐานข้อมูลที่เก็บไว้ให้ใช้งานจานวนมาก ฐานข้อมูลบางแห่งเก็บข้อมูลในรูปสิ่งพิมพ์
อิเล็กทรอนิกส์ที่ผู้ใช้สามารถ เรียกอ่าน หรือนามาพิมพ์ ลักษณะการเรียกค้นนี้จึงมีลักษณะเหมือนเป็น
ห้องสมุดขนาดใหญ่อยู่ภายในเครือข่าย ที่สามารถค้นหาข้อมูลใด ๆ ก็ได้ ฐานข้อมูล ในลักษณะนี้เรียกว่า
เครือข่ายใยแมงมุมครอบคลุมทั่วโลก(World Wide Web : WWW) เป็นฐานข้อมูลที่เชื่อมโยงกันทั่วโลก
5. การอ่านจากกลุ่มข่าว
ภายในอินเทอร์เน็ตมีกลุ่มข่าวเป็นกลุ่ม ๆ แยกตามความสนใจ แต่ละกลุ่มข่าว อนุญาตให้ผู้ใช้
อินเทอร์เน็ตส่งข้อความ ลงไปได้ และหากมีผู้ต้องการเขียนโต้ตอบก็สามารถเขียนตอบได้ กลุ่มข่าวนี้จึง
แพร่หลายกระจายข่าวได้รวดเร็ว
6. การสนทนาบนเครือข่าย
เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นตัวกลาง ในการติดต่อสนทนากันได้ ในยุคแรกใช้วิธีการสนทนาเป็น
ตัวหนังสือ ต่อมา พัฒนาให้ใช้เสียงได้ ปัจจุบันถ้าระบบสื่อสารมีความเร็วพอก็สามารถสนทนาโดยที่เห็น
หน้ากันและกันบนจอภาพได้
7. การบริการสถานีวิทยุและโทรทัศน์บนเครือข่าย
ปัจจุบันมีผู้ตั้งสถานีวิทยุบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหลายร้อยสถานี ผู้ใช้สามารถเลือกสถานที่
ต้องการและได้ยินเสียงเหมือน การเปิดฟังวิทยุ ขณะเดียวกันก็มีการส่งกระจายภาพวีดิโอบนเครือข่ายด้วย
2 อินทราเน็ต
เมื่ออินเทอร์เน็ตได้รับการพัฒนามาจนเป็นที่ยอมรับและแพร่หลาย จึงมีผู้ต้องการสร้างเครือข่ายใช้
งานเฉพาะในองค์กร โดยนาวิธีการในอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้กับเครือข่ายของตนเอง เครือข่ายที่ใช้งาน
เฉพาะในองค์การนี้จึงเรียกว่า เครือข่ายอินทราเน็ต

การประยุกต์ใช้บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตใช้หลักการที่

มีสถานีให้บริการ และสถานีผู้ใช้บริการ สถานีผู้ใช้บริการมีโปรแกรมเชื่อมต่อที่ทาให้ใช้งานระบบ
ฐานข้อมูลได้ง่าย อินทราเน็ตจึงใช้วิธีการเดียวกันนี้ เพราะทาให้ผู้ใช้ไม่ต้องเสียเวลาในการเรียนรู้การ
พัฒนาขึ้น และพร้อมที่จะเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต
อ้างอิง
http://onatcha46203.blogspot.com/2012/06/blog-post_4944.html .11 ธันวาคม 2556.
http://www.school.net.th/library/snet1/hardware/network.html. 11 ธันวาคม 2556.

More Related Content

What's hot

ระบบการสื่อสารข้อมูล
  ระบบการสื่อสารข้อมูล  ระบบการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูลPukpik Jutamanee
 
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์L'Lig Tansuda Yongseng
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลpookpikdel
 
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายบทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายTum WinNing
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and networkkamol
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์delloov
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43Sireethorn43
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1Morn Suwanno
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลchukiat008
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)supatra2011
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)วิทยาลัยเทคนิคสุโขทัย
 
Anon ict
Anon ictAnon ict
Anon ictAnon
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์GRimoho Siri
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ARAM Narapol
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1อรยา ม่วงมนตรี
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์Mind's Am'i
 

What's hot (18)

ระบบการสื่อสารข้อมูล
  ระบบการสื่อสารข้อมูล  ระบบการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายบทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)
 
Anon ict
Anon ictAnon ict
Anon ict
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

Similar to เครือข่าย

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ B
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Bเครือข่ายคอมพิวเตอร์ B
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ BMontita Kongmuang
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28sawalee kongyuen
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบญจมาศ คงดี
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Benjamas58
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
  เครือข่ายคอมพิวเตอร์  เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Sun ZaZa
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบญจมาศ คงดี
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์I'Tay Tanawin
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์I'Tay Tanawin
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์I'Tay Tanawin
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์I'Tay Tanawin
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์I'Tay Tanawin
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์I'Tay Tanawin
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์KachonsakBunchuai41
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27sawalee kongyuen
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Buzzer'Clup Her-Alone
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Buzzer'Clup Her-Alone
 
การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1Tharathep Chumchuen
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์Wannapaainto8522
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลsawalee kongyuen
 

Similar to เครือข่าย (20)

รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ B
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Bเครือข่ายคอมพิวเตอร์ B
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ B
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
  เครือข่ายคอมพิวเตอร์  เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 

เครือข่าย

  • 1. รายงาน เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทาโดย นางสาว นรากร ชัยภักดี ชั้นม.4/3 เลขที่ 13 เสนอ อาจารย์จุฑารัตน์ ใจบุญ โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์ อาเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
  • 2. คานา รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา คอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จัดทาขึ้นเพื่อศึกษา ค้นคว้าเกี่ยวกับเรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่จะเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันเพื่อการติดต่อสื่อสาร ซึ่ง ข้อมูลต่างๆ อาจเป็นทั้งข้อความ รูปภาพ เสียง ก่อให้เกิดความสะดวก รวดเร็วแก่ผู้ใช้ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่าง ยิ่งว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้ที่สนใจได้ไม่มากก็น้อย หากมีข้อผิดพลาดประการใดผู้จัดทาต้องขออภัยมา ณ โอกาสนี้ด้วย จัดทาโดย นางสาวนรากร ชัยภักดี
  • 4. เครือข่ายคอมพิวเตอร์ การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและความสาคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับการใช้งาน อย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านั้นถึงกับเพื่อเพิ่มขีดความสามารถของ ระบบให้สูงขึ้น เพิ่มการใช้งานด้านต่าง ๆ และลดต้นทุนระบบโดยรวมลง มีการแบ่งใช้งานอุปกรณ์และ ข้อมูลต่าง ๆ ตลอดจนสามารถทางานร่วมกันได้ สิ่งสาคัญที่ทาให้ระบบข้อมูลมีขีดความสามารถเพิ่มขึ้น คือ การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกัน และการ เชื่อมต่อหรือการสื่อสาร การโอนย้ายข้อมูลหมายถึงการนาข้อมูลมาแบ่งกันใช้งาน หรือการนาข้อมูลไปใช้ ประมวลผลในลักษณะแบ่งกันใช้ทรัพยากร เช่น แบ่งกันใช้ซีพียู แบ่งกันใช้ฮาร์ดดิสก์ แบ่งกันใช้โปรแกรม และแบ่งกันใช้อุปกรณ์อื่น ๆ ที่มีราคาแพงหรือไม่สามารถจัดหาให้ทุกคนได้ การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็น เครือข่ายจึงเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานให้กว้างขวางและมากขึ้นจากเดิม การเชื่อมต่อในความหมายของระบบเครือข่ายท้องถิ่น ไม่ได้จากัดอยู่ที่การเชื่อมต่อระหว่างเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์ แต่ยังรวมไปถึงการเชื่อมต่ออุปกรณ์รอบข้าง เทคโนโลยีที่ก้าวหน้าทาให้การทางาน เฉพาะมีขอบเขตกว้างขวางยิ่งขึ้น มีการใช้เครื่องบริการแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บรวบควมแฟ้มข้อมูลต่างๆ มีการ ทาฐานข้อมูลกลาง มีหน่วยจัดการระบบสือสารหน่วยบริการใช้เครื่องพิมพ์ หน่วยบริการการใช้ซีดี หน่วย บริการปลายทาง และอุปกรณ์ประกอบสาหรับต่อเข้าในระบบเครือข่ายเพื่อจะทางานเฉพาะเจาะจงอย่างใด อย่างหนึ่ง ในรูป เป็นตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่จัดกลุ่มเชื่อมโยงเป็นระบบ ตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่จัดกลุ่มอุปกรณ์รอบข้างเชื่อมโยงเป็นระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ก่อให้เกิดความสามารถในการปฎิบัติการร่วมกัน ซึ่งหมายถึงการให้อุปกรณ์ ทุกชิ้นที่ต่ออยู่บนเครือข่ายทางานร่วมกันได้ทั้งหมดในลักษณะที่ประสานรวมกัน โดยผู้ใช้เห็นเสมือนใช้ งานในอุปกรณ์เดียวกัน จึงเป็นวิธีการในการนาเอาอุปกรณ์ต่างชนิดจานวนมาก มารวมกันเป็นเสมือนระบบ เดียวกัน ทั้ง ๆ ที่อุปกรณ์เหล่านั้นอาจจะมาจากต่างยี่ห้อ ต่างบริษัท ก็ได้
  • 5. ความหมายของระบบเครือข่าย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ( Computer Network) หมายถึงการนาเครื่องคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อ เข้าด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่อสารข้อมูล เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ และการใช้ทรัพยากรของระบบร่วมกัน (Shared Resource) ในเครือข่ายนั้น รูปแสดงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีองค์ประกอบที่สาคัญ เพื่อการเชื่อมต่อเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ได้แก่ คอมพิวเตอร์แม่ข่าย ( File Server) ช่องทางการสื่อสาร ( Communication Chanel) สถานีงาน (Workstation or Terminal) และ อุปกรณ์ในเครือข่าย (Network Operation System) คอมพิวเตอร์แม่ข่าย คอมพิวเตอร์แม่ข่าย หมายถึงคอมพิวเตอร์ ที่ทาหน้าที่เป็นผู้ให้บริการทรัพยากร ( Resources) ต่าง ๆ ซึ่งได้แก่ หน่วยประมวลผล หน่วยความจา หน่วยความจาสารอง ฐานข้อมูล และ โปรแกรมต่าง ๆ เป็นต้น ในระบบเครือข่ายท้องถิ่น ( LAN) มักเรียกว่าคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ในระบบเครือข่ายระยะไกล ที่ใช้ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หรือ มินิคอมพิวเตอร์เป็นศูนย์กลางของเครือข่าย เรานิยมเรียกว่า Host Computer และ เรียกเครื่องที่รอรับบริการว่าลูกข่ายหรือสถานีงาน ช่องทางการสื่อสาร ช่องทางการสื่อสาร หมายถึง สื่อกลางหรือเส้นทางที่ใช้เป็นทางผ่าน ในการรับส่งข้อมูล ระหว่าง ผู้รับ (Receiver) และผู้ส่งข้อมูล ( Transmitter) ปัจจุบันมีช่องทางการสื่อสาร สาหรับการเชื่อมต่อเครือข่าย คอมพิวเตอร์มีหลายประเภทคือ สายโทรศัพท์แบบสายคู่ตีเกลียวไม่มีฉนวนหุ้ม ( UTP) สายคู่ตีเกลียว แบบมี ฉนวนหุ้ม (STP) สายโคแอคเชียล สายใยแก้วนาแสง คลื่นไมโครเวป และดาวเทียม เป็นต้น
  • 6. รูปแสดงช่องทางการสื่อสารโดยใช้จานรับดาวเทียม สถานีงาน สถานีงาน (Workstation or Terminal) หมายถึง อุปกรณ์หรือเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่อ กับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทาหน้าที่เป็นสถานีปลายทางหรือสถานีงาน ที่ได้รับการบริการจากเครื่อง คอมพิวเตอร์แม่ข่าย เรียกว่าเป็นคอมพิวเตอร์ลูกข่าย (Workstation) ในระบบเครือข่ายระยะใกล้ มักมีหน่วย ประมวลผล หรือซีพียูของตนเอง ในระบบที่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรม เป็นศูนย์กลาง เรียกสถานี ปลายทางว่าเทอร์มินอล (Terminal) ประกอบด้วยจอภาพและแป้นพิมพ์เท่านั้น ไม่มีหน่วยประมวลกลางของ ตัวเอง ต้องใช้หน่วยประมวลผลของคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางหรือ Host อุปกรณ์ในเครือข่าย การ์ดเชื่อมต่อเครือข่าย ( Network Interface Card :NIC) หมายถึง แผงวงจรสาหรับ ใช้ในการ เชื่อมต่อสายสัญญาณของเครือข่าย ติดตั้งไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นเครื่องแม่ข่าย และเครื่องที่เป็นลูก ข่าย หน้าที่ของการ์ดนี้คือแปลงสัญญาณจากคอมพิวเตอร์ส่งผ่านไปตามสายสัญญาณ ทาให้คอมพิวเตอร์ใน เครือข่ายแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกันได้ รูปแสดงการ์ดเชื่อมต่อเครือข่าย
  • 7. องค์ประกอบของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โมเด็ม ( Modem : Modulator Demodulator)หมายถึง อุปกรณ์สาหรับการแปลงสัญญาณดิจิตอล (Digital) จากคอมพิวเตอร์ด้านผู้ส่ง เพื่อส่งไปตามสายสัญญาณข้อมูลแบบอนาลอก( Analog) เมื่อถึง คอมพิวเตอร์ด้านผู้รับ โมเด็มก็จะทาหน้าที่แปลงสัญญาณอนาลอก ให้เป็นดิจิตอลนาเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อทาการประมวลผล โดยปกติจะใช้โมเด็มกับระบบเครือข่ายระยะไกล โดยการใช้สายโทรศัพท์เป็น สื่อกลาง เช่น เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นต้น รูปแสดงการใช้โมเด็มในการติดต่อเครือข่ายระยะไกล ฮับ ( Hub)คือ อุปกรณ์เชื่อมต่อที่ใช้เป็นจุดรวม และ แยกสายสัญญาณ เพื่อให้เกิดความสะดวก ใน การเชื่อมต่อของเครือข่ายแบบดาว ( Star) โดยปกติใช้เป็นจุดรวมการเชื่อมต่อสายสัญญาณระหว่าง File Server กับ Workstation ต่าง ๆ แสดงฮับที่ใช้เป็นจุดเชื่อมต่อและจุดแยกของสาย ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่ทาหน้าที่ จัดการระบบเครือข่ายของ คอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่ออยู่กับเครือข่าย สามารถติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ ทาหน้าที่จัดการด้านการรักษาความปลอดภัย ของระบบเครือข่าย และยังมี หน้าที่ควบคุม การนาโปรแกรมประยุกต์ ด้านการติดต่อสื่อสาร มาทางานในระบบเครือข่ายอีกด้วย นับว่า ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย มีความสาคัญต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างยิ่ง ตัวอย่าง ซอฟต์แวร์
  • 8. ประเภทนี้ได้แก่ ระบบปฏิบัติการ Windows NT , Linux , Novell Netware , Windows XP ,Windows 2000 , Solaris , Unix เป็นต้น แสดงซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (TOPOLOGY) การนาเครื่องคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อกันเพื่อประโยชน์ของการสื่อสารนั้น สามารถกระทาได้หลาย รูปแบบ ซึ่งแต่ละแบบก็มีจุดเด่นที่แตกต่างกันไป โดยทั่วไปแล้วโครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สามารถจาแนกตามลักษณะของการเชื่อมต่อดังต่อไปนี้ 1. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบบัส ( bus topology)จะประกอบด้วย สายส่งข้อมูลหลัก ที่ใช้ ส่งข้อมูลภายในเครือข่าย เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง จะเชื่อมต่อเข้ากับสายข้อมูลผ่านจุดเชื่อมต่อ เมื่อมี การส่งข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่องพร้อมกัน จะมีสัญญาณข้อมูลส่งไปบนสายเคเบิ้ล และมี การแบ่งเวลาการใช้สายเคเบิ้ลแต่ละเครื่อง ข้อดีของการเชื่อมต่อแบบบัส คือ ใช้สื่อนาข้อมูลน้อย ช่วยให้ ประหยัดค่าใช้จ่าย และถ้าเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งเสียก็จะไม่ส่งผลต่อการทางานของระบบ โดยรวม แต่มีข้อเสียคือ การตรวจจุดที่มีปัญหา กระทาได้ค่อนข้างยาก และถ้ามีจานวนเครื่องคอมพิวเตอร์ใน เครือข่ายมากเกินไป จะมีการส่งข้อมูลชนกันมากจนเป็นปัญหา 2. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบวงแหวน ( ring topology)มีการเชื่อมต่อระหว่างเครื่อง คอมพิวเตอร์โดยที่แต่ละการเชื่อมต่อจะมีลักษณะเป็นวงกลม การส่งข้อมูลภายในเครือข่ายนี้ก็จะเป็นวงกลม ด้วยเช่นกัน ทิศทางการส่งข้อมูลจะเป็นทิศทางเดียวกันเสมอ จากเครื่องหนึ่งจนถึงปลายทาง ในกรณีที่มี เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งขัดข้อง การส่งข้อมูลภายในเครือข่ายชนิดนี้จะไม่สามารถทางาน
  • 9. ต่อไปได้ ข้อดีของโครงสร้าง เครือข่ายแบบวงแหวนคือ ใช้สายเคเบิ้ลน้อย และถ้าตัดเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ เสียออกจากระบบ ก็จะไม่ส่งผลต่อการทางานของระบบเครือข่ายนี้ และจะไม่มีการชนกันของข้อมูลที่แต่ละ เครื่องส่ง 3. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบดาว (star topology)ภายในเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะต้องมีจุก ศูนย์กลางในการควบคุมการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ หรือ ฮับ ( hub) การสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ ต่างๆ จะสื่อสารผ่านฮับก่อนที่จะส่งข้อมูลไปสู่เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ โครงสร้างเครือข่าย คอมพิวเตอร์ แบบดาวมีข้อดี คือ ถ้าต้องการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เครื่องใหม่ก็สามารถทาได้ง่ายและไม่ กระทบต่อเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ ในระบบ ส่วนข้อเสีย คือ ค่าใช้จ่ายในการใช้สายเคเบิ้ลจะค่อนข้างสูง และเมื่อฮับไม่ทางาน การสื่อสารของคอมพิวเตอร์ทั้งระบบก็จะหยุดตามไปด้วย
  • 10. การรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งเป็น 2 ประเภทหลัก ได้แ ก่การรับส่งข้อมูล แบบใช้สายและการรับส่งข้อมูลแบบไร้สาย ดังนี้ การรับส่งข้อมูลแบบใช้สาย การส่งข้อมูลแบบใช้สาย แบ่งออกตามชนิดของสายสื่อสารได้ 3 ชนิด ดังนี้ 1.) สายตีเกลียวคู่ ประกอบด้วยเส้นทองแดง 2 เส้นที่หุ้มด้วยฉนวนพลาสติก พันบิดกันเป็นเกลียว เพื่อลดการบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า จากสายข้างเคียงภายในเคเบิลเดียวกันหรือจากภายนอกเนื่องจาก สายตีเกลียวคู่นี้ยอมให้สัญญาณไฟฟ้าความถี่สูงผ่านได้สาหรับอัตราการส่งข้อมูลผ่านสายตีเกลียวคู่จะขึ้นอยู่ กับความหนาของสาย คือสายทองแดงที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางกว้าง จะสามารถส่งสัญญาณไฟฟ้ากาลังแรงได้ ทาให้ส่งข้อมูลได้อัตราเร็วสูง โดยทั่วไปใช้สาหรับการส่งข้อมูลแบบดิจิทัลสามารถส่งได้ถึง 100 เมกะบิตต่อ วินาที ในระยะทางไม่เกินร้อยเมตรเนื่องจากมีราคาไม่แพงมาก ใช้ส่งข้อมูลได้ดีจึงมีการใช้งานอย่าง กว้างขวางสายตีเกลียวคู่มี 2 ชนิด ดังนี้ 1.1) สายเกลียวคู่แบบไม่ป้องกันสัญญาณรบกวนหรือชนิดไม่หุ้มฉนวน ( Un-shielded Twisted Pair : UTP)เป็นสายตีเกลียวคู่ที่ไม่มีฉนวนชั้นนอกทาให้สะดวกในการโค้งงอแต่สามารถ ป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้น้อยกว่าสายตีเกลียวคู่ชนิดหุมฉนวน ( STP) ใช้ใน ระบบวงจรโทรศัพท์แบบดั้งเดิมปัจจุบันมีการปรับคุณสมบัติให้ดีขึ้น สามารถใช้กับสัญญาณความถี่ สูงได้และเนื่องจากมีราคาสูงจึงนิยมใช้ในการเชื่อมต่ออุปกรณ์ในเครือข่าย 1.2) สายตีเกลียวคู่แบบป้องกันสัญญาณรบกวนหรือชนิดหุ้มฉนวน ( Shielded Twisted Pair : STP) เป็นสายตีเกลียวคู่ที่ชั้นนอกหุ้มด้วยลวดถักที่หนาเพื่อป้องกันการรบกวนของคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้ารองรับความถี่ของการส่งข้อมูลได้สูงกว่าสายตีเกลียวคู่แบบไม่ป้องกันสัญญาณ รบกวน แต่มีราคาแพงกว่า 2. สายโคแอกซ์ ( coaxial cable)มีลักษณะเช่นเดียวกับสายที่ต่อมาจากเสาอากาศประกอบด้วย ลวดทองแดงที่เป็นแกนหลักหุ้มด้วยฉนวนชั้นหนึ่ง เพื่อป้องกันกระแสไฟฟ้ารั่วจากนั้นจะหุ้มด้วยตัวนาซึ่ง ทาจากลวดทองแดงถักเป็นเปียเพื่อป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และสัญญาณรบกวนอื่นๆ ก่อนจะหุ้มด้วยฉนวนพลาสติกสัญญาณไฟฟ้าสามารถผ่านได้สูงมากนิยมใช้เป็นช่องสื่อสารสัญญาณ เชื่อมโยงผ่านใต้ทะเลและใต้ดินสายโคแอกซ์ที่ใช้ทั่วไปมี 2 ชนิด คือ 50 โอห์มซึ่งใช้ส่งข้อมูลสัญญาณดิจิทัล และชนิด 75 โอห์มซึ่งใช้ส่งข้อมูลสัญญาณอะนาล็อก 3. สายใยแก้วนาแสง (fiber optic cable)หรือเส้นใยแก้วนาแสงแกนกลางของสายประกอบด้วยเส้น ใยแก้วหรือเส้นพลาสตกขนาดเล็กภายในกลวงหลายๆเส้น อยู่รวมกัน เส้นใยแต่ละเส้นมีขนาดเล็กประมาณ เส้นผมของมนุษย์เส้นใยแต่ละเส้นห่อหุ้มด้วยเส้นใยอีกชนิดหนึ่งก่อนจะหุ้มชั้นนอกสุดด้วยฉนวนการส่ง
  • 11. ข้อมูลผ่านทางสื่อกลางชนิดนี้จะแตกต่างจากชนิดอื่นๆซึ่งจะใช้เลเซอร์วิ่งผ่านกลวงของเส้นใยแต่ละเส้นและ อาศัยหลักการหักเหของแสง โดยใช้เส้นใยชั้นนอกเป้นกระจกสะท้อนแสงสามารถส่งข้อมูลด้วยอัตราความ หนาแน่นของสัญญาณข้อมูลที่สูงมากและไม่มีการก่อกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทาให้สามารถส่งข้อมูลทั้ง ตัวอักษรภาพ กราฟิก เสียง หรือวีดิทัศน์ได้ในเวลาเดียวกันแต่ยังมีข้อเสียเนื่องจากการบิดงอของ สายสัญญาณจะทาให้เส้นใยหักจึงไม่สามารถใช้สื่อกลางนี้เดินทางตามมุมตึกได้ สายใยแก้ว นาแสงมีลี กษณะพิเศษที่ใช้สาหรับเชื่อมโยงแบบจุดไปจุดจึงเหมาะที่จะใช้กับการเชื่อมโยงระหว่างอาคารกับอาคาร หรือระหว่างเมืองกับเมือง การรับส่งข้อมูลแบบไร้สาย การส่งข้อมูลแบบไร้สายอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นสื่อกลางนาสัญญาณซึ่งสามารถแบ่งตามช่วง ความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้ 4 ชนิด ดังนี้ 1. อินฟราเรด (Intrared)เป็นลักษณะของคลื่นที่ใช้ในการส่งข้อมูลระยะใกล้ๆ ในช่วงความถี่ที่แคบ มากใช้ช่องทงสื่อสารน้อยมักใช้กับการสื่อสารข้อมูลที่ไม่มีสิ่งกีดขวางระหว่างตัวส่งกับตัวรับสัญญาณโดย ต้องใช้วิธีการสื่อสารตามแนวเส้นตรง ระยะทางไม่เกิน 1 – 2 เมตรความเร็วประมาณ 4 -16 เมกกะบิตต่อนาที เช่น การส่งสัญญาณจากรีโมตคอนโทรลไปยังโทรทัศน์ การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์สอง เครื่องโดยผ่านพอร์ตไออาร์ดีเอ เป็นต้น 2. คลื่นวิทยุ ( radio frequency) ใช้ส่งสัญญาณไปในอากาศ โดยมีตัวกระจายสัญญาณส่งไปยัง ตัวรับสัญญาณและใช้คลื่นวิทยุในช่วงความถี่ต่างๆ กัน มีความเร็วต่าประมาณ 2 เมกกะบิตต่อนาที เช่น การ สื่อสารในระบบวิทยุเอฟเอ็ม (Frequency Modulation : FM) เอเอ็ม (Amplitude Modulation : AM) การ สื่อสารโดยใช้ระบบไร้สายและบลูทูท 3. ไมโครเวฟ (microwave)จะใช้การส่งสัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไปในอากาศพร้อมกับข้อมูลที่ ต้องการส่งและต้องมีสถานีที่ทาหน้าที่ส่งและรับข้อมูลและเนื่องจากสัญญาณไมโครเวฟจะเดินทางเป็น เส้นตรงไม่สามารถเลี้ยวหรือโค้งตามขอบโลกได้ จึงต้องมีการตั้งสถานีรับ – ส่งข้อมูลเป็นระยะๆและส่ง ข้อมูลต่อกันเป็นทอดๆ ระหว่างสถานีต่อสถานี จนกว่าจะถึงสถานีปลายทางและแต่ละสถานีจะตั้งอยู่ในที่สูง เช่น ดาดฟ้าของตึกสูล ยอดเขา เป็นต้นเพื่อหลีกเลี่ยงการชนสิ่งกีดขวางในแนวการเดินทางของสัญญาณ เหมาะกับการส่งข้อมูลในพื้นที่ห่างไกล และทุรกันดาร 4. ดาวเทียม (satellite) เป็นสถานีรับส่งสัญญาณไมโครเวฟบนดาดฟ้าซึ่งได้รับการพัฒนาขึ้นมาเพื่อ หลีกเลียงข้อจากัดของสถานีรับ – ส่งไมโครเวฟบนผิวโลก เพื่อใช้เป็นสถานีรับ – ส่ง สัญญาณไมโครเวฟบน อวกาศและทวนสัญญาณในแนวโคจรของโลก ซึ่งจะต้องมีสถานีภาคพื้นดินทาหน้าที่รับและส่งสัญญาณขึ้น ไปบนดาวเทียมที่โคจรอยู่สูงจากพื้นโลกประมาณ 35,600 ไมล์โดยดาวเทียมเหล่านั้นจะเคลื่อนที่ด้วย ความเร็วที่เท่ากับการหมุนของโลกจึงเสมือนกับดาวเทียมนั้นอยู่นิ่งกับที่ขณะที่โลกหมุนรอบตัวเองทาให้
  • 12. การส่งสัญญาณไมโครเวฟจากสถานีหนึ่งขึ้นไปบนดาวเทียมและการกระจายสัญญาณจากดาวเทียมลงมายัง สถานีตามจุดต่างๆ บนผิวโลกเป็นไปอย่างแม่นยา ตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เมื่อเทคโนโลยีเครือข่ายได้รับการพัฒนาโดยเฉพาะมีการประยุกต์ใช้งานบนเครือข่ายอย่าง กว้างขวาง ทาให้เครือข่าย คอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่าย เดียวกัน เรียกว่า อินเทอร์เน็ต ขณะเดียวกันในองค์กรแต่ละองค์กร ก็มีการพัฒนาเครือข่ายของตนเองและ ประยุกต์ใช้กับงานเฉพาะในองค์กร เรียกว่าอินทราเน็ต ดังนั้น อินเทอร์เน็ตจึง แตกต่างจากอินทราเน็ต ตรงที่ขอบเขตของการเชื่อมโยง ส่วนมาตรฐานและวิธีการเชื่อมโยงยังคงเป็นมาตรฐานเดียวกัน 1 อินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตพัฒนามาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512 โดยกระทรวงกลาโหมประเทศสหรัฐอเมริกาให้ทุนกับ มหาวิทยาลัย ชั้นนาในสหรัฐฯ เพื่อเชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยเข้าเป็นเครือข่าย และใช้ ทรัพยากรเพื่อทางานวิจัย เกี่ยวกับการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ร่วมกัน ซึ่งสมัยแรกใช้ชื่อว่า อาร์ปา เน็ต และจึงมีการเปลี่ยนชื่อเป็น อินเทอร์เน็ตในภายหลัง เครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้รับการพัฒนาให้เป็น มาตรฐาน โดยมาตรฐานการรับส่งข้อมูลมีชื่อว่า ทีซีพี/ไอพี (TCP/IP) ต่อมามีการเชื่อมเครือข่ายออกสู่ องค์กรเอกชน และแพร่ขยายไปทั่วโลก เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ถือเป็นเครือข่ายของ เครือข่าย หมายความว่าในองค์กรได้สร้างเครือข่ายภายในตนเองขึ้นมา และนามาเชื่อมต่อสู่เครือข่าย สากล อินเทอร์เน็ตนี้ โดยมีการกาหนดตาแหน่งอุปกรณ์ด้วยรหัสหมายเลขที่เรียกว่า แอดเดรส ซึ่งอินเทอร์เน็ต กาหนดรหัสแอดเดรสเรียกว่า ไอพีแอดเดรส และถือเป็นรหัสสากลที่ไม่ซ้ากันเลย ไอพีแอดเดรสจะ ประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด โดยเน้นเป็นรหัสของเครือข่ายและรหัสของอุปกรณ์ เช่น รหัสแทนเครือข่ายของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ใช้รหัส 158.108 ส่วนรหัสของเครื่องจะมีอีกสองพิกัดตามมา เช่น 2.71 เมื่อ เขียนรวมกันจะได้ 158.108.2.71 เพื่อให้จดจาได้ง่ายจึงมีการตั้งชื่อคู่กับหมายเลข เราเรียกชื่อนี้ว่า โดเมน เช่นโดเมนของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ก็ ใช้ชื่อ ku.ac.th โดย th หมายถึงประเทศไทย ac หมายถึงสถาบันการศึกษา และ ku หมายถึง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ใน เครือข่ายหลายเครื่อง ก็ให้มีการตั้งชื่อเครื่องด้วย เช่น nontri เมื่อมีการเรียกรวมกันก็ จะ เป็น nontri.ku.ac.th การใช้ชื่อนี้ทาให้ใช้งานง่ายกว่าตัวเลข เมื่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเชื่อมโยงกันได้ทั่ว โลก ทาให้โลกไร้พรมแดน ข้อมูล ข่าวสารต่าง ๆ สามารถสื่อถึงได้อย่าง รวดเร็ว ตัวอย่างการใช้งานบน อินเทอร์เน็ตที่จะกล่าวต่อไปนี้เป็นเพียงตัวอย่างที่แพร่หลายและใช้กันมากเท่านั้น แต่ยังมีการใช้งานอื่น ๆ
  • 13. อีกมากที่ได้รับการพัฒนาขึ้นมาตลอดเวลา 1.การรับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นระบบการสื่อสารทางจดหมายผ่านคอมพิวเตอร์ ถ้าเราต้องการส่งข้อความถึงใครก็สามารถ เขียนเป็นเอกสาร แล้วจ่าหน้าซองที่อยู่ของผู้รับที่เรียกว่า แอดเดรส ระบบจะนาส่งให้ทันทีอย่าง รวดเร็ว ลักษณะของแอดเดรสจะเป็นชื่อรหัสผู้ใช้ และชื่อเครื่องประกอบ กัน เช่น sombat@nontri.ku.ac.th การติดต่อบนอินเทอร์เน็ตนี้ จะหาตาแหน่งให้เองโดยอัตโนมัติ และนา ส่งไปปลายทางได้อย่างถูกต้อง การรับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (email) กาลังเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย 2. การโอนย้ายแฟ้มข้อมูลระหว่างกัน เป็นระบบที่ทาให้ผู้ใช้สามารถรับส่งแฟ้มข้อมูลระหว่างกันหรือมีสถานีให้บริการ เก็บแฟ้มข้อมูลที่ อยู่ในที่ต่าง ๆ และให้บริการ ผู้ใช้สามารถเข้าไปคัดเลือกนาแฟ้มข้อมูลมาใช้ประโยชน์ได้ 3. การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในที่ห่างไกล การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ทาให้เราสามารถ เรียกหาเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นสถานี บริการใน ที่ห่างไกลได้ ผู้ใช้สามารถนาข้อมูลไปประมวลผลยังเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในเครือข่าย โดย ไม่ต้องเดินทางไปเอง 4. การเรียกค้นข้อมูลข่าวสาร ปัจจุบันมีฐานข้อมูลที่เก็บไว้ให้ใช้งานจานวนมาก ฐานข้อมูลบางแห่งเก็บข้อมูลในรูปสิ่งพิมพ์ อิเล็กทรอนิกส์ที่ผู้ใช้สามารถ เรียกอ่าน หรือนามาพิมพ์ ลักษณะการเรียกค้นนี้จึงมีลักษณะเหมือนเป็น ห้องสมุดขนาดใหญ่อยู่ภายในเครือข่าย ที่สามารถค้นหาข้อมูลใด ๆ ก็ได้ ฐานข้อมูล ในลักษณะนี้เรียกว่า เครือข่ายใยแมงมุมครอบคลุมทั่วโลก(World Wide Web : WWW) เป็นฐานข้อมูลที่เชื่อมโยงกันทั่วโลก 5. การอ่านจากกลุ่มข่าว ภายในอินเทอร์เน็ตมีกลุ่มข่าวเป็นกลุ่ม ๆ แยกตามความสนใจ แต่ละกลุ่มข่าว อนุญาตให้ผู้ใช้ อินเทอร์เน็ตส่งข้อความ ลงไปได้ และหากมีผู้ต้องการเขียนโต้ตอบก็สามารถเขียนตอบได้ กลุ่มข่าวนี้จึง
  • 14. แพร่หลายกระจายข่าวได้รวดเร็ว 6. การสนทนาบนเครือข่าย เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นตัวกลาง ในการติดต่อสนทนากันได้ ในยุคแรกใช้วิธีการสนทนาเป็น ตัวหนังสือ ต่อมา พัฒนาให้ใช้เสียงได้ ปัจจุบันถ้าระบบสื่อสารมีความเร็วพอก็สามารถสนทนาโดยที่เห็น หน้ากันและกันบนจอภาพได้ 7. การบริการสถานีวิทยุและโทรทัศน์บนเครือข่าย ปัจจุบันมีผู้ตั้งสถานีวิทยุบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหลายร้อยสถานี ผู้ใช้สามารถเลือกสถานที่ ต้องการและได้ยินเสียงเหมือน การเปิดฟังวิทยุ ขณะเดียวกันก็มีการส่งกระจายภาพวีดิโอบนเครือข่ายด้วย 2 อินทราเน็ต เมื่ออินเทอร์เน็ตได้รับการพัฒนามาจนเป็นที่ยอมรับและแพร่หลาย จึงมีผู้ต้องการสร้างเครือข่ายใช้ งานเฉพาะในองค์กร โดยนาวิธีการในอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้กับเครือข่ายของตนเอง เครือข่ายที่ใช้งาน เฉพาะในองค์การนี้จึงเรียกว่า เครือข่ายอินทราเน็ต การประยุกต์ใช้บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตใช้หลักการที่ มีสถานีให้บริการ และสถานีผู้ใช้บริการ สถานีผู้ใช้บริการมีโปรแกรมเชื่อมต่อที่ทาให้ใช้งานระบบ ฐานข้อมูลได้ง่าย อินทราเน็ตจึงใช้วิธีการเดียวกันนี้ เพราะทาให้ผู้ใช้ไม่ต้องเสียเวลาในการเรียนรู้การ พัฒนาขึ้น และพร้อมที่จะเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต
  • 15. อ้างอิง http://onatcha46203.blogspot.com/2012/06/blog-post_4944.html .11 ธันวาคม 2556. http://www.school.net.th/library/snet1/hardware/network.html. 11 ธันวาคม 2556.