SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน “การสกัดสารจิบเบอเรลลินจากหัวไชเท้าเพื่อใช้เร่งการเจริญเติบโตของต้นพืช”
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นาย ชนกันต์ กองคา เลขที่ 15 ชั้น ม.6 ห้อง 8
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .……
นาย ชนกันต์ กองคา เลขที่ 15
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
การสกัดสารจิบเบอเรลลินจากหัวไชเท้าเพื่อใช้เร่งการเจริญเติบโตของต้นพืช
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Extraction of gibberellin from radishes to accelerate plant growth.
ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ชนกันต์ กองคา
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม -
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ในประเทศไทยมีประชากรจานวนมากประกอบอาชีพเกษตรกร จากการที่ได้สังเกตถึงปัญหาที่เกิดขึ้นใน
การเกษตรก็มีเหตุเนื่องมาจากในปัจจุบันมีจานวนประชากรเพิ่มมากขึ้นและปัญหาในช่วงฤดูที่แห้งแล้ง เกษตรกร
มักพบปัญหาที่พืชของตนเองให้ผลผลิตหรือเจริญเติบโตช้าและไม่เพียงพอต่อจานวนผู้บริโภคทาให้เกษตรกรขาด
โอกาสในการจาหน่ายผลผลิตของตนเอง จากการที่ผู้ศึกษาได้เจอสารที่อยู่ในพืชชนิดหนึ่งที่เรียกว่า จิบเบอเรลลิน
ซึ่งเป็นสารจากธรรมชาติเช่น สารที่อยู่ในหัวไชเท้า เป็นสารที่อยู่ในพืชที่สามารถทาให้พืชเจริญเติบโตได้เร็วยิ่งขึ้น
ผู้ศึกษาจึงได้จัดทาการสกัดจิบเบอเรลลินจากพืชเพื่อเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของพืชที่ได้รับสารจิบเบอเรลลิน
และไม่ได้รับสารจิบเบอเรลลิน เพื่อนาไปพัฒนาต่อยอดให้กับเกษตรกรในอนาคตและลดการใช้สารเคมีในพืช
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อลดปัญหาของการเจริญเติบโตช้าของต้นพืช
2.เพื่อลดปัญหาของเศรษฐกิจและเกษตรกร
3.มุ่งเน้นให้สารสกัดจากธรรมชาติแทนสารเคมี
3
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ทาการทดลองโดยการใช้สารจิบเบอเรลลินที่สกัดจากหัวไชเท้ามาฉีดให้กับต้นพืชแล้วทาการเปรียบเทียบ
ระหว่างต้นที่ฉีดกับไม่ได้ฉีดเพื่อดูการเปลี่ยนแปลงหรือการเจริญเติบโต
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
จิบเบอเรลลิน (Gibberellin)
เป็นฮอร์โมนพืชที่มีโครงสร้างโมเลกุลขนาดใหญ่ ควบคุมการเจริญเติบโตและมีอิทธิพลต่อกระบวนการทาง
พัฒนาการรวมทั้งการยืดของข้อ การงอก การพักตัว การออกดอก การแสดงเพศ การชักนาการสร้างเอนไซม์ รวมทั้ง
การชราของดอกและผล จิบเบอเรลลินถูกค้นพบครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2469 โดยนักวิทยาศาสตร์ชาวญี่ปุ่น Eiichi
Kurosawa ผู้ศึกษาโรคบากาเนะในข้าว เริ่มจากการศึกษาต้นข้าวที่เป็นโรค Bakanae ซึ่งมีลักษณะสูง ผอม เกิดจาก
เชื้อรา Gibberella fujikuroiและถูกสกัดออกมาเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2478 โดยTeijiro Yabuta จากเชื้อรา G.
fujikuroi เมื่อสกัดสารที่เชื้อรานี้สร้างขึ้นไปทดสอบกับพืชชนิดอื่น พบว่าทาให้พืชนั้นๆมีอาการอย่างเดียวกันคือต้น
ผอม สูง จึงตั้งชื่อสารที่พบนี้ว่าจิบเบอเรลลิน สารที่พบชนิดแรกตั้งชื่อว่าจิบเบอเรลลินต่อมามีการพบอนุพันธ์ของกรด
จิบเบอเรลลิกจากราอีกหลายชนิด รวมทั้งในพืช ใน พ.ศ. 2546 พบจิบเบอเรลลินแล้ว 126 ชนิดทั้งที่แยกได้จากพืช
รา และแบคทีเรีย
คุณลักษณะทางเคมีและการสังเคราะห์
จิบเบอเรลลินเป็นสารกลุ่มไดเทอร์พีนอยด์ที่สังเคราะห์โดยวิถีเทอร์พีนอยด์ในพลาสติดแล้วจึงเปลี่ยนรูปใน
เอนโดพลาสมิก เรกติคิวลัมและไซโตซอลจนได้รูปที่ออกฤทธิ์ในสิ่งมีชีวิตได้ จิบเบอเรลลินทั้งหมดมีโครงสร้างหลักเป็น
ent-gibberellane ที่สังเคราะห์มาจาก ent-kaurene การสังเคราะห์จิบเบอเรลลินในพืชชั้นสูงเริ่มจากสร้าง
Geranylgeranyl diphosphate (GGDP) ซึ่งเป็นสารตั้งต้นของสารกลุ่มดีเทอร์พีนอยด์โดยทั่วไป จากนั้นจึงเปลี่ยน
GGDP ไปเป็น ent-kaurene แล้วจึงเปลี่ยนเป็น GA12 แล้วจึงเปลี่ยนต่อไปเป็นจิบเบอเรลลินตัวอื่นๆ จิบเบอเรลลิ
นเป็นอนุพันธ์ของกรดจิบเบอเรลลิก(Gibberellic acid) จัดเป็นสารกลุ่มดีเทอร์พีนอยด์ (Diterpenoid) ปัจจุบันพบ
แล้วมากกว่า 80 ชนิด
การออกฤทธิ์ทางสรีรวิทยาที่สาคัญของจิบเบอเรลลินได้แก่
1. กระตุ้นการขยายตัวของเซลล์ โดยการเพิ่มความยืดหยุ่นของผนังเซลล์ ทาให้เซลล์มีรูปร่างยืดยาวขึ้น
2. กระตุ้นการเจริญของรากโดยเฉพาะการเจริญของรากแรกเกิด (Radicle) รากต้องการจิบเบอเรลลินใน
ปริมาณที่น้อยกว่าลาต้น เช่นรากต้องการ GA3 ในระดับนาโนโมลาร์ แต่ยอดต้องการในระดับไมโครโมลาร์
3. จิบเบอเรลลินมีผลต่อพัฒนาการของดอกโดยเฉพาะพัฒนาการของก้านชูเกสรตัวผู้และกลีบดอก บริเวณที่มี
การสร้างจิบเบอเรลลินมากในดอกคือผนังของอับละอองเรณูและในละอองเรณู การสร้างจิบเบอเรลลินในอับ
ละอองเรณูนี้จะควบคุมพัฒนาการของดอกทั้งหมด
4. กระตุ้นการติดผล ในพืชหลายชนิด เช่น ส้ม มะเขือเทศ องุ่น การได้รับจิบเบอเรลลินช่วยให้เกิดการติดผลโดย
ไม่ต้องผสมเกสรได้
4
5. กระตุ้นการงอกของเมล็ด แสงสีแดงกระตุ้นการงอกของเมล็ดได้โดยกระตุ้นให้มีการสร้างจิบเบอเรลลินมา
กขึ้น และส่งผลต่อการตอบสนองของเนื้อเยื่อต่อจิบเบอเรลลิน พืชบางชนิดเช่น Arabidopsis และ
ผักกาดหอมซึ่งต้องการแสงสว่างในการงอก การเพิ่มจิบเบอเรลลินจะส่งผลต่อการงอกของพืชเหล่านี้
เช่นเดียวกับการได้รับแสงสว่าง
6. การเปลี่ยนเพศดอก จิบเบอเรลลินช่วยทาให้พืชตระกูลแตงหรือพืชที่แยกดอกตัวผู้และดอกตัวเมีย เกิดดอก
ตัวผู้มากขึ้นได้ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงพันธุ์พืช
7. การกระตุ้นการพักตัวของพืช จิบเบอเรลลินช่วยทาลายระยะพักตัวของพืชทั้งการพักตัวของตาและเมล็ด โดย
ข่มฤทธิ์ของ ABA ซึ่งทาให้เกิดระยะพักตัว
8. หลังการงอก จิบเบอเรลลินสนับสนุนการยืดตัวของข้อและการแผ่ขยายของใบ
9. กระตุ้นการทางานของแคมเบียมในพืชหลายชนิด เช่น แอพริคอด บีโกเนีย และมันฝรั่ง
10. ควบคุมให้พืชอยู่ในสภาวะอ่อนวัย เช่นการทาให้ใบของ Hedera helix คงอยู่ในสภาพของใบในระยะอ่อนวัย
ซึ่งมีความสวยงามกว่าใบในระยะเต็มวัยพร้อมสืบพันธุ์ได้
11. กระตุ้นการออกดอก การได้รับจิบเบอเรลลินสามารถทดแทนความต้องการช่วงแสงยาวในช่วงกลางวันของ
พืชวันยาว และความต้องการความหนาวเย็นก่อนออกดอกของพืชได้
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
-ผลของจิบเบอเรลลินต่อการชะลอการออกดอกของสับปะรด
โดย สันติ ช่างเจรจา, ยุทธนา เขาสุเมรุ ,ชิติ ศรีตนทิพย์ และ รุ่งนภา ช่างเจรจา
ทาการศึกษาระดับความเข้มข้นของสารจิบเบอเรลลินต่อการชะลอการออกดอกของสับปะรดพันธุ์ปัตตาเวีย
หลังกระตุ้นด้วยสารเอทธิลีน สถานที่ทดลอง แปลงสับปะรด สถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรลาปาง อ. เมือง จ.
ลาปาง โดยกาหนดระดับความเข้มข้นของสารจิบเบอเรลลิน 3 ระดับ คือ 10 20 และ 40 ppm เปรียบเทียบกับต้น
กระตุ้นด้วยสารเอทธิลีนและต้นปกติ (control) ให้สารโดยการพ่นทางใบกับต้นสับปะรดอายุ 8 เดือนหลังปลูก บันทึก
ผลการทดลองหลังพ่นสารทุกสัปดาห์ต่อเนื่อง 6 สัปดาห์ พบว่า การพ่นสารจิบเบอเรลลินมีแนวโน้มให้อัตราการเจริญ
ด้านความยาวของใบชุดเก่าและใบชุดใหม่เพิ่มสูงกว่าต้นพ่นสารเอทธิลีนและไม่พ่นสาร การให้สารจิบเบอเรลลินที่
ระดับความเข้มข้น 20 ppm มีจานวนวันที่ใช้ในการออกดอกมากที่สุด
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
งบประมาณ
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
5
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
สถานที่ดาเนินการ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

More Related Content

What's hot

การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1Nuttida Meepo
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project DT_sim
 
ใบงานท 6
ใบงานท   6ใบงานท   6
ใบงานท 62793233922
 
2561 project 607-18
2561 project  607-182561 project  607-18
2561 project 607-18jeerasak1210
 
2560 project .pdf1
2560 project .pdf12560 project .pdf1
2560 project .pdf1achirayaRchi
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Jeejii Believe
 
23 jutamart โครงรางงานคอม
23 jutamart โครงรางงานคอม23 jutamart โครงรางงานคอม
23 jutamart โครงรางงานคอมjutamart muemsittiprae
 
งานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟันงานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟันOporfunJubJub
 
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์THEPHIM
 
ผักออร์เเกนิก
ผักออร์เเกนิกผักออร์เเกนิก
ผักออร์เเกนิกladyingviolet
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Panpreeya Kawturn
 

What's hot (20)

การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
ใบงานท 6
ใบงานท   6ใบงานท   6
ใบงานท 6
 
Comm
CommComm
Comm
 
Com
ComCom
Com
 
2561 project 607-18
2561 project  607-182561 project  607-18
2561 project 607-18
 
2560 project .pdf1
2560 project .pdf12560 project .pdf1
2560 project .pdf1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
23 jutamart โครงรางงานคอม
23 jutamart โครงรางงานคอม23 jutamart โครงรางงานคอม
23 jutamart โครงรางงานคอม
 
605 15projectcom
605 15projectcom605 15projectcom
605 15projectcom
 
งานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟันงานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟัน
 
Good life if no fat
Good life if no fatGood life if no fat
Good life if no fat
 
2560 project 20
2560 project 202560 project 20
2560 project 20
 
งานโก๋
งานโก๋งานโก๋
งานโก๋
 
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ผักออร์เเกนิก
ผักออร์เเกนิกผักออร์เเกนิก
ผักออร์เเกนิก
 
11111
1111111111
11111
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 

Similar to โครงร่างโครงงาน ชนกันต์

โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่ทาม ได้ไหมดาว
 
มะพร้าวลดน้ำหนัก
มะพร้าวลดน้ำหนักมะพร้าวลดน้ำหนัก
มะพร้าวลดน้ำหนักWi Nit
 
โครงร่างโครงงาน 35
โครงร่างโครงงาน 35โครงร่างโครงงาน 35
โครงร่างโครงงาน 35Paramet Vee
 
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์omaha123
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project jetaimej_
 
มะพร้าวววววว
มะพร้าววววววมะพร้าวววววว
มะพร้าววววววWi Nit
 
เป็ด
เป็ดเป็ด
เป็ดxQler
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์NatpaphatYRC
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานKittinan42
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง0910797083
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง0910797083
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง0910797083
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง0910797083
 
โรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์โรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์chadapatpaenthai
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5Kittinan42
 

Similar to โครงร่างโครงงาน ชนกันต์ (20)

โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
 
มะพร้าวลดน้ำหนัก
มะพร้าวลดน้ำหนักมะพร้าวลดน้ำหนัก
มะพร้าวลดน้ำหนัก
 
Yoga
YogaYoga
Yoga
 
โครงร่างโครงงาน 35
โครงร่างโครงงาน 35โครงร่างโครงงาน 35
โครงร่างโครงงาน 35
 
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
มะพร้าวววววว
มะพร้าววววววมะพร้าวววววว
มะพร้าวววววว
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
เป็ด
เป็ดเป็ด
เป็ด
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
 
Save wolrd
Save wolrdSave wolrd
Save wolrd
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
โรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์โรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5
 

โครงร่างโครงงาน ชนกันต์

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน “การสกัดสารจิบเบอเรลลินจากหัวไชเท้าเพื่อใช้เร่งการเจริญเติบโตของต้นพืช” ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ชนกันต์ กองคา เลขที่ 15 ชั้น ม.6 ห้อง 8 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม .…… นาย ชนกันต์ กองคา เลขที่ 15 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) การสกัดสารจิบเบอเรลลินจากหัวไชเท้าเพื่อใช้เร่งการเจริญเติบโตของต้นพืช ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Extraction of gibberellin from radishes to accelerate plant growth. ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ชนกันต์ กองคา ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม - ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในประเทศไทยมีประชากรจานวนมากประกอบอาชีพเกษตรกร จากการที่ได้สังเกตถึงปัญหาที่เกิดขึ้นใน การเกษตรก็มีเหตุเนื่องมาจากในปัจจุบันมีจานวนประชากรเพิ่มมากขึ้นและปัญหาในช่วงฤดูที่แห้งแล้ง เกษตรกร มักพบปัญหาที่พืชของตนเองให้ผลผลิตหรือเจริญเติบโตช้าและไม่เพียงพอต่อจานวนผู้บริโภคทาให้เกษตรกรขาด โอกาสในการจาหน่ายผลผลิตของตนเอง จากการที่ผู้ศึกษาได้เจอสารที่อยู่ในพืชชนิดหนึ่งที่เรียกว่า จิบเบอเรลลิน ซึ่งเป็นสารจากธรรมชาติเช่น สารที่อยู่ในหัวไชเท้า เป็นสารที่อยู่ในพืชที่สามารถทาให้พืชเจริญเติบโตได้เร็วยิ่งขึ้น ผู้ศึกษาจึงได้จัดทาการสกัดจิบเบอเรลลินจากพืชเพื่อเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของพืชที่ได้รับสารจิบเบอเรลลิน และไม่ได้รับสารจิบเบอเรลลิน เพื่อนาไปพัฒนาต่อยอดให้กับเกษตรกรในอนาคตและลดการใช้สารเคมีในพืช วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อลดปัญหาของการเจริญเติบโตช้าของต้นพืช 2.เพื่อลดปัญหาของเศรษฐกิจและเกษตรกร 3.มุ่งเน้นให้สารสกัดจากธรรมชาติแทนสารเคมี
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ทาการทดลองโดยการใช้สารจิบเบอเรลลินที่สกัดจากหัวไชเท้ามาฉีดให้กับต้นพืชแล้วทาการเปรียบเทียบ ระหว่างต้นที่ฉีดกับไม่ได้ฉีดเพื่อดูการเปลี่ยนแปลงหรือการเจริญเติบโต หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) จิบเบอเรลลิน (Gibberellin) เป็นฮอร์โมนพืชที่มีโครงสร้างโมเลกุลขนาดใหญ่ ควบคุมการเจริญเติบโตและมีอิทธิพลต่อกระบวนการทาง พัฒนาการรวมทั้งการยืดของข้อ การงอก การพักตัว การออกดอก การแสดงเพศ การชักนาการสร้างเอนไซม์ รวมทั้ง การชราของดอกและผล จิบเบอเรลลินถูกค้นพบครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2469 โดยนักวิทยาศาสตร์ชาวญี่ปุ่น Eiichi Kurosawa ผู้ศึกษาโรคบากาเนะในข้าว เริ่มจากการศึกษาต้นข้าวที่เป็นโรค Bakanae ซึ่งมีลักษณะสูง ผอม เกิดจาก เชื้อรา Gibberella fujikuroiและถูกสกัดออกมาเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2478 โดยTeijiro Yabuta จากเชื้อรา G. fujikuroi เมื่อสกัดสารที่เชื้อรานี้สร้างขึ้นไปทดสอบกับพืชชนิดอื่น พบว่าทาให้พืชนั้นๆมีอาการอย่างเดียวกันคือต้น ผอม สูง จึงตั้งชื่อสารที่พบนี้ว่าจิบเบอเรลลิน สารที่พบชนิดแรกตั้งชื่อว่าจิบเบอเรลลินต่อมามีการพบอนุพันธ์ของกรด จิบเบอเรลลิกจากราอีกหลายชนิด รวมทั้งในพืช ใน พ.ศ. 2546 พบจิบเบอเรลลินแล้ว 126 ชนิดทั้งที่แยกได้จากพืช รา และแบคทีเรีย คุณลักษณะทางเคมีและการสังเคราะห์ จิบเบอเรลลินเป็นสารกลุ่มไดเทอร์พีนอยด์ที่สังเคราะห์โดยวิถีเทอร์พีนอยด์ในพลาสติดแล้วจึงเปลี่ยนรูปใน เอนโดพลาสมิก เรกติคิวลัมและไซโตซอลจนได้รูปที่ออกฤทธิ์ในสิ่งมีชีวิตได้ จิบเบอเรลลินทั้งหมดมีโครงสร้างหลักเป็น ent-gibberellane ที่สังเคราะห์มาจาก ent-kaurene การสังเคราะห์จิบเบอเรลลินในพืชชั้นสูงเริ่มจากสร้าง Geranylgeranyl diphosphate (GGDP) ซึ่งเป็นสารตั้งต้นของสารกลุ่มดีเทอร์พีนอยด์โดยทั่วไป จากนั้นจึงเปลี่ยน GGDP ไปเป็น ent-kaurene แล้วจึงเปลี่ยนเป็น GA12 แล้วจึงเปลี่ยนต่อไปเป็นจิบเบอเรลลินตัวอื่นๆ จิบเบอเรลลิ นเป็นอนุพันธ์ของกรดจิบเบอเรลลิก(Gibberellic acid) จัดเป็นสารกลุ่มดีเทอร์พีนอยด์ (Diterpenoid) ปัจจุบันพบ แล้วมากกว่า 80 ชนิด การออกฤทธิ์ทางสรีรวิทยาที่สาคัญของจิบเบอเรลลินได้แก่ 1. กระตุ้นการขยายตัวของเซลล์ โดยการเพิ่มความยืดหยุ่นของผนังเซลล์ ทาให้เซลล์มีรูปร่างยืดยาวขึ้น 2. กระตุ้นการเจริญของรากโดยเฉพาะการเจริญของรากแรกเกิด (Radicle) รากต้องการจิบเบอเรลลินใน ปริมาณที่น้อยกว่าลาต้น เช่นรากต้องการ GA3 ในระดับนาโนโมลาร์ แต่ยอดต้องการในระดับไมโครโมลาร์ 3. จิบเบอเรลลินมีผลต่อพัฒนาการของดอกโดยเฉพาะพัฒนาการของก้านชูเกสรตัวผู้และกลีบดอก บริเวณที่มี การสร้างจิบเบอเรลลินมากในดอกคือผนังของอับละอองเรณูและในละอองเรณู การสร้างจิบเบอเรลลินในอับ ละอองเรณูนี้จะควบคุมพัฒนาการของดอกทั้งหมด 4. กระตุ้นการติดผล ในพืชหลายชนิด เช่น ส้ม มะเขือเทศ องุ่น การได้รับจิบเบอเรลลินช่วยให้เกิดการติดผลโดย ไม่ต้องผสมเกสรได้
  • 4. 4 5. กระตุ้นการงอกของเมล็ด แสงสีแดงกระตุ้นการงอกของเมล็ดได้โดยกระตุ้นให้มีการสร้างจิบเบอเรลลินมา กขึ้น และส่งผลต่อการตอบสนองของเนื้อเยื่อต่อจิบเบอเรลลิน พืชบางชนิดเช่น Arabidopsis และ ผักกาดหอมซึ่งต้องการแสงสว่างในการงอก การเพิ่มจิบเบอเรลลินจะส่งผลต่อการงอกของพืชเหล่านี้ เช่นเดียวกับการได้รับแสงสว่าง 6. การเปลี่ยนเพศดอก จิบเบอเรลลินช่วยทาให้พืชตระกูลแตงหรือพืชที่แยกดอกตัวผู้และดอกตัวเมีย เกิดดอก ตัวผู้มากขึ้นได้ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงพันธุ์พืช 7. การกระตุ้นการพักตัวของพืช จิบเบอเรลลินช่วยทาลายระยะพักตัวของพืชทั้งการพักตัวของตาและเมล็ด โดย ข่มฤทธิ์ของ ABA ซึ่งทาให้เกิดระยะพักตัว 8. หลังการงอก จิบเบอเรลลินสนับสนุนการยืดตัวของข้อและการแผ่ขยายของใบ 9. กระตุ้นการทางานของแคมเบียมในพืชหลายชนิด เช่น แอพริคอด บีโกเนีย และมันฝรั่ง 10. ควบคุมให้พืชอยู่ในสภาวะอ่อนวัย เช่นการทาให้ใบของ Hedera helix คงอยู่ในสภาพของใบในระยะอ่อนวัย ซึ่งมีความสวยงามกว่าใบในระยะเต็มวัยพร้อมสืบพันธุ์ได้ 11. กระตุ้นการออกดอก การได้รับจิบเบอเรลลินสามารถทดแทนความต้องการช่วงแสงยาวในช่วงกลางวันของ พืชวันยาว และความต้องการความหนาวเย็นก่อนออกดอกของพืชได้ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -ผลของจิบเบอเรลลินต่อการชะลอการออกดอกของสับปะรด โดย สันติ ช่างเจรจา, ยุทธนา เขาสุเมรุ ,ชิติ ศรีตนทิพย์ และ รุ่งนภา ช่างเจรจา ทาการศึกษาระดับความเข้มข้นของสารจิบเบอเรลลินต่อการชะลอการออกดอกของสับปะรดพันธุ์ปัตตาเวีย หลังกระตุ้นด้วยสารเอทธิลีน สถานที่ทดลอง แปลงสับปะรด สถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรลาปาง อ. เมือง จ. ลาปาง โดยกาหนดระดับความเข้มข้นของสารจิบเบอเรลลิน 3 ระดับ คือ 10 20 และ 40 ppm เปรียบเทียบกับต้น กระตุ้นด้วยสารเอทธิลีนและต้นปกติ (control) ให้สารโดยการพ่นทางใบกับต้นสับปะรดอายุ 8 เดือนหลังปลูก บันทึก ผลการทดลองหลังพ่นสารทุกสัปดาห์ต่อเนื่อง 6 สัปดาห์ พบว่า การพ่นสารจิบเบอเรลลินมีแนวโน้มให้อัตราการเจริญ ด้านความยาวของใบชุดเก่าและใบชุดใหม่เพิ่มสูงกว่าต้นพ่นสารเอทธิลีนและไม่พ่นสาร การให้สารจิบเบอเรลลินที่ ระดับความเข้มข้น 20 ppm มีจานวนวันที่ใช้ในการออกดอกมากที่สุด วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ งบประมาณ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________
  • 5. 5 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ สถานที่ดาเนินการ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________