SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงานโรคอัลไซเมอร์
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1.นายณัฐปภัสร์ รัตนพันธ์ เลขที่ 18 ชั้น ม.6 ห้อง 15
2.นายศุภฤกษ์ พิบูลย์เลขที่ 23 ชั้น ม.6 ห้อง 15
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี)…………………………………………………
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.นายณัฐปภัสร์ รัตนพันธ์ เลขที่ 18 2.นายศุภฤกษ์ พิบูลย์ เลขที่ 23
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) : โรคอัลไซเมอร์
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) : Alzheimer's disease
ประเภทโครงงาน : โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media)
ชื่อผู้ทาโครงงาน : นายณัฐปภัสร์ รัตนพันธ์ และ นายศุภฤกษ์ พิบูลย์
ชื่อที่ปรึกษา : ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน : ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
โรคอัลไซเมอร์ถูกค้นพบเมื่อ พ.ศ. 2449 โดยจิตแพทย์ชาวเยอรมันชื่อว่า อาลอยส์ อัลซไฮเมอร์ และถูกตั้งชื่อ
ตามท่านว่าโรคอัลไซเมอร์ เป็นภาวะสมองเสื่อมที่พบได้บ่อยที่สุดโดยจะมีการเสื่อมของเซลล์สมองทุกส่วนเป็นแล้วไม่มี
วันหาย ผู้ป่วยจะไม่สามารถควบคุมอารมณ์ตัวเอง ไม่สามารถแยกทุกผิด มีปัญหาในเรื่องการใช้ภาษา การ
ประสานงานของกล้ามเนื้อเสียไป ความจาเสื่อม ในระยะท้ายของโรคจะสูญเสียความจาทั้งหมด โรคอัลไซเมอร์มี
ระยะเวลาก่อโรคนาน 15-20 ปีกว่าจะมีอาการสมองเสื่อมชัดเจน การแสดงอาการของโรคจะเป็นไปอย่างช้าๆ เริ่มต้น
จากไม่มีความผิดปกติเรื่องความจา และเริ่มมีอาการความจาถดถอย ซึ่งการที่ผู้ป่วยเริ่มมีอาการความจาถดถอยเกิดขึ้น
เป็นผลมาจากการสะสมของสาร เบต้าอมีลอยย์ที่ทาลายเซลล์สมองมาแล้ว 10-15 ปี ต่อมาผู้ป่วยจึงจะมีอาการมาก
ขึ้นเรื่อยๆ จนมีอาการสมองเสื่อมชัดเจน ทาให้การวินิจฉัยและรักษาทาได้ไม่ทันท่วงที ซึ่งส่วนหนึ่งมาจากความ
เพิกเฉยคิดว่าผิดปกติทางความจาเล็กน้อยไม่ได้เป็น อาการเริ่มต้นของโรคสมองเสื่อม และเข้าใจผิดที่คิดว่าโรคอัลไซ
เมอร์เป็นโรคที่เกิดในผู้สูงอายุ ไม่สามารถป้องกันหรือรักษาให้หายขาดได้และต้องทานยาอย่างต่อเนื่องไปตลอดชีวิต
ดังนั้นเราควรสังเกตตัวเองหรือบุคลใกล้ชิดว่าเริ่มมีอาการหลงๆ ลืมๆ ผิดปกติหรือไม่ เช่น ลืมทานยาประจาตัว ลืมปิด
เตาแก๊ส ลืมกุญแจ ลืมปิดประตูบ้าน ลืมปิดไฟ ลืมทาในสิ่งที่เคยทาในชีวิตประจาต่างๆ มากขึ้น มีปัญหาด้านการ
เรียนรู้ ใครบอกอะไรไปแล้วไม่จาซึ่งแต่ก่อนไม่เป็น นึกชื่อสิ่งของไม่ออก ภาวะการนอนผิดปกติหรือเห็นภาพหลอน
ควรรีบพบแพทย์ระบบประสาททันทีเพื่อตรวจหาสาเหตุแต่เนิ่นๆ โดยปัจจุบันนี้เทคโนโลยีทางการแพทย์ได้พัฒนาไป
3
มากมีการตรวจความผิดปกติของ สมองด้วยเครื่อง PET Scan หรือการสแกนด้วยรังสีเพื่อตรวจหาความผิดปกติทาง
สมอง ทาให้การที่ผู้ป่วยรู้ตัวล่วงหน้าว่าตัวเองมีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคสมอง เสื่อมในอนาคตจะช่วยให้ผู้ป่วยวางแผน
ปรับพฤติกรรมการดาเนินชีวิต โดยเน้นการบริหารสมองด้วยการอ่านหนังสือ เล่นเกมที่อาศัยการคิดคานวณ การ
พบปะพูดคุยเข้าสังคม ทั้งหมดที่สามารถช่วยชะลอ หรือทุเลาอาการเสื่อมที่จะเกิดขึ้นได้
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับเรื่องโรคอัลไซเมอร์
2.เพื่อเผยแพร่หรือถ่ายทอดข้อมูลความรู้เรื่องโรคอัลไซเมอร์ให้ผู้อื่นได้เข้าใจ
3.เพื่อที่จะให้ผู้ที่ได้เข้ามาศึกษาโรคอัลไซเมอร์ เกิดการคิดวิเคราะห์ว่าตนดีมีโอกาสเป็นโรคอัลไซเมอร์หรือไม่
4.เพื่อบอกถึงวิธีการดูแลรักษาและตรวจหาโรคอัลไซเมอร์ให้ผู้ที่ศึกษา
5.เพื่อให้ผู้สูงอายุหรือใครก็ได้ได้ตระหนักถึงโรคอัลไซเมอร์ว่ามันเป็นอย่างไร เพราะเพื่อที่จะได้แก้ไขปัญหา
เกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์ก่อนที่จะสายเกินไป
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
โครงงานชิ้นนี้จัดทาขึ้นเพื่อให้ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์ แต่เนื่องจากพื้นที่และความเหมาะสมของ
ลักษณะโครงสร้างของโครงงานชิ้นนี้น้อย จึงทาให้เราต้องตัดสินใจทาโครงงานชิ้นนี้ให้ดูรวบรัดและเข้าใจง่ายที่สุด
ดังนั้นขอมูลที่เรานามาเสนอในโครงงานชิ้นนี้อาจจะไม่ละเอียดเท่าที่ควร แต่เราก็นาเสนอข้อมูลที่สาคัญและน่าสนใจ
เพื่อที่จะทาให้ผู้ที่เข้ามาศึกษาโครงงานชิ้นนี้ได้รับความรู้ที่รวดเร็วและเป็นประโยชน์มากที่สุด
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
1.ความรู้เรื่องโรคอัลไซเมอร์
2.สาเหตุโรคอัลไซเมอร์
3.การใช้ข้อมูลสถิติสารวจและวิจัยเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์
4.อาการของคนเป็นโรคอัลไซเมอร์
5.พฤติกรรมเสี่ยงของผู้ที่จะเป็นโรคอัลไซเมอร์
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
- ปรึกษาและพิจารณาเลือกหัวข้อ
- นาเสนอหัวข้อให้กับครูที่ปรึกษา
- เก็บรวบรวมข้อมูลกับหัวข้อที่จะทา
- จัดทารายงาน
- นาเสนอครูที่ปรึกษาอีกครั้ง
4
- นามาปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
- คอมพิวเตอร์
- อินเทอร์เน็ต
- เครื่องพิมพ์
งบประมาณ
- 200 บาท
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.มีความรู้และมีความเข้าใจกับเรื่องโรคอัลไซเมอร์ที่มากขึ้น
2.รู้ถึงสาเหตุโรคอัลไซเมอร์
3.สามารถนาความรู้มาปรับใช้ในชีวิตประจาวันได้
4.สามารถนาความรู้ไปเผยแพร่ให้แก่ผู้ได้
5.มีความรู้มีความเข้าใจและมีประสบการณ์ในการทาโครงงานมากยิ่งขึ้น
สถานที่ดาเนินการ
1.ห้องเรียนคอมพิวเตอร์โรงเรียนยุพราชวิยาลัย
2.ห้องคอมพิวเตอร์ในบ้าน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
5
2.กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
- haamor.com/th/อัลไซเมอร์/
- https://www.bangkokhospital.com/index.php/th/diseases-treatment/pet-scans

More Related Content

What's hot

โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกมโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
Ratchasin Poomchor
 
ใบงาน แบบร่างโครงงาน
ใบงาน แบบร่างโครงงานใบงาน แบบร่างโครงงาน
ใบงาน แบบร่างโครงงาน
Varia TheVongola
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
Mai Natthida
 

What's hot (16)

โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกมโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
ใบงาน แบบร่างโครงงาน
ใบงาน แบบร่างโครงงานใบงาน แบบร่างโครงงาน
ใบงาน แบบร่างโครงงาน
 
23 jutamart โครงรางงานคอม
23 jutamart โครงรางงานคอม23 jutamart โครงรางงานคอม
23 jutamart โครงรางงานคอม
 
2561 project 607-18
2561 project  607-182561 project  607-18
2561 project 607-18
 
ตอง
ตองตอง
ตอง
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
Good life if no fat
Good life if no fatGood life if no fat
Good life if no fat
 
Aumaim
AumaimAumaim
Aumaim
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงาน
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
Com2561 14
Com2561 14Com2561 14
Com2561 14
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์

มะพร้าวลดน้ำหนัก
มะพร้าวลดน้ำหนักมะพร้าวลดน้ำหนัก
มะพร้าวลดน้ำหนัก
Wi Nit
 
Kittapong 20
Kittapong 20Kittapong 20
Kittapong 20
NodChaa
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์ (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
มะพร้าวลดน้ำหนัก
มะพร้าวลดน้ำหนักมะพร้าวลดน้ำหนัก
มะพร้าวลดน้ำหนัก
 
โรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์โรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์
 
ใบงานท 6
ใบงานท   6ใบงานท   6
ใบงานท 6
 
โครงงาน 6
โครงงาน 6โครงงาน 6
โครงงาน 6
 
ใบงานท 6
ใบงานท   6ใบงานท   6
ใบงานท 6
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
เป็ด
เป็ดเป็ด
เป็ด
 
06615
0661506615
06615
 
Yoga
YogaYoga
Yoga
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5
 
2560 project 123
2560 project  1232560 project  123
2560 project 123
 
โครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
โครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งโครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
โครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
Kittapong 20
Kittapong 20Kittapong 20
Kittapong 20
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
18
1818
18
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
NuttoXD
NuttoXDNuttoXD
NuttoXD
 
Project
ProjectProject
Project
 

โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงานโรคอัลไซเมอร์ ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นายณัฐปภัสร์ รัตนพันธ์ เลขที่ 18 ชั้น ม.6 ห้อง 15 2.นายศุภฤกษ์ พิบูลย์เลขที่ 23 ชั้น ม.6 ห้อง 15 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี)………………………………………………… ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.นายณัฐปภัสร์ รัตนพันธ์ เลขที่ 18 2.นายศุภฤกษ์ พิบูลย์ เลขที่ 23 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) : โรคอัลไซเมอร์ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) : Alzheimer's disease ประเภทโครงงาน : โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) ชื่อผู้ทาโครงงาน : นายณัฐปภัสร์ รัตนพันธ์ และ นายศุภฤกษ์ พิบูลย์ ชื่อที่ปรึกษา : ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน : ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) โรคอัลไซเมอร์ถูกค้นพบเมื่อ พ.ศ. 2449 โดยจิตแพทย์ชาวเยอรมันชื่อว่า อาลอยส์ อัลซไฮเมอร์ และถูกตั้งชื่อ ตามท่านว่าโรคอัลไซเมอร์ เป็นภาวะสมองเสื่อมที่พบได้บ่อยที่สุดโดยจะมีการเสื่อมของเซลล์สมองทุกส่วนเป็นแล้วไม่มี วันหาย ผู้ป่วยจะไม่สามารถควบคุมอารมณ์ตัวเอง ไม่สามารถแยกทุกผิด มีปัญหาในเรื่องการใช้ภาษา การ ประสานงานของกล้ามเนื้อเสียไป ความจาเสื่อม ในระยะท้ายของโรคจะสูญเสียความจาทั้งหมด โรคอัลไซเมอร์มี ระยะเวลาก่อโรคนาน 15-20 ปีกว่าจะมีอาการสมองเสื่อมชัดเจน การแสดงอาการของโรคจะเป็นไปอย่างช้าๆ เริ่มต้น จากไม่มีความผิดปกติเรื่องความจา และเริ่มมีอาการความจาถดถอย ซึ่งการที่ผู้ป่วยเริ่มมีอาการความจาถดถอยเกิดขึ้น เป็นผลมาจากการสะสมของสาร เบต้าอมีลอยย์ที่ทาลายเซลล์สมองมาแล้ว 10-15 ปี ต่อมาผู้ป่วยจึงจะมีอาการมาก ขึ้นเรื่อยๆ จนมีอาการสมองเสื่อมชัดเจน ทาให้การวินิจฉัยและรักษาทาได้ไม่ทันท่วงที ซึ่งส่วนหนึ่งมาจากความ เพิกเฉยคิดว่าผิดปกติทางความจาเล็กน้อยไม่ได้เป็น อาการเริ่มต้นของโรคสมองเสื่อม และเข้าใจผิดที่คิดว่าโรคอัลไซ เมอร์เป็นโรคที่เกิดในผู้สูงอายุ ไม่สามารถป้องกันหรือรักษาให้หายขาดได้และต้องทานยาอย่างต่อเนื่องไปตลอดชีวิต ดังนั้นเราควรสังเกตตัวเองหรือบุคลใกล้ชิดว่าเริ่มมีอาการหลงๆ ลืมๆ ผิดปกติหรือไม่ เช่น ลืมทานยาประจาตัว ลืมปิด เตาแก๊ส ลืมกุญแจ ลืมปิดประตูบ้าน ลืมปิดไฟ ลืมทาในสิ่งที่เคยทาในชีวิตประจาต่างๆ มากขึ้น มีปัญหาด้านการ เรียนรู้ ใครบอกอะไรไปแล้วไม่จาซึ่งแต่ก่อนไม่เป็น นึกชื่อสิ่งของไม่ออก ภาวะการนอนผิดปกติหรือเห็นภาพหลอน ควรรีบพบแพทย์ระบบประสาททันทีเพื่อตรวจหาสาเหตุแต่เนิ่นๆ โดยปัจจุบันนี้เทคโนโลยีทางการแพทย์ได้พัฒนาไป
  • 3. 3 มากมีการตรวจความผิดปกติของ สมองด้วยเครื่อง PET Scan หรือการสแกนด้วยรังสีเพื่อตรวจหาความผิดปกติทาง สมอง ทาให้การที่ผู้ป่วยรู้ตัวล่วงหน้าว่าตัวเองมีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคสมอง เสื่อมในอนาคตจะช่วยให้ผู้ป่วยวางแผน ปรับพฤติกรรมการดาเนินชีวิต โดยเน้นการบริหารสมองด้วยการอ่านหนังสือ เล่นเกมที่อาศัยการคิดคานวณ การ พบปะพูดคุยเข้าสังคม ทั้งหมดที่สามารถช่วยชะลอ หรือทุเลาอาการเสื่อมที่จะเกิดขึ้นได้ วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับเรื่องโรคอัลไซเมอร์ 2.เพื่อเผยแพร่หรือถ่ายทอดข้อมูลความรู้เรื่องโรคอัลไซเมอร์ให้ผู้อื่นได้เข้าใจ 3.เพื่อที่จะให้ผู้ที่ได้เข้ามาศึกษาโรคอัลไซเมอร์ เกิดการคิดวิเคราะห์ว่าตนดีมีโอกาสเป็นโรคอัลไซเมอร์หรือไม่ 4.เพื่อบอกถึงวิธีการดูแลรักษาและตรวจหาโรคอัลไซเมอร์ให้ผู้ที่ศึกษา 5.เพื่อให้ผู้สูงอายุหรือใครก็ได้ได้ตระหนักถึงโรคอัลไซเมอร์ว่ามันเป็นอย่างไร เพราะเพื่อที่จะได้แก้ไขปัญหา เกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์ก่อนที่จะสายเกินไป ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) โครงงานชิ้นนี้จัดทาขึ้นเพื่อให้ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์ แต่เนื่องจากพื้นที่และความเหมาะสมของ ลักษณะโครงสร้างของโครงงานชิ้นนี้น้อย จึงทาให้เราต้องตัดสินใจทาโครงงานชิ้นนี้ให้ดูรวบรัดและเข้าใจง่ายที่สุด ดังนั้นขอมูลที่เรานามาเสนอในโครงงานชิ้นนี้อาจจะไม่ละเอียดเท่าที่ควร แต่เราก็นาเสนอข้อมูลที่สาคัญและน่าสนใจ เพื่อที่จะทาให้ผู้ที่เข้ามาศึกษาโครงงานชิ้นนี้ได้รับความรู้ที่รวดเร็วและเป็นประโยชน์มากที่สุด หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) 1.ความรู้เรื่องโรคอัลไซเมอร์ 2.สาเหตุโรคอัลไซเมอร์ 3.การใช้ข้อมูลสถิติสารวจและวิจัยเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์ 4.อาการของคนเป็นโรคอัลไซเมอร์ 5.พฤติกรรมเสี่ยงของผู้ที่จะเป็นโรคอัลไซเมอร์ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน - ปรึกษาและพิจารณาเลือกหัวข้อ - นาเสนอหัวข้อให้กับครูที่ปรึกษา - เก็บรวบรวมข้อมูลกับหัวข้อที่จะทา - จัดทารายงาน - นาเสนอครูที่ปรึกษาอีกครั้ง
  • 4. 4 - นามาปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ - คอมพิวเตอร์ - อินเทอร์เน็ต - เครื่องพิมพ์ งบประมาณ - 200 บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.มีความรู้และมีความเข้าใจกับเรื่องโรคอัลไซเมอร์ที่มากขึ้น 2.รู้ถึงสาเหตุโรคอัลไซเมอร์ 3.สามารถนาความรู้มาปรับใช้ในชีวิตประจาวันได้ 4.สามารถนาความรู้ไปเผยแพร่ให้แก่ผู้ได้ 5.มีความรู้มีความเข้าใจและมีประสบการณ์ในการทาโครงงานมากยิ่งขึ้น สถานที่ดาเนินการ 1.ห้องเรียนคอมพิวเตอร์โรงเรียนยุพราชวิยาลัย 2.ห้องคอมพิวเตอร์ในบ้าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
  • 5. 5 2.กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) - haamor.com/th/อัลไซเมอร์/ - https://www.bangkokhospital.com/index.php/th/diseases-treatment/pet-scans