SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
บทที่ 12 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Commerce) หรือ (E - Commerce)
ความหมายของอิเล็กทรอนิกส์
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (อังกฤษ: Electronic commerce)
หรือ อีคอมเมิร์ซ (e-Commerce) หมายถึง การทาธุรกรรมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ในทุกๆ ช่องทางที่เป็น
อิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ อินเทอร์เน็ต และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สามารถกระทา
ผ่าน โทรศัพท์เคลื่อนที่ การโอนเงินอิเล็กทรอนิกส์ การจัดการห่วงโซ่อุปทาน การโฆษณาในอินเทอร์เน็ต
แม้กระทั่งซื้อขายออนไลน์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดค่าใช้จ่าย และเพื่มประสิทธิภาพขององค์กร โดยการลด
บทบาทของความสาคัญขององค์ประกอบทางธุรกิจลง เช่น ทาเลที่ตั้ง อาคารประกอบการ โกดังเก็บสินค้า ห้อง
แสดงสินค้า รวมถึงพนักงานขาย พนักงานแนะนาสินค้า พนักงานต้อนรับลูกค้าเป็นต้น ดังนั้นจึงลดข้อจากัดของ
ระยะทางและเวลา ในการทาธุรกรรมลงได้
ในพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 ให้ความหมาย ธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ ว่าเป็น ธุรกรรมที่กระทาขึ้นโดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมดหรือแต่บางส่วน
ความสาคัญของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
เนื่องมาจากอัตราการเติบโตของการใช้อินเตอร์เน็ตและการเพิ่มขึ้นของเว็บไซต์ทางธุรกิจที่มีอย่างต่อเนื่อง
ทาให้การประกอบธุรกิจโดยเฉพาะธุรกิจบนอินเตอร์เน็ตเป็นช่องทางการตลาดขนาดใหญ่ของโลกไร้พรมแดนที่
สามารถเข้าถึงกลุ่มผู้บริโภคเป้าหมายได้โดยตรงอย่างรวดเร็ว ไร้ขีดจากัดของเรื่องเวลาและสถานที่ การแข่งขัน
ทางการค้าเสรีและระหว่างประเทศที่ต้องแข่งขันและชิงความได้เปรียบกันที่ “ความเร็ว” ทั้งการนาเสนอสินค้าผ่าน
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ มีความสาคัญอย่างยิ่งในสังคมเศรษฐกิจฐานความรู้ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์จึงเป็นอีกทางเลือก
หนึ่งของการประกอบธุรกิจในปัจจุบัน และได้รับความนิยมเพิ่มขันเป็นลาดับ
บทที่ 12 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ประเภทของธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
1) ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับอินเทอร์เน็ตโดยตรง ได้แก่ การรับจดทะเบียน โดเมนเนม ตั้งเว็บไซต์อีเมลบริการ
เคาน์เตอร์ หรือซอฟต์แวร์ต่างๆ ที่เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตโดยตรง
2) ธุรกิจด้านคอมพิวเตอร์ ได้แก่ การขายซอฟต์แวร์ต่างๆ รวมทั้งฮาร์ดแวร์ด้วย
3) ธุรกิจทางด้านการท่องเที่ยว ถือเป็นธุรกิจที่ไม่เกี่ยวข้องกับอินเทอร์เน็ตและคอมพิวเตอร์ ธุรกิจแรกที่เติบโต
อย่างรวดเร็วบนระบบอินเทอร์เน็ต ได้แก่ จองตั๋วเครื่องบิน จองแพ็กเกจทัวร์ต่างๆ เป็นต้น
4) ธุรกิจด้านการส่งออก เป็นการเปลี่ยนวิธีการค้าแบบเดิมซึ่งเคยต้องส่ง แค็ตตาล็อกสินค้าไปให้คู่ค้าทั่วโลก ก็
หันมาใช้การทาเว็บเพจ หรือการโฆษณาผ่านระบบอินเทอร์เน็ต
5) ธุรกิจค้าปลีกสินค้าทั่วไป ผู้บริโภคในซีกโลกตะวันตกสามารถปรับตัวเข้าสู่ระบบการค้า
ปลีกบนเว็บได้โดยไม่ยากนัก เพราะจะคุ้นเคยกับการสั่งซื้อสินค้าผ่านทางระบบไปรษณีย์
หรือแค็ตตาล็อกอยู่แล้ว แต่คราวนี้มีความตื่นตาตื่นใจมากกว่าแต่ก่อนด้วยเพราะเป็นสินค้า
ที่มีการเสนอขายมาจากทั่วโลก เพียงแต่ผู้ขายผ่านเว็บจะต้องปรับตัวสินค้าและราคา ให้
สอดคล้องกับความต้องการเท่านั้นก็เพียงพอแล้ว
วิวัฒนาการของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
การค้าอิเล็กทรอนิกส์นั้นเริ่มขึ้นบนโลกครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2513 ซึ่งได้มีการเริ่มใช้ระบบโอนเงินทาง
อิเล็กทรอนิกส์หรืออีเอฟที (EFT = Electronic Fund Transfer) แต่ในขณะนั้นมีเพียงบริษัทขนาดใหญ่และ
สถาบันการเงินเท่านั้นที่ใช้งานระบบโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ต่อมาอีกไม่นานก็เกิดระบบการส่งเอกสารทาง
อิเล็กทรอนิกส์ หรือ อีดีไอ (EDI = Electronic Data Interchange) ซึ่งสามารถช่วยขยายการส่งข้อมูลจากเดิม
ที่เป็นข้อมูลทางการเงินอย่างเดียวเป็นการส่งข้อมูลแบบอื่นเพิ่มขึ้น
หลังจากนั้นก็มีระบบสื่อสารรวมถึงโปรแกรมอื่นๆ เกิดขึ้นมากมายตั้งแต่ระบบที่ใช้ในการซื้อขายหุ้นจนไป
ถึงระบบที่ช่วยในการสารองที่พัก ซึ่งเรียกได้ว่าโลกได้ก้าวเข้าสู่ยุคของการสื่อสาร และเมื่อยุคของอินเตอร์เน็ต
มาถึงเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2533 จานวนผู้ใช้อินเตอร์เน็ตก็เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว การค้าอิเล็กทรอนิกส์ก็ได้เกิดขึ้น
เหตุผลที่ทาให้ระบบการค้าอิเล็กทรอนิกส์เติบโตอย่างรวดเร็วคือโปรแกรมสนับสนุนการค้าอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับ
การพัฒนาขึ้นมามากมาย รวมถึงระบบเครือข่ายด้วย พอมาถึงประมาณปี พ.ศ. 2537 – 2542 ก็ถือได้ว่าระบบ
การค้าอิเล็กทรอนิกส์หรืออีคอมเมิร์ซก็เป็นที่ยอมรับและได้รับความนิยมอย่างมากและรวดเร็ว ซึ่งวัดได้จากการที่
มีบริษัทต่างๆ ในอเมริกาได้ให้ความสาคัญและเข้าร่วมในระบบอีคอมเมิร์ซอย่างมากมาย
ยุคการแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (EDI)
แนวคิดที่จะให้คอมพิวเตอร์ของคู่ค้าทั้งสองฝ่ายแลกเปลี่ยนเอกสารกันทางอิเล็กทรอนิกส์ได้โดยตรง
นิยมใช้น้อ เพราะมีค่าใช้จ่ายในการวางระบบและดาเนินงานสูงใช้เฉพาะในวงการอุตสาหกรรมหรือการค้าเฉพาะ
ทางที่มีผู้เกี่ยวข้องเพียงไม่กี่ฝ่ายเท่านั้น
สาหรับมาตรฐานของ EDI ในประเทศไทยถูกกาหนดโดยกรมศุลกากร ซึ่งเป็นหน่วยงานแรกที่นาระบบนี้
มาใช้งาน คือ มาตรฐาน EDIFACT (Electronic Data Interchange for Administration, Commerce and
Transport) ตัวอย่างของเอกสารที่นามาใช้แลกเปลี่ยนข้อมูลด้วยระบบ EDI เช่น ใบสั่งซื้อสินค้า ใบเสนอราคา
ใบกากับสินค้า ใบเสร็จรับเงิน ใบกากับภาษี เป็นต้น
บริษัทผู้ให้บริการแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange : EDI) เป็น
องค์กรที่ให้บริการ EDI ทางการค้าระหว่างประเทศแก่หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ ซึ่งได้แก่ กรมศุลกากร บริษัท
การบินไทย (มหาชน) จากัด การท่าเรือแห่งประเทศไทย และกรมการค้าต่าง ประเทศ ตลอดจนผู้ใช้ใน
ภาคเอกชน
ประโยชน์ของการใช้ระบบ EDI
1.ลดค่าใช้จ่ายด้านการจัดส่งเอกสาร
2.ลดเวลาทางานในการป้อนข้อมูล ทาให้ข้อมูลมีความถูกต้องและลดข้อผิดพลาดจากการป้อนข้อมูลที่ซ้าซ้อน
3.เพิ่มความรวดเร็วในการติดต่อสื่อสาร
4.ลดค่าใช้จ่ายและภาระงานด้านเอกสาร
5.แก้ปัญหาอุปสรรคทางภูมิศาสตร์และเวลา
ยุคพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) เป็นการผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตกับการ
จาหน่ายสินค้าและบริการ โดยสามารถนาเสนอข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับตัวสินค้าหรือบริการผ่านทางอินเทอร์เน็ตสู่คน
ทั่วโลกภายในระยะเวลาอันรวดเร็ว ทาให้การดาเนินการซื้อขายอย่างมีประสิทธิภาพและก่อให้เกิดรายได้ใน
ระยะเวลาอันสั้น ยุคของอินเทอร์เน็ตที่แผ่ขยายอย่างรวดเร็วเข้าถึงการซื้อขายในระดับของผู้บริโภคทั่วๆไปมี
คอมพิวเตอร์และต่อกับอินเทอร์เน็ต ก็สามารถเข้าไปมีส่วนร่วมได้มีโปรแกรมรองรับที่ดีมากยิ่งขึ้นเช่น browser
ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานมีต้นทุนที่ถูกลง
รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
แบ่งได้ตามความสัมพันธ์ทางการตลาด (market relationships) ระหว่าง ผู้ซื้อและผู้ขายได้3 รูปแบบ
ดังต่อไปนี้ แบบธุรกิจกับธุรกิจ (B2B : Business-to-Business)
แบบผู้บริโภคกับผู้บริโภค (C2C : Consumer-to-Consumer)
แบบธุรกิจกับผู้บริโภค (B2C : Business-to-Consumer)
แบบธุรกิจกับธุรกิจ (B2B : Business-to-Business)
การทาธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างผู้ดาเนินธุรกิจด้วยกันเองการซื้อขายจะเป็นปริมาณมากและมี
ราคาสูงพอสมควรมักพบในตลาดกลางที่เรียกว่า E-marketplace ตัวอย่างเช่น pantavanij
แบบผู้บริโภคกับผู้บริโภค (C2C : Consumer-to-Consumer)
กิจกรรมซื้อขายสินค้าหรือบริการเกิดขึ้นระหว่างผู้บริโภคคนสุดท้ายผู้ซื้อและผู้ขายจะติดต่อแลกเปลี่ยน
รายการซื้อขายด้วยตนเองมักพบเห็นในสินค้าประเภทมือสอง หรือสินค้าประมูล ตัวอย่างของธุรกิจประเภทนี้
เช่น ebay
แบบธุรกิจกับผู้บริโภค (B2C : Business-to-Consumer)
รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่พบเห็นมากที่สุด ผู้ประกอบการใช้เป็นช่องทางจาหน่ายสินค้าให้กับ
ผู้บริโภคจานวนมากเพื่อให้เข้าถึงได้โดยตรง ร้านค้าหรือบริษัทจะเปิดเว็บไซต์ที่มีรูปแบบเป็นร้านค้าเสมือนจริง
(Virtual store-front) ตัวอย่างเช่น thaigem, amazon, misslily
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์( E-Government)
บริการของภาครัฐที่นาเสนอข้อมูลให้กับประชาชนรวมถึงการแสวงหารายได้บางประเภทผ่านช่องทาง
อิเล็กทรอนิกส์ ใช้เป็นแหล่งข้อมูลกลางสาหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานของรัฐ เช่น บริการการ
เสียภาษีผ่านอินเทอร์เน็ต
แบบหน่วยงานราชการ หรือธุรกิจกับรัฐบาล (Business to Government : B-to-G)
เป็นการค้าระหว่างธุรกิจกับหน่วยงานของรัฐบาล เช่น กระทรวง กรม กอง ซึ่งเป็นการค้าที่มีมูลค่าสูง
แบบรัฐบาลกับรัฐบาล (Government to Government :G-to-G)
เป็นการค้าที่เกิดขึ้นระหว่างหน่วยงานของรัฐด้วยกัน เช่นการค้าระหว่างการไฟฟ้านครหลวงกับกระทรวง
ทบวง กรม ต่างๆ ในประเทศเดียวกัน หรือการค้าระหว่างรัฐบาลต่อรัฐบาล เช่น รัฐบาลไทยส่งข้าวไปขายให้
รัฐบาลของประเทศอิหร่าน หรือรัฐบาลอิหร่านขายน้ามันดิบให้รัฐบาลไทย เป็นต้น
ขั้นตอนการค้าแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ขั้นตอนการค้าแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์จะเกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่หลากหลายขั้นตอนมาก ซึ่งไม่ได้มีแค่
ตอนสั่งซื้อขายและชาระเงินเพียงเท่านั้น หากยังรวมถึงกิจกรรมก่อนหน้าและหลังจากนั้นด้วย
ขั้นตอนที่ 1 : การออกแบบและจัดทาเว็บไซต์
ออกแบบด้วยรูปลักษณ์ที่สวยงาม น่าสนใจ มีรูปภาพประกอบและสีสันที่ดึงดูดใจและอยากเข้ามาเยี่ยมชม
การใส่ข้อมูลหรือเนื้อหาที่เป็นเชิงมัลติมีเดีย (ไม่มากเกินไป) ออกแบบให้เข้ากับผลิตภัณฑ์หรือบริการที่มี
ออกแบบขั้นตอนวิธีใช้ที่ง่ายและสะดวก วิธีใช้งาน” หรือ “ขั้นตอน” ที่ดี ทาให้ลูกค้าไม่สับสน มีการจัดวางส่วน
ของรูปแบบ navigation สร้างระบบที่เรียกว่าแผนผังไซต์ (site map)เพื่อให้ทราบเนื้อหาโดยรวม แบ่งหมวดหมู่
ของเนื้อหาหรือข้อมูลสินค้าภายในเว็บไซต์อย่างชัดเจน ออกแบบเว็บให้ทันสมัยและเป็นปัจจุบัน
ขั้นตอนที่ 2 : การโฆษณาเผยแพร่หรือให้ข้อมูล
ลงประกาศตามกระดานข่าว กระดานข่าวเป็นลักษณะของ
โปรแกรมบนเว็บที่สร้างขึ้นมาเพื่อ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือสร้าง
ประเด็นเนื้อหาเฉพาะกลุ่ม สามารถทาได้ฟรี หรือหากมีอาจเสีย
ค่าธรรมเนียมเพียงเล็กน้อย นิยมพิมพ์เป็นข้อความ (text) บอกถึง
คุณสมบัติของสินค้าหรือบริการ อย่างคร่าวๆ โดยผู้ให้บริการบางราย
อาจยินยอมให้เผยแพร่รูปภาพตัวอย่างได้
การลงประกาศโฆษณาขายสินค้าบนกระดารข่าวจัดทาป้ายโฆษณาออนไลน์ การเอารูปภาพบ่งบอก
ความหมายและอธิบายแนวคิดบางอย่างของ ตัวสินค้ามาสร้าง banner พบเห็นได้หลายชนิด เช่น แบบยาวที่
ติดตั้งไว้ส่วนบนและส่วนล่างของ หน้าเว็บเพจ หรือแบบเล็กๆ ที่ติดไว้ส่วนกลางหรือด้านข้างของตัวเว็บ ใช้
เทคนิคแปลกๆเหมือนกับการสร้างป้ายโฆษณาจริง อาจมีค่าใช้จ่ายที่สูงกว่าการลงโฆษณาผ่านกระดานข่าวสร้าง
โฆษณาผ่านอีเมล์ อาศัยการสร้างข้อความเอกสารคล้ายๆกับแผ่นพับหรือโบรชัวร์ เพื่อแจ้งข่าวสาร ผู้ขายสินค้าจะ
รวบรวมรายชื่ออีเมล์ลูกค้าจานวนมาก และทาการส่งออกไปเป็นเอกสารเว็บในคราวเดียวกัน อาจได้ผลไม่ดีนัก
หากเป็นการส่งจดหมายโฆษณาสินค้า ที่มีความถี่หรือบ่อยเกินไป เผยแพร่ผ่านสื่ออื่นๆ วิธีที่มีการใช้งานกันมา
อย่างยาวนานและอาจให้ผลดีเช่นเดียวกัน พบเห็นได้กับการเผยแพร่ผ่านสื่อวิทยุ โทรทัศน์หรือสื่ออื่นๆ การใช้
ภาพ สีสัน หรือข้อความมีการกระตุ้นให้เกิดความต้องการ ซื้อสินค้าหรือบริการอาจมีค่าใช้จ่ายที่สูงกว่าแบบอื่นๆ
โฆษณาเว็บไซต์บนรถโดยสารประจาทางของผู้ให้บริการข้อมูลบันเทิง
ลงทะเบียนกับผู้ให้บริการค้นหาข้อมูล มีผู้ให้บริการค้นหาข้อมูล (search engine) อยู่มากมาย
เช่น Google, Yahoo, Lycos, Astalavista, Sanook หรือ Hunsa อาศัยบริษัทตัวกลางที่ทาหน้าที่ดาเนินการ
ให้แบบเสร็จสรรพ และลงทะเบียนกับผู้ให้บริการได้เป็นจาานวนมาก หรือแจ้งไปยังผู้ให้บริการค้นหาข้อมูลได้
โดยตรง วิธีนี้อาจทาให้สินค้าเป็นที่รู้จักกับคนทั่วโลกได้ง่ายมากขึ้น
ขั้นตอนที่ 3 : การทารายการซื้อขาย
ประกอบด้วยการทารายการสั่งซื้อหรือ order บางแห่งมีระบบที่เรียกว่า รถเข็นสินค้า (shopping cart)
รองรับการชาระเงินหลายๆแบบ ที่นิยมมากเช่น บัตรเครดิต เพื่อให้ระบบน่าเชื่อถือ อาจต้องเข้ารหัส ข้อมูลที่
รับส่งด้วย
วัตถุประสงค์ของการเข้ารหัสข้อมูล
รักษาความลับ คือการป้องกันการดักอ่านข้อมูลโดยไม่ได้รับอนุญาต ผู้ซื้อและผู้ขายจริงเท่านั้นที่จะ
ติดต่อกันได้เชื่อถือได้ คือถูกต้องตรงกัน ผู้ใดมาเปลี่ยนแปลงแก้ไขไม่ได้ หากมีการแก้ก็สามารถทราบได้ทันที
เพราะผู้ที่แอบแก้ไขข้อมูลนั้น จะไม่สามารถเข้ารหัสใหม่ให้เหมือนเดิมได้ พิสูจน์ทราบตัวตนจริงๆของทั้งผู้ซื้อและ
ผู้ขาย คือยืนยันว่าผู้ซื้อหรือผู้ขายเป็นผู้ทาการเข้ารหัสและส่งเอกสารนี้ออกมาจริงๆ เมื่อผู้ซื้อได้ทาการสั่งซื้อไป
ผู้ขายเองจะไม่ส่งของหรือเปลี่ยนแปลงราคาภายหลังไม่ได้
ตัวอย่างของการใช้บริการชาระเงินผ่านบัตรเครดิตของเว็บไซต์ thaiepay .com
ขั้นตอนที่ 4 : การส่งมอบสินค้า
สินค้าที่จะจัดส่งได้แบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้
- สินค้าที่จับต้องได้ (hard goods) สินค้าที่จัดอยู่ในกลุ่มที่มีตัวตนและจับต้องได้ เช่น หนังสือ เสื้อผ้า
รองเท้า เครื่องประดับ สินค้าหัตถกรรม การจัดส่งสินค้าแบบจับต้องได้(hard goods) อาศัยวิธีการส่ง
สินค้าตามปกติทั่วไป เช่น ระบบไปรษณีย์ทางเรือ ทางอากาศ
- สินค้าที่จับต้องไม่ได้ (soft goods) เป็นสินค้าที่อยู่ในรูปดิจิตอล เช่น ข้อมูลข่าวสาร เพลง รูปภาพ
เอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ หรือซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ การจัดส่งสินค้าแบบจับต้องไม่ได้ (soft goods)
อาจใช้วิธีให้ลูกค้าดาวน์โหลด เช่น ซอฟต์แวร์ทางคอมพิวเตอร์ เพลงหรือไฟล์ภาพ
ขั้นตอนที่ 5 : การบริการหลังการขาย
นิยมใช้กับสินค้าที่มีขั้นตอนการใช้ที่ยุ่งยาก ซับซ้อน ไม่สามารถทาความเข้าใจได้โดยทันที ช่วยแก้ไขปัญหา
เบื้องต้นให้กับลูกค้าได้เป็นอย่างดี ทาได้โดยจัดตั้งเป็นศูนย์บริการลูกค้าหรือ call center บางบริษัทอาจสร้าง
ระบบปัญหาถามบ่อยหรือ FAQ (Frequency Ask Question)
ที่มา http://www.baanjomyut.com/library_3/extension-1/e_commerce/02.html
http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/tech04/22/cit/9_2.html
http://suripla.blogspot.com/2013/05/12.html
โดย จิดาภา ตรังหิรัณยธร ม.6/1 เลขที่ 56

More Related Content

What's hot

อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)Kosamphee Wittaya School
 
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์.pdf
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์.pdfการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์.pdf
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์.pdfcilcil777
 
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commerce
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E CommerceF:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commerce
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commercethanapat yeekhaday
 
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์cilcil777
 
Introduction to On-line Documemt Lect03 E Commerce
Introduction to On-line Documemt  Lect03 E CommerceIntroduction to On-line Documemt  Lect03 E Commerce
Introduction to On-line Documemt Lect03 E CommerceJenchoke Tachagomain
 
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing Khonkaen University
 

What's hot (15)

อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
 
work3 35
work3 35work3 35
work3 35
 
Work3-03
Work3-03Work3-03
Work3-03
 
E commerce
E commerceE commerce
E commerce
 
Chapter3 E Commerce
Chapter3 E CommerceChapter3 E Commerce
Chapter3 E Commerce
 
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์.pdf
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์.pdfการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์.pdf
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์.pdf
 
E Commerce Model
E Commerce ModelE Commerce Model
E Commerce Model
 
E-Commerce
E-CommerceE-Commerce
E-Commerce
 
E commerce
E commerceE commerce
E commerce
 
Lanlana chunstikul
Lanlana chunstikulLanlana chunstikul
Lanlana chunstikul
 
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commerce
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E CommerceF:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commerce
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commerce
 
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
Introduction to On-line Documemt Lect03 E Commerce
Introduction to On-line Documemt  Lect03 E CommerceIntroduction to On-line Documemt  Lect03 E Commerce
Introduction to On-line Documemt Lect03 E Commerce
 
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
 
it-12-12
it-12-12it-12-12
it-12-12
 

Similar to บทที่12-56

นาย ศิวกร ประทุมพิทักษ์ 15
นาย ศิวกร ประทุมพิทักษ์ 15นาย ศิวกร ประทุมพิทักษ์ 15
นาย ศิวกร ประทุมพิทักษ์ 15Sivakorn Pratoomphithak
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)runjaun
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการSiriwan Udomtragulwong
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตWirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตWirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตWirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาWirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาWirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..Wirot Chantharoek
 
บทที่12
บทที่12บทที่12
บทที่12Min Jidapa
 
บทที่12
บทที่12บทที่12
บทที่12bellzajung
 

Similar to บทที่12-56 (20)

นาย ศิวกร ประทุมพิทักษ์ 15
นาย ศิวกร ประทุมพิทักษ์ 15นาย ศิวกร ประทุมพิทักษ์ 15
นาย ศิวกร ประทุมพิทักษ์ 15
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
E commerce
E  commerceE  commerce
E commerce
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
 
บทที่12
บทที่12บทที่12
บทที่12
 
บทที่12
บทที่12บทที่12
บทที่12
 
บทที่12
บทที่12บทที่12
บทที่12
 

บทที่12-56

  • 1.
  • 2. บทที่ 12 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce) หรือ (E - Commerce) ความหมายของอิเล็กทรอนิกส์ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (อังกฤษ: Electronic commerce) หรือ อีคอมเมิร์ซ (e-Commerce) หมายถึง การทาธุรกรรมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ในทุกๆ ช่องทางที่เป็น อิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ อินเทอร์เน็ต และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สามารถกระทา ผ่าน โทรศัพท์เคลื่อนที่ การโอนเงินอิเล็กทรอนิกส์ การจัดการห่วงโซ่อุปทาน การโฆษณาในอินเทอร์เน็ต แม้กระทั่งซื้อขายออนไลน์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดค่าใช้จ่าย และเพื่มประสิทธิภาพขององค์กร โดยการลด บทบาทของความสาคัญขององค์ประกอบทางธุรกิจลง เช่น ทาเลที่ตั้ง อาคารประกอบการ โกดังเก็บสินค้า ห้อง แสดงสินค้า รวมถึงพนักงานขาย พนักงานแนะนาสินค้า พนักงานต้อนรับลูกค้าเป็นต้น ดังนั้นจึงลดข้อจากัดของ ระยะทางและเวลา ในการทาธุรกรรมลงได้ ในพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 ให้ความหมาย ธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ ว่าเป็น ธุรกรรมที่กระทาขึ้นโดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมดหรือแต่บางส่วน ความสาคัญของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เนื่องมาจากอัตราการเติบโตของการใช้อินเตอร์เน็ตและการเพิ่มขึ้นของเว็บไซต์ทางธุรกิจที่มีอย่างต่อเนื่อง ทาให้การประกอบธุรกิจโดยเฉพาะธุรกิจบนอินเตอร์เน็ตเป็นช่องทางการตลาดขนาดใหญ่ของโลกไร้พรมแดนที่ สามารถเข้าถึงกลุ่มผู้บริโภคเป้าหมายได้โดยตรงอย่างรวดเร็ว ไร้ขีดจากัดของเรื่องเวลาและสถานที่ การแข่งขัน ทางการค้าเสรีและระหว่างประเทศที่ต้องแข่งขันและชิงความได้เปรียบกันที่ “ความเร็ว” ทั้งการนาเสนอสินค้าผ่าน สื่ออิเล็กทรอนิกส์ มีความสาคัญอย่างยิ่งในสังคมเศรษฐกิจฐานความรู้ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์จึงเป็นอีกทางเลือก หนึ่งของการประกอบธุรกิจในปัจจุบัน และได้รับความนิยมเพิ่มขันเป็นลาดับ บทที่ 12 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
  • 3. ประเภทของธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 1) ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับอินเทอร์เน็ตโดยตรง ได้แก่ การรับจดทะเบียน โดเมนเนม ตั้งเว็บไซต์อีเมลบริการ เคาน์เตอร์ หรือซอฟต์แวร์ต่างๆ ที่เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตโดยตรง 2) ธุรกิจด้านคอมพิวเตอร์ ได้แก่ การขายซอฟต์แวร์ต่างๆ รวมทั้งฮาร์ดแวร์ด้วย 3) ธุรกิจทางด้านการท่องเที่ยว ถือเป็นธุรกิจที่ไม่เกี่ยวข้องกับอินเทอร์เน็ตและคอมพิวเตอร์ ธุรกิจแรกที่เติบโต อย่างรวดเร็วบนระบบอินเทอร์เน็ต ได้แก่ จองตั๋วเครื่องบิน จองแพ็กเกจทัวร์ต่างๆ เป็นต้น 4) ธุรกิจด้านการส่งออก เป็นการเปลี่ยนวิธีการค้าแบบเดิมซึ่งเคยต้องส่ง แค็ตตาล็อกสินค้าไปให้คู่ค้าทั่วโลก ก็ หันมาใช้การทาเว็บเพจ หรือการโฆษณาผ่านระบบอินเทอร์เน็ต 5) ธุรกิจค้าปลีกสินค้าทั่วไป ผู้บริโภคในซีกโลกตะวันตกสามารถปรับตัวเข้าสู่ระบบการค้า ปลีกบนเว็บได้โดยไม่ยากนัก เพราะจะคุ้นเคยกับการสั่งซื้อสินค้าผ่านทางระบบไปรษณีย์ หรือแค็ตตาล็อกอยู่แล้ว แต่คราวนี้มีความตื่นตาตื่นใจมากกว่าแต่ก่อนด้วยเพราะเป็นสินค้า ที่มีการเสนอขายมาจากทั่วโลก เพียงแต่ผู้ขายผ่านเว็บจะต้องปรับตัวสินค้าและราคา ให้ สอดคล้องกับความต้องการเท่านั้นก็เพียงพอแล้ว วิวัฒนาการของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การค้าอิเล็กทรอนิกส์นั้นเริ่มขึ้นบนโลกครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2513 ซึ่งได้มีการเริ่มใช้ระบบโอนเงินทาง อิเล็กทรอนิกส์หรืออีเอฟที (EFT = Electronic Fund Transfer) แต่ในขณะนั้นมีเพียงบริษัทขนาดใหญ่และ สถาบันการเงินเท่านั้นที่ใช้งานระบบโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ต่อมาอีกไม่นานก็เกิดระบบการส่งเอกสารทาง อิเล็กทรอนิกส์ หรือ อีดีไอ (EDI = Electronic Data Interchange) ซึ่งสามารถช่วยขยายการส่งข้อมูลจากเดิม ที่เป็นข้อมูลทางการเงินอย่างเดียวเป็นการส่งข้อมูลแบบอื่นเพิ่มขึ้น หลังจากนั้นก็มีระบบสื่อสารรวมถึงโปรแกรมอื่นๆ เกิดขึ้นมากมายตั้งแต่ระบบที่ใช้ในการซื้อขายหุ้นจนไป ถึงระบบที่ช่วยในการสารองที่พัก ซึ่งเรียกได้ว่าโลกได้ก้าวเข้าสู่ยุคของการสื่อสาร และเมื่อยุคของอินเตอร์เน็ต มาถึงเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2533 จานวนผู้ใช้อินเตอร์เน็ตก็เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว การค้าอิเล็กทรอนิกส์ก็ได้เกิดขึ้น เหตุผลที่ทาให้ระบบการค้าอิเล็กทรอนิกส์เติบโตอย่างรวดเร็วคือโปรแกรมสนับสนุนการค้าอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับ การพัฒนาขึ้นมามากมาย รวมถึงระบบเครือข่ายด้วย พอมาถึงประมาณปี พ.ศ. 2537 – 2542 ก็ถือได้ว่าระบบ การค้าอิเล็กทรอนิกส์หรืออีคอมเมิร์ซก็เป็นที่ยอมรับและได้รับความนิยมอย่างมากและรวดเร็ว ซึ่งวัดได้จากการที่ มีบริษัทต่างๆ ในอเมริกาได้ให้ความสาคัญและเข้าร่วมในระบบอีคอมเมิร์ซอย่างมากมาย
  • 4. ยุคการแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (EDI) แนวคิดที่จะให้คอมพิวเตอร์ของคู่ค้าทั้งสองฝ่ายแลกเปลี่ยนเอกสารกันทางอิเล็กทรอนิกส์ได้โดยตรง นิยมใช้น้อ เพราะมีค่าใช้จ่ายในการวางระบบและดาเนินงานสูงใช้เฉพาะในวงการอุตสาหกรรมหรือการค้าเฉพาะ ทางที่มีผู้เกี่ยวข้องเพียงไม่กี่ฝ่ายเท่านั้น สาหรับมาตรฐานของ EDI ในประเทศไทยถูกกาหนดโดยกรมศุลกากร ซึ่งเป็นหน่วยงานแรกที่นาระบบนี้ มาใช้งาน คือ มาตรฐาน EDIFACT (Electronic Data Interchange for Administration, Commerce and Transport) ตัวอย่างของเอกสารที่นามาใช้แลกเปลี่ยนข้อมูลด้วยระบบ EDI เช่น ใบสั่งซื้อสินค้า ใบเสนอราคา ใบกากับสินค้า ใบเสร็จรับเงิน ใบกากับภาษี เป็นต้น บริษัทผู้ให้บริการแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange : EDI) เป็น องค์กรที่ให้บริการ EDI ทางการค้าระหว่างประเทศแก่หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ ซึ่งได้แก่ กรมศุลกากร บริษัท การบินไทย (มหาชน) จากัด การท่าเรือแห่งประเทศไทย และกรมการค้าต่าง ประเทศ ตลอดจนผู้ใช้ใน ภาคเอกชน ประโยชน์ของการใช้ระบบ EDI 1.ลดค่าใช้จ่ายด้านการจัดส่งเอกสาร 2.ลดเวลาทางานในการป้อนข้อมูล ทาให้ข้อมูลมีความถูกต้องและลดข้อผิดพลาดจากการป้อนข้อมูลที่ซ้าซ้อน 3.เพิ่มความรวดเร็วในการติดต่อสื่อสาร 4.ลดค่าใช้จ่ายและภาระงานด้านเอกสาร 5.แก้ปัญหาอุปสรรคทางภูมิศาสตร์และเวลา ยุคพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) เป็นการผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตกับการ จาหน่ายสินค้าและบริการ โดยสามารถนาเสนอข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับตัวสินค้าหรือบริการผ่านทางอินเทอร์เน็ตสู่คน ทั่วโลกภายในระยะเวลาอันรวดเร็ว ทาให้การดาเนินการซื้อขายอย่างมีประสิทธิภาพและก่อให้เกิดรายได้ใน ระยะเวลาอันสั้น ยุคของอินเทอร์เน็ตที่แผ่ขยายอย่างรวดเร็วเข้าถึงการซื้อขายในระดับของผู้บริโภคทั่วๆไปมี คอมพิวเตอร์และต่อกับอินเทอร์เน็ต ก็สามารถเข้าไปมีส่วนร่วมได้มีโปรแกรมรองรับที่ดีมากยิ่งขึ้นเช่น browser ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานมีต้นทุนที่ถูกลง รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ แบ่งได้ตามความสัมพันธ์ทางการตลาด (market relationships) ระหว่าง ผู้ซื้อและผู้ขายได้3 รูปแบบ ดังต่อไปนี้ แบบธุรกิจกับธุรกิจ (B2B : Business-to-Business) แบบผู้บริโภคกับผู้บริโภค (C2C : Consumer-to-Consumer) แบบธุรกิจกับผู้บริโภค (B2C : Business-to-Consumer)
  • 5. แบบธุรกิจกับธุรกิจ (B2B : Business-to-Business) การทาธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างผู้ดาเนินธุรกิจด้วยกันเองการซื้อขายจะเป็นปริมาณมากและมี ราคาสูงพอสมควรมักพบในตลาดกลางที่เรียกว่า E-marketplace ตัวอย่างเช่น pantavanij แบบผู้บริโภคกับผู้บริโภค (C2C : Consumer-to-Consumer) กิจกรรมซื้อขายสินค้าหรือบริการเกิดขึ้นระหว่างผู้บริโภคคนสุดท้ายผู้ซื้อและผู้ขายจะติดต่อแลกเปลี่ยน รายการซื้อขายด้วยตนเองมักพบเห็นในสินค้าประเภทมือสอง หรือสินค้าประมูล ตัวอย่างของธุรกิจประเภทนี้ เช่น ebay แบบธุรกิจกับผู้บริโภค (B2C : Business-to-Consumer) รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่พบเห็นมากที่สุด ผู้ประกอบการใช้เป็นช่องทางจาหน่ายสินค้าให้กับ ผู้บริโภคจานวนมากเพื่อให้เข้าถึงได้โดยตรง ร้านค้าหรือบริษัทจะเปิดเว็บไซต์ที่มีรูปแบบเป็นร้านค้าเสมือนจริง (Virtual store-front) ตัวอย่างเช่น thaigem, amazon, misslily รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์( E-Government) บริการของภาครัฐที่นาเสนอข้อมูลให้กับประชาชนรวมถึงการแสวงหารายได้บางประเภทผ่านช่องทาง อิเล็กทรอนิกส์ ใช้เป็นแหล่งข้อมูลกลางสาหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานของรัฐ เช่น บริการการ เสียภาษีผ่านอินเทอร์เน็ต แบบหน่วยงานราชการ หรือธุรกิจกับรัฐบาล (Business to Government : B-to-G) เป็นการค้าระหว่างธุรกิจกับหน่วยงานของรัฐบาล เช่น กระทรวง กรม กอง ซึ่งเป็นการค้าที่มีมูลค่าสูง แบบรัฐบาลกับรัฐบาล (Government to Government :G-to-G) เป็นการค้าที่เกิดขึ้นระหว่างหน่วยงานของรัฐด้วยกัน เช่นการค้าระหว่างการไฟฟ้านครหลวงกับกระทรวง ทบวง กรม ต่างๆ ในประเทศเดียวกัน หรือการค้าระหว่างรัฐบาลต่อรัฐบาล เช่น รัฐบาลไทยส่งข้าวไปขายให้ รัฐบาลของประเทศอิหร่าน หรือรัฐบาลอิหร่านขายน้ามันดิบให้รัฐบาลไทย เป็นต้น
  • 6. ขั้นตอนการค้าแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ขั้นตอนการค้าแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์จะเกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่หลากหลายขั้นตอนมาก ซึ่งไม่ได้มีแค่ ตอนสั่งซื้อขายและชาระเงินเพียงเท่านั้น หากยังรวมถึงกิจกรรมก่อนหน้าและหลังจากนั้นด้วย ขั้นตอนที่ 1 : การออกแบบและจัดทาเว็บไซต์ ออกแบบด้วยรูปลักษณ์ที่สวยงาม น่าสนใจ มีรูปภาพประกอบและสีสันที่ดึงดูดใจและอยากเข้ามาเยี่ยมชม การใส่ข้อมูลหรือเนื้อหาที่เป็นเชิงมัลติมีเดีย (ไม่มากเกินไป) ออกแบบให้เข้ากับผลิตภัณฑ์หรือบริการที่มี ออกแบบขั้นตอนวิธีใช้ที่ง่ายและสะดวก วิธีใช้งาน” หรือ “ขั้นตอน” ที่ดี ทาให้ลูกค้าไม่สับสน มีการจัดวางส่วน ของรูปแบบ navigation สร้างระบบที่เรียกว่าแผนผังไซต์ (site map)เพื่อให้ทราบเนื้อหาโดยรวม แบ่งหมวดหมู่ ของเนื้อหาหรือข้อมูลสินค้าภายในเว็บไซต์อย่างชัดเจน ออกแบบเว็บให้ทันสมัยและเป็นปัจจุบัน ขั้นตอนที่ 2 : การโฆษณาเผยแพร่หรือให้ข้อมูล ลงประกาศตามกระดานข่าว กระดานข่าวเป็นลักษณะของ โปรแกรมบนเว็บที่สร้างขึ้นมาเพื่อ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือสร้าง ประเด็นเนื้อหาเฉพาะกลุ่ม สามารถทาได้ฟรี หรือหากมีอาจเสีย ค่าธรรมเนียมเพียงเล็กน้อย นิยมพิมพ์เป็นข้อความ (text) บอกถึง คุณสมบัติของสินค้าหรือบริการ อย่างคร่าวๆ โดยผู้ให้บริการบางราย อาจยินยอมให้เผยแพร่รูปภาพตัวอย่างได้ การลงประกาศโฆษณาขายสินค้าบนกระดารข่าวจัดทาป้ายโฆษณาออนไลน์ การเอารูปภาพบ่งบอก ความหมายและอธิบายแนวคิดบางอย่างของ ตัวสินค้ามาสร้าง banner พบเห็นได้หลายชนิด เช่น แบบยาวที่ ติดตั้งไว้ส่วนบนและส่วนล่างของ หน้าเว็บเพจ หรือแบบเล็กๆ ที่ติดไว้ส่วนกลางหรือด้านข้างของตัวเว็บ ใช้ เทคนิคแปลกๆเหมือนกับการสร้างป้ายโฆษณาจริง อาจมีค่าใช้จ่ายที่สูงกว่าการลงโฆษณาผ่านกระดานข่าวสร้าง โฆษณาผ่านอีเมล์ อาศัยการสร้างข้อความเอกสารคล้ายๆกับแผ่นพับหรือโบรชัวร์ เพื่อแจ้งข่าวสาร ผู้ขายสินค้าจะ รวบรวมรายชื่ออีเมล์ลูกค้าจานวนมาก และทาการส่งออกไปเป็นเอกสารเว็บในคราวเดียวกัน อาจได้ผลไม่ดีนัก
  • 7. หากเป็นการส่งจดหมายโฆษณาสินค้า ที่มีความถี่หรือบ่อยเกินไป เผยแพร่ผ่านสื่ออื่นๆ วิธีที่มีการใช้งานกันมา อย่างยาวนานและอาจให้ผลดีเช่นเดียวกัน พบเห็นได้กับการเผยแพร่ผ่านสื่อวิทยุ โทรทัศน์หรือสื่ออื่นๆ การใช้ ภาพ สีสัน หรือข้อความมีการกระตุ้นให้เกิดความต้องการ ซื้อสินค้าหรือบริการอาจมีค่าใช้จ่ายที่สูงกว่าแบบอื่นๆ โฆษณาเว็บไซต์บนรถโดยสารประจาทางของผู้ให้บริการข้อมูลบันเทิง ลงทะเบียนกับผู้ให้บริการค้นหาข้อมูล มีผู้ให้บริการค้นหาข้อมูล (search engine) อยู่มากมาย เช่น Google, Yahoo, Lycos, Astalavista, Sanook หรือ Hunsa อาศัยบริษัทตัวกลางที่ทาหน้าที่ดาเนินการ ให้แบบเสร็จสรรพ และลงทะเบียนกับผู้ให้บริการได้เป็นจาานวนมาก หรือแจ้งไปยังผู้ให้บริการค้นหาข้อมูลได้ โดยตรง วิธีนี้อาจทาให้สินค้าเป็นที่รู้จักกับคนทั่วโลกได้ง่ายมากขึ้น ขั้นตอนที่ 3 : การทารายการซื้อขาย ประกอบด้วยการทารายการสั่งซื้อหรือ order บางแห่งมีระบบที่เรียกว่า รถเข็นสินค้า (shopping cart) รองรับการชาระเงินหลายๆแบบ ที่นิยมมากเช่น บัตรเครดิต เพื่อให้ระบบน่าเชื่อถือ อาจต้องเข้ารหัส ข้อมูลที่ รับส่งด้วย วัตถุประสงค์ของการเข้ารหัสข้อมูล รักษาความลับ คือการป้องกันการดักอ่านข้อมูลโดยไม่ได้รับอนุญาต ผู้ซื้อและผู้ขายจริงเท่านั้นที่จะ ติดต่อกันได้เชื่อถือได้ คือถูกต้องตรงกัน ผู้ใดมาเปลี่ยนแปลงแก้ไขไม่ได้ หากมีการแก้ก็สามารถทราบได้ทันที เพราะผู้ที่แอบแก้ไขข้อมูลนั้น จะไม่สามารถเข้ารหัสใหม่ให้เหมือนเดิมได้ พิสูจน์ทราบตัวตนจริงๆของทั้งผู้ซื้อและ ผู้ขาย คือยืนยันว่าผู้ซื้อหรือผู้ขายเป็นผู้ทาการเข้ารหัสและส่งเอกสารนี้ออกมาจริงๆ เมื่อผู้ซื้อได้ทาการสั่งซื้อไป ผู้ขายเองจะไม่ส่งของหรือเปลี่ยนแปลงราคาภายหลังไม่ได้
  • 8. ตัวอย่างของการใช้บริการชาระเงินผ่านบัตรเครดิตของเว็บไซต์ thaiepay .com ขั้นตอนที่ 4 : การส่งมอบสินค้า สินค้าที่จะจัดส่งได้แบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้ - สินค้าที่จับต้องได้ (hard goods) สินค้าที่จัดอยู่ในกลุ่มที่มีตัวตนและจับต้องได้ เช่น หนังสือ เสื้อผ้า รองเท้า เครื่องประดับ สินค้าหัตถกรรม การจัดส่งสินค้าแบบจับต้องได้(hard goods) อาศัยวิธีการส่ง สินค้าตามปกติทั่วไป เช่น ระบบไปรษณีย์ทางเรือ ทางอากาศ - สินค้าที่จับต้องไม่ได้ (soft goods) เป็นสินค้าที่อยู่ในรูปดิจิตอล เช่น ข้อมูลข่าวสาร เพลง รูปภาพ เอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ หรือซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ การจัดส่งสินค้าแบบจับต้องไม่ได้ (soft goods) อาจใช้วิธีให้ลูกค้าดาวน์โหลด เช่น ซอฟต์แวร์ทางคอมพิวเตอร์ เพลงหรือไฟล์ภาพ ขั้นตอนที่ 5 : การบริการหลังการขาย นิยมใช้กับสินค้าที่มีขั้นตอนการใช้ที่ยุ่งยาก ซับซ้อน ไม่สามารถทาความเข้าใจได้โดยทันที ช่วยแก้ไขปัญหา เบื้องต้นให้กับลูกค้าได้เป็นอย่างดี ทาได้โดยจัดตั้งเป็นศูนย์บริการลูกค้าหรือ call center บางบริษัทอาจสร้าง ระบบปัญหาถามบ่อยหรือ FAQ (Frequency Ask Question) ที่มา http://www.baanjomyut.com/library_3/extension-1/e_commerce/02.html http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/tech04/22/cit/9_2.html http://suripla.blogspot.com/2013/05/12.html โดย จิดาภา ตรังหิรัณยธร ม.6/1 เลขที่ 56