SlideShare a Scribd company logo
1 of 49
Tanapat Limsaiprom
ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
1
E-Business Information Technology
Infrastructure
2
What is E-Business?
Definition:
 The use of Internet technologies to work and
empower business processes, electronic
commerce, and enterprise collaboration within a
company and with its customers, suppliers, and
other business stakeholders.
 An online exchange of value.
3
Concept of Subject
Integrate between
4
Bussiness
Concept
Information
Technology
Knowledge
+
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์คืออะไร
ธุรกิจ (Business) หมายถึง การประกอบกิจกรรมใดๆ ทางเศรษฐกิจที่เกี่ยงข้องกับ
การดาเนินงานด้านการผลิตสินค้าและบริการ ผ่านตลาดสู่มือผู้บริโภค
ธุรกิจ  ผลิต  ขาย
 กิจกรรมทางบัญชี การเงิน การจัดการทรัพยากรมนุษย์
 กาไรสูงสุด (Maximized Profit)
5
ความหมาย-ประโยชน์ของระบบ EDI
ความหมาย : การแลกเปลี่ยนเอกสารทางธุรกิจระหว่างบริษัทคู่ค้าในรูปแบบ
มาตรฐานสากลจากเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง ไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์อีกเครื่อง
หนึ่ง ทุกธุรกิจสามารถแลกเปลี่ยนเอกสารกันได้ทั่วโลก
(www.solutionscorp.co.th/edi/)
ประโยชน์ : - ลดค่าใช้จ่ายในการจัดเตรียมและจัดส่งเอกสาร
- เพิ่มความถูกต้อง รวดเร็ว ได้ทันเวลาในการรับ-ส่งเอกสาร
-ความได้เปรียบทางการแข่งขัน ลดค่าใช้จ่ายของคนกลาง
- สร้างโอกาสในการหาตลาดใหม่ด้วย ส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดี
6
การค้ารูปแบบการค้าโดยใช้ EDI
7
E-Commerce Framework
 การประยุกต์ใช้ (E-Commerce Application)
สร้างผลกาไรให้ธุรกิจ
 โครงสร้างพื้นฐาน (E-Commerce Infrastructure)
ความมั่นคง และมีความยืดหยุ่นตามความต้องการ ค้าจุน
หลังคาและเสาเรือน
 การสนับสนุน (E-Commerce Supporting)
ช่วยเหลือและสนับสนุนการประยุกต์ใช้ให้ทางานอย่างมี
ประสิทธิภาพ
 การจัดการ (E-Commerce Management)
8
คุณสมบัติเด่นของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 อยู่ทุกที่ ทุกเวลา (Ubiquity)
 เข้าถึงได้ทั่วโลก (Global Reach)
 มาตรฐานสากล (Universal Standards) ใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต
เป็นมาตรฐานเดี่ยวกัน
 ความสมบูรณ์ (Richness) ข้อมูลและเนื้อหามีความซับซ้อนมากขึ้น
 ปฏิสัมพันธ์ (Interactive)
9
 การทาให้ลูกค้าแต่ละคนพึงพอใจมากขึ้น (Personalization/
Customization)
 ส่งข่าวสารตรงไปยังผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมายได้ทันที
 ปรับเปลี่ยนข้อความและสินค้าหรือบริการให้ตรงความต้องการของผู้บริโภคทันที โดยใช้
ข้อมูลพฤติกรรมการซื้อในอดีต
10
e-Business
 e-Business นั้น คือ การดาเนินกิจกรรมทาง “ธุรกิจ”ต่างๆ ผ่านสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ การใช้คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสารและอินเทอร์เน็ต
เพื่อทาให้กระบวนการทางธุรกิจ มีประสิทธิภาพ และตอบสนองความต้องการของคู่ค้า
และลูกค้าให้ตรงใจ และรวดเร็วและเพื่อลดต้นทุน และขยายโอกาสทางการค้า และการ
บริการ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางธุรกิจที่องค์กรได้วางไว้
 เช่น การซื้อขายสินค้าและบริการ การโฆษณาผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็น
โทรศัพท์ โทรทัศน์ วิทยุ หรือแม้แต่อินเทอร์เน็ต
11
What is E-Commerce?
Definition:
The buying and selling, and marketing and servicing of
products, services, and information over a variety of
computer networks.
คือการซื้อขายสินค้า, การทาการตลาด, การให้บริการด้าน
สารสนเทศต่างๆ หรือเครือข่ายอื่นๆ สนับสนุนกระบวนการค้าใน
แต่ละขั้นตอน เพื่ออานวยความสะดวกให้กับลูกค้าบน WWW
และที่สาคัญต้องมีการควบคุมความปลอดภัย เช่น ระบบการ
ชาระเงินซื้อสินค้า เป็นต้น
12
E-Commerce
 E-Commerce มีชื่อที่แปลเป็นภาษาไทยว่า “พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์” โดย
ความหมายของคาว่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ มีผู้ให้คานิยามไว้เป็นจานวนมาก แต่ไม่มีคา
จากัดความใดที่ใช้เป็นคาอธิบายไว้อย่างเป็นทางการ ซึ่งมีดังนี้ “พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
คือ การดาเนินธุรกิจโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์” (ศูนย์พัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์,
2542)” “พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ คือ การผลิต การกระจาย การตลาด การขาย หรือการ
ขนส่งผลิตภัณฑ์และบริการโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์” (WTO, 1998) “พาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์ คือ ธุรกรรมทุกประเภทที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมเชิงพาณิชย์ ทั้งในระดับ
องค์กรและส่วนบุคคล บนพื้นฐานของ การประมวลและการส่งข้อมูลดิจิทัลที่มีทั้งข้อความ
เสียง และภาพ” (OECD, 1997)
13
วัตถุประสงค์
 เพื่อลดค่าใช้จ่าย และเพื่มประสิทธิภาพขององค์กร โดยการลดบทบาทองค์ประกอบ
ทางธุรกิจลง
 เช่น ทาเลที่ตั้ง อาคารประกอบการ โกดังเก็บสินค้า ห้องแสดงสินค้า รวมถึงพนักงาน
ขาย พนักงานแนะนาสินค้า พนักงานต้อนรับลูกค้า เป็นต้น จึงลดข้อจากัดของ
ระยะทาง และเวลาลงได้
14
E-Commerce ช่วยอานวยความสะดวกให้นัก
ธุรกิจ
1.ทางานแทนพนักงานขายได้ โดยสามารถทาการค้าแบบอัตโนมัติ ได้อย่างรวดเร็ว
2.ทาให้เปิดหน้าร้านขายของ ให้คนทั่วโลกได้ และเปิดขายได้ทุกวันโดยไม่มีวันหยุด
ตลอด 24 ชั่วโมง เช่น การขายโดยใช้ระบบ Shopping Cart ทาให้ลูกค้า
สามารถสั่งซื้อสินค้าได้เองตลอดเวลาผ่านเว็บไซต์
3.เก็บเงิน และนาฝาก เข้าบัญชีให้คุณได้โดยอัตโนมัติ
4.ทาให้ประหยัดค่าใช้จ่าย ในการจัดพิมพ์แคตาล็อก (กระดาษ) ออกมาเป็นเล่ม ๆ และ
ไม่ต้องมาเสียเงิน และเวลาในการจัดส่งให้ลูกค้าทางไปรษณีย์อีก
5.แทนได้ทั้งหน้าร้าน (Showroom) หรือบูท (Booth) แสดงสินค้าของคุณที่มี
คนทั่วโลกมองเห็น ไม่ต้องเสียค่าเครื่องบิน ไปออกงานแสดงสินค้าในต่างประเทศ
6.แทน และเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารธุรกิจ ภายในของเราได้อีกมากมาย
15
 กระบวนการพื้นฐานของธุรกิจ E-commerce นั้นประกอบด้วย 4 อย่าง
ด้วยกัน ดังต่อไปนี้
1. Catalog – การเลือกรายการสินค้าและบริการ
2. Order – การสั่งซื้อสินค้ากับผู้ขาย
3. Payment – การชาระเงินจากลูกค้า
4. Shipping – การขนส่งสินค้าไปยังลูกค้า
16
 ด้วยขั้นตอนและกระบวนการง่ายๆทาให้ E-commerce
- สามารถเข้าถึงลูกค้าได้กว้างขึ้น
- ประหยัดต้นทุนในการทาธุรกิจเพราะช่วยลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จาเป็น
- ช่วยให้ธุรกิจมีประสิทธิภาพเพื่มขึ้นมาก
17
E-Business-E-Commerce
จากความหมายของ e-business กับ e-commerce จะเห็นได้ว่าสองคานี้มี
ความหมายที่ใกล้เคียงกัน แต่อันที่จริงแล้วมีความหมายต่างกันโดย e-business
สรุปความหมายได้ว่าคือการทากิจกรรมทุกๆอย่าง ทุกขั้นตอนผ่านทางสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งมีขอบเขตกว้างกว่า แต่ e-commerce จะเน้นที่การซื้อขาย
สินค้าและบริการผ่านเครือข่ายอินเทอร์เนตเท่านั้น จึงสรุปได้ว่า e-commerce
เป็นส่วนหนึ่งของe-business
18
 ประโยชน์ของ E-commerce
ปัจจุบันทุกคนสามารถเข้าถึงอินเตอร์เน็ตได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว ดังนั้นการทา
ธุรกิจบนโลกออนไลน์จึงมีโอกาสสร้างรายได้มากมายภายในระยะเวลาอันสั้น ทั้งยัง
ช่วยลดช่องว่างทางการค้าระหว่างองค์กรกับร้านค้าขนาดขนาดเล็กอีกด้วย ซึ่งส่งผลดี
ทั้งผู้ค้าขาย ผู้ผลิตและผู้ซื้อมากมาย ได้แก่ ประหยัดเวลา สะดวกสบาย สามารถ
เปรียบเทียบราคาสินค้าและบริการได้ เป็นต้น
19
 Business-to-Business (B2B)
หมายถึง ผู้ประกอบการ กับ ผู้ประกอบการ (Business to Business –
B2B) คือการค้าระหว่างผู้ค้ากับลูกค้าเช่นกัน แต่ในที่นี้ลูกค้าจะเป็นในรูปแบบของ
ผู้ประกอบการ ในที่นี้จะครอบคลุมถึงเรื่อง การขายส่ง การทาการสั่งซื้อสินค้าผ่านทางระบบ
อิเล็กทรอนิกส์ ระบบห่วงโซ่การผลิต (Supply Chain Management) เป็นต้น
ซึ่งจะมีความซับซ้อนในระดับต่างๆกันไป
 กลุ่มธุรกิจการบิน กลุ่มผู้ค้าส่ง
 โรงงานผลิตรถยนต์ สั่งซื้อ วัตถุดิบ เหล็กจาก โรงงานเหล็ก
 โรงงานผลิตสินค้า ส่งสินค้าให้ห้างสรรพสินค้า
 What is more?
20
 Business-to-Customer (B2C)
หมายถึง ผู้ประกอบการ กับ ผู้บริโภค (Business to Consumer -
B2C) คือการค้าระหว่างผู้ค้าโดยตรงถึงลูกค้าซึ่งก็คือผู้บริโภค เช่น การขายหนังสือ
ขายวีดีโอ ขายซีดีเพลงเป็นต้น
 ซื้อหนังสือออนไลน์ (amazon.com)
 จองตั๋วเครื่องบินออนไลน์ (airasia.com)
 What is more?
21
 Business-to-Business-to-Customer (B2B2C)
หมายถึง เป็นการเชื่อมต่อ B2B และ B2C เข้าด้วยกัน นั่นคือ องค์กร
ธุรกิจขายให้องค์กรด้วยกัน แต่องค์กรจะจัดส่งสินค้าให้ลูกค้าอีกทีหนึ่ง
22
 Customer-to-Customer (C2C)
หมายถึง ผู้บริโภค กับ ผู้บริโภค (Consumer to Consumer -
C2C) คือการติดต่อระหว่างผู้บริโภคกับผู้บริโภคนั้น มีหลายรูปแบบและวัตถุประสงค์
เช่นเพื่อการติดต่อแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร ในกลุ่มคนที่มีการบริโภคเหมือนกัน หรือ
อาจจะทาการแลกเปลี่ยนสินค้ากันเอง ขายของมือสองเป็นต้น
23
Customer to Customer (C2C)
 Customer to Customer (C2C)
 การติดต่อซื้อขายผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกค์ระหว่างผู้บริโภคกับผู้บริโภคโดยตรง เช่น
 การประกาศขายของ บ้าน รถ ฯลฯ
 การประกาศแลกเปลี่ยนสินค้า ผ่านเวบไซต์
24
Customer-to-Business (C2B)
 Customer-to-Business (C2B)
หมายถึง คือการที่ลูกค้าระบุตัวสินค้าหรือบริการเฉพาะเจาะจงลงไปแล้วตัว
องค์กรเป็นตัวจัดหาสินค้าหรือบริการให้ลูกค้า
 การสมัครงานออนไลน์
 การสั่งซื้อของออกไลน์
25
กลุ่มที่ไม่หวังค้ากาไร( Non-Profits group)
 เป็นการนา รูปแบบ e-business มาประยุกต์ใช้อานวยความสะดวกในกิจกรรม
ขององค์กร เช่น
 Government to Business (G2B) คือการติดต่อธุรกรรมด้านธุรกิจ ผ่าน
ระบบอินเทอร์เน็ต เช่น การจัดการรับโอนเงินออนไลน์ การประมูลออนไลน์
(Electronic Auction) or การเสียภาษีออนไลน์ (Electronic Tax)…..
What is more?
26
Business to Government – (B2G)
 Business to Government – (B2G)
หมายถึง การประกอบธุรกิจระหว่างภาคเอกชนกับภาครัฐ ที่ใช้กันมากก็คือเรื่องการ
จัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐ หรือที่เรียกว่า e-Government Procurement
ในประเทศที่มีความก้าวหน้าด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แล้ว รัฐบาลจะทาการซื้อ/จัด
จ้างผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์เป็นส่วนใหญ่เพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย เช่นการประกาศจัด
จ้างของภาครัฐในเว็บไซต์ www.mahadthai.com
 การประมูลออนไลน์ (Electronic Auction)
 การเสียภาษีภาคธุรกิจออนไลน์ (Electronic Tax)
 What is more?
27
Government to Consumer –(G2C)
 ภาครัฐ กับ ประชาชน (Government to Consumer -G2C)
หมายถึงการ ดาเนินธุรกิจ ภาครัฐ กับ ประชาชน เนื่องจากเป็นการรูปใช้งาน
ระหว่างรัฐกับประชาชนจึงไม่ใช่วัตถุประสงค์เพื่อการค้า แต่จะเป็นเรื่องการบริการของ
ภาครัฐผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งปัจจุบันในประเทศไทยเองก็มีให้บริการแล้วหลาย
หน่วยงาน เช่นการคานวณและเสียภาษีผ่านอินเทอร์เน็ต, การให้บริการข้อมูล
ประชาชนผ่านอินเทอร์เน็ต เป็นต้น เช่นข้อมูลการติดต่อการทาทะเบียนต่างๆของ
กระทรวงมหาดไทย ประชาชนสามารถเข้าไปตรวจสอบว่าต้องใช้หลักฐานอะไรบ้างใน
การทาเรื่องนั้นๆ และสามารถดาวน์โหลดแบบฟอร์มบางอย่างจากบนเว็บไซต์ได้ด้วย
 การเสียภาษีออนไลน์ (Electronic Tax)
 What is more?
28
Government to Government(G2G)
 Government to Government(G2G) การติดต่อแลกเปลี่ยนข้อมูล
ระหว่างหน่วยงานของรัฐบาลหรือ การติดต่อระหว่างประเทศ เช่น
 การเชื่อมโยงข้อมูลทะเบียนราษฎร์
 การเชื่อมโยงข้อมูลของ ธนาคารแห่งประเทศไทย สานักงบประมาณ สานักงานเศรษฐกิจ
การคลัง สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
(http://www.fpo.go.th)
29
M-Commerce
 Mobile Commerce
หมายถึง M-Commerce คือ การดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรม หรือ
การเงิน โดยผ่านเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ หรือการค้าขายตามระบบแนวความคิดของระบบการค้า
อิเล็กทรอนิกส์ E-Commerce ที่ใช้อุปกรณ์พกพาไร้สายเป็นเครื่องมือในการสั่งซื้อ และขาย
สินค้า ต่างๆ
 ทั้งการสั่งซื้อสินค้าที่เป็นรูปธรรม หรือนามธรรม รวมทั้งการรับ-ส่งอีเมล์
 โทรศัพท์เคลื่อนสามารถพกพาไปได้ทุกที่ไม่จากัด ทาให้ตลาดการค้าออนไลน์ หรือการทาธุรกรรมเชิง
พาณิชย์ผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ เป็นตลาดที่น่ากลัวที่สุด เพราะสะดวกสบาย ไม่มีข้อจากัดในการจับจ่าย
และคนในสังคมไทยมีความคุ้นเคยกับการ ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่อยู่แล้ว
 M-Commerce เป็นการแตกแขนงของเทคโนโลยีที่มีผลกระทบโดยตรงต่อการขยายตัวของ
ธุรกิจพาณิชย์อิเล็คทรอนิคส์ โดย M-Commerce จะช่วยเร่งอัตราการเติบโตให้กับการดาเนิน
ธุรกรรมผ่านเครือข่ายอิเล็คทรอนิคส์ได้เร็วกว่าการใช้เทคโนโลยี E-Commerce
 ขอบเขตของ M-Commerce ครอบคลุมทั้งการดาเนินธุรกรรมระหว่างผู้ดาเนินธุรกิจ กับ
ผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Business to Customer หรือ B2C) และระหว่างผู้ดาเนิน
ธุรกิจด้วยกันเอง (Business to Business หรือ B2B)
30
M-Commerce
 โทรศัพท์เคลื่อนสามารถพกพาไปได้ทุกที่ไม่จากัด ทาให้ตลาดการค้าออนไลน์ หรือการทา
ธุรกรรมเชิงพาณิชย์ผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ เป็นตลาดที่น่ากลัวที่สุด เพราะสะดวกสบาย ไม่มี
ข้อจากัดในการจับจ่าย และคนในสังคมไทยมีความคุ้นเคยกับการ ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่อยู่แล้ว
 M-Commerce เป็นการแตกแขนงของเทคโนโลยีที่มีผลกระทบโดยตรงต่อการขยายตัว
ของธุรกิจพาณิชย์อิเล็คทรอนิคส์ โดย M-Commerce จะช่วยเร่งอัตราการเติบโตให้กับ
การดาเนินธุรกรรมผ่านเครือข่ายอิเล็คทรอนิคส์ได้เร็วกว่าการใช้เทคโนโลยี E-
Commerce
 ขอบเขตของ M-Commerce ครอบคลุมทั้งการดาเนินธุรกรรมระหว่างผู้ดาเนินธุรกิจ
กับผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Business to Customer หรือ B2C) และ
ระหว่างผู้ดาเนินธุรกิจด้วยกันเอง (Business to Business หรือ B2B)
31
คุณสมบัติเด่นของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 อยู่ทุกที่ ทุกเวลา (Ubiquity)
 เข้าถึงได้ทั่วโลก (Global Reach)
 มาตรฐานสากล (Universal Standards) ใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเป็น
มาตรฐานเดี่ยวกัน
 ความสมบูรณ์ (Richness) ข้อมูลและเนื้อหามีความซับซ้อนมากขึ้น
 ปฏิสัมพันธ์ (Interactive)
32
ประโยชน์ของระบบสารสนเทศที่มีต่อธุรกิจสมัยใหม่
33
ประโยชน์สารสนเทศ
34
ผู้ขาย
 เพิ่มความสัมพันธ์กับลูกค้า
 เช่น ระบบ CRM (Customer Relation Management)
35
ผู้ขาย
 เพิ่มยอดขาย
 เพิ่มช่องทางการขาย เช่น e-market place , web site
Facebook page ,Line Store
36
ผู้ขาย
 เพิ่มประสิทธิภาพในระบบสานักงาน
 เช่น Office Collaboration , E-mail , Business Line Group
,
37
ผู้ขาย
 ลดภาระคลังสินค้า
 เช่น ระบบบริหารจัดการคลังสินค้า Inventory Management ,
Warehouse Management ,
Supply chain management ,
38
ผู้ขาย
 เพิ่มสินค้าและบริการใหม่
 เช่นเดิมค่ายเพลง ค่ายหนัง จาหน่าย เพลงและหนัง บน เทป แผ่นเสียง CD ,DVD
สามารถเพิ่ม สินค้าใหม่ โดย Download จาก Internet
39
ผู้ขาย
 เปิดตลาดใหม่ (New Marketing Chanel)
 เพิ่มช่องทางการขาย เช่น e-market place , web site
Facebook page ,Line Store
40
ผู้ผลิต
 ลดเวลาการสั่งซื้อและส่งมอบ
41
ผู้ผลิต
 เพิ่มประสิทธิภาพภายในสายการผลิต
 Software MRP (Material Resource Planning)
 ERP (Enterprise Resource Planning)
42
ผู้ผลิต
 เพิ่มยอดขาย
 จากการใช้ประสิทธิภาพของเครื่องจักรได้มากขึ้น ทาให้สามารถผลิตได้มากและขายได้
มาก
43
ผู้ผลิต
 ลดเวลาการผลิต
 จากระบบจัดการต่างๆด้วยระบบสารสนเทศ เช่น Shop floor Control ,
MRP ,WIP (Work in process management) ทาให้สามารถลด
เวลาการผลิดลงได้
44
ผู้ผลิต
 ลดความผิดพลาดในการสือสาร
 เนื่องจากคุณสมบัติในเรื่องความถูกต้องของข้อมูล
การสื่อสารผ่านระบบเป็นตัวอักษรที่เข้าใจ อ่านได้ชัดเจนกว่า การสั่งการด้วยลายมือ
หรือ ใช้เสียง
เช่น ระบบบ่งชี้ต่างๆ บาร์โค้ด RFID QRCode
45
ผู้ซิ้อ
 หาข้อมูลเปรียบเทียบสินค้าและบริการ ได้มากชึ้น
 แลกเปลี่ยนข้อมูล สินค้า และบริการ กับผู้ซื้อรายอื่นผ่านเวปบอร์ด
 มีร้านค้าให้เลือกมากขึ้น
 ลดพ่อค้าคนกลาง
46
ประโยชน์
 การเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผล
 ทางานแทนพนักงาน ขาย และทาการค้า เก็บเงิน และนาฝากเข้าบัญชีแบบ
อัตโนมัติ
 ประหยัดค่าใช้จ่าย และเวลา ในการพิมพ์เป็นกระดาษ และค่าส่งแคตาล๊อกทาง
ไปรษณีย์ให้ลูกค้า
 การตอบสนองเพื่อการแข่งขัน มีการควบคุมและการปฏิสัมพันธ์ได้ด้วยตัวเอง
47
ประโยชน์
 เวลาที่ให้บริการ ได้ 24 ชั่วโมง ทุกวันไม่มีวันหยุด
 การสร้างร้านค้าเสมือนจริง แสดงรายการสินค้า (showroom) ได้ทั้งวัน ทั้ง
คืน ลูกค้าไม่ต้องเสียเวลาเดินทางมาชมสินค้า
 การติดตามพฤติกรรมของผู้บริโภค
 โครงข่ายเศรษฐกิจ มีการส่งเสริมภาพลักษณ์
 More ?
48
 END
49

More Related Content

What's hot (12)

อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
 
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
 
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
Ecommerce start
Ecommerce startEcommerce start
Ecommerce start
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
E commerce
E commerceE commerce
E commerce
 
Work3-35
Work3-35Work3-35
Work3-35
 
Electronic Data Interchange
Electronic Data InterchangeElectronic Data Interchange
Electronic Data Interchange
 
Intro to Electronic Commerce
Intro to Electronic CommerceIntro to Electronic Commerce
Intro to Electronic Commerce
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
Chapter 5 ec law
Chapter 5 ec lawChapter 5 ec law
Chapter 5 ec law
 
Chapter 5 ec_law
Chapter 5 ec_lawChapter 5 ec_law
Chapter 5 ec_law
 

Similar to Chapter 2 Module 2 Overview IT for Modern Trade

กลยุทธ์ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
กลยุทธ์ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์กลยุทธ์ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
กลยุทธ์ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์Praew3112BCS
 
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing Khonkaen University
 
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์.pdf
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์.pdfการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์.pdf
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์.pdfcilcil777
 
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ32040954
 
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ32040954
 
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ32040954
 
Smart industry Newsletter Vol34
Smart industry Newsletter Vol34Smart industry Newsletter Vol34
Smart industry Newsletter Vol34Chanpen Thawornsak
 
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์Maneerat Noitumyae
 
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์Maneerat Noitumyae
 
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์captsupphanuth
 
บทที่4 ธุรกิจออนไลน์มีผลดีอย่างไรในปัจจุบัน
บทที่4 ธุรกิจออนไลน์มีผลดีอย่างไรในปัจจุบันบทที่4 ธุรกิจออนไลน์มีผลดีอย่างไรในปัจจุบัน
บทที่4 ธุรกิจออนไลน์มีผลดีอย่างไรในปัจจุบันkkampanat
 

Similar to Chapter 2 Module 2 Overview IT for Modern Trade (20)

Chapter3 E Commerce
Chapter3 E CommerceChapter3 E Commerce
Chapter3 E Commerce
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
กลยุทธ์ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
กลยุทธ์ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์กลยุทธ์ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
กลยุทธ์ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
 
E commerce
E  commerceE  commerce
E commerce
 
E commerce
E commerceE commerce
E commerce
 
E office2011 2
E office2011 2E office2011 2
E office2011 2
 
Chap1
Chap1Chap1
Chap1
 
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์.pdf
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์.pdfการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์.pdf
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์.pdf
 
E R P8 Future
E R P8 FutureE R P8 Future
E R P8 Future
 
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Smart industry Newsletter Vol34
Smart industry Newsletter Vol34Smart industry Newsletter Vol34
Smart industry Newsletter Vol34
 
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
 
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
 
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
 
บทที่4 ธุรกิจออนไลน์มีผลดีอย่างไรในปัจจุบัน
บทที่4 ธุรกิจออนไลน์มีผลดีอย่างไรในปัจจุบันบทที่4 ธุรกิจออนไลน์มีผลดีอย่างไรในปัจจุบัน
บทที่4 ธุรกิจออนไลน์มีผลดีอย่างไรในปัจจุบัน
 
Chapter2 part1
Chapter2 part1Chapter2 part1
Chapter2 part1
 

More from ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม

More from ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม (20)

Tanapat-AWS-Certifacate-6-10.pdf
Tanapat-AWS-Certifacate-6-10.pdfTanapat-AWS-Certifacate-6-10.pdf
Tanapat-AWS-Certifacate-6-10.pdf
 
Tanapat-AWS-certificate-1-5.pdf
Tanapat-AWS-certificate-1-5.pdfTanapat-AWS-certificate-1-5.pdf
Tanapat-AWS-certificate-1-5.pdf
 
AWS Identity and access management , tanapat limsaiprom
AWS Identity and access management , tanapat limsaipromAWS Identity and access management , tanapat limsaiprom
AWS Identity and access management , tanapat limsaiprom
 
AWS Technical Essential , Tanapat Limsaiprom
AWS Technical Essential , Tanapat LimsaipromAWS Technical Essential , Tanapat Limsaiprom
AWS Technical Essential , Tanapat Limsaiprom
 
AWS Amazon DynamoDB
AWS Amazon DynamoDB AWS Amazon DynamoDB
AWS Amazon DynamoDB
 
Hr clinic2
Hr clinic2Hr clinic2
Hr clinic2
 
ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2
ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2
ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2
 
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
 
Mt60307 ch7-data visulization
Mt60307 ch7-data visulizationMt60307 ch7-data visulization
Mt60307 ch7-data visulization
 
Chapter 6 predictive Analytics
Chapter 6 predictive AnalyticsChapter 6 predictive Analytics
Chapter 6 predictive Analytics
 
Ch4 e retailing strategy v62-a4
Ch4 e retailing strategy v62-a4Ch4 e retailing strategy v62-a4
Ch4 e retailing strategy v62-a4
 
Chapter5 descriptive statistic
Chapter5 descriptive statisticChapter5 descriptive statistic
Chapter5 descriptive statistic
 
Ch2 bi gdata
Ch2 bi gdataCh2 bi gdata
Ch2 bi gdata
 
Chapter 2 : Data Management
Chapter 2 : Data ManagementChapter 2 : Data Management
Chapter 2 : Data Management
 
Ch1 Business Information foundation concept
Ch1 Business Information foundation conceptCh1 Business Information foundation concept
Ch1 Business Information foundation concept
 
Chapter2 e-retailing
Chapter2 e-retailingChapter2 e-retailing
Chapter2 e-retailing
 
Chapter2 module 4 Peopleware
Chapter2 module 4 PeoplewareChapter2 module 4 Peopleware
Chapter2 module 4 Peopleware
 
Chapter 2 Module 2 Hardware
Chapter 2 Module 2 HardwareChapter 2 Module 2 Hardware
Chapter 2 Module 2 Hardware
 
Chapter2 M1-foundation concepts-thai-62 feb
Chapter2 M1-foundation concepts-thai-62 febChapter2 M1-foundation concepts-thai-62 feb
Chapter2 M1-foundation concepts-thai-62 feb
 
Tv Rating
Tv RatingTv Rating
Tv Rating
 

Chapter 2 Module 2 Overview IT for Modern Trade

  • 3. What is E-Business? Definition:  The use of Internet technologies to work and empower business processes, electronic commerce, and enterprise collaboration within a company and with its customers, suppliers, and other business stakeholders.  An online exchange of value. 3
  • 4. Concept of Subject Integrate between 4 Bussiness Concept Information Technology Knowledge +
  • 5. ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์คืออะไร ธุรกิจ (Business) หมายถึง การประกอบกิจกรรมใดๆ ทางเศรษฐกิจที่เกี่ยงข้องกับ การดาเนินงานด้านการผลิตสินค้าและบริการ ผ่านตลาดสู่มือผู้บริโภค ธุรกิจ  ผลิต  ขาย  กิจกรรมทางบัญชี การเงิน การจัดการทรัพยากรมนุษย์  กาไรสูงสุด (Maximized Profit) 5
  • 6. ความหมาย-ประโยชน์ของระบบ EDI ความหมาย : การแลกเปลี่ยนเอกสารทางธุรกิจระหว่างบริษัทคู่ค้าในรูปแบบ มาตรฐานสากลจากเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง ไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์อีกเครื่อง หนึ่ง ทุกธุรกิจสามารถแลกเปลี่ยนเอกสารกันได้ทั่วโลก (www.solutionscorp.co.th/edi/) ประโยชน์ : - ลดค่าใช้จ่ายในการจัดเตรียมและจัดส่งเอกสาร - เพิ่มความถูกต้อง รวดเร็ว ได้ทันเวลาในการรับ-ส่งเอกสาร -ความได้เปรียบทางการแข่งขัน ลดค่าใช้จ่ายของคนกลาง - สร้างโอกาสในการหาตลาดใหม่ด้วย ส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดี 6
  • 8. E-Commerce Framework  การประยุกต์ใช้ (E-Commerce Application) สร้างผลกาไรให้ธุรกิจ  โครงสร้างพื้นฐาน (E-Commerce Infrastructure) ความมั่นคง และมีความยืดหยุ่นตามความต้องการ ค้าจุน หลังคาและเสาเรือน  การสนับสนุน (E-Commerce Supporting) ช่วยเหลือและสนับสนุนการประยุกต์ใช้ให้ทางานอย่างมี ประสิทธิภาพ  การจัดการ (E-Commerce Management) 8
  • 9. คุณสมบัติเด่นของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์  อยู่ทุกที่ ทุกเวลา (Ubiquity)  เข้าถึงได้ทั่วโลก (Global Reach)  มาตรฐานสากล (Universal Standards) ใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต เป็นมาตรฐานเดี่ยวกัน  ความสมบูรณ์ (Richness) ข้อมูลและเนื้อหามีความซับซ้อนมากขึ้น  ปฏิสัมพันธ์ (Interactive) 9
  • 10.  การทาให้ลูกค้าแต่ละคนพึงพอใจมากขึ้น (Personalization/ Customization)  ส่งข่าวสารตรงไปยังผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมายได้ทันที  ปรับเปลี่ยนข้อความและสินค้าหรือบริการให้ตรงความต้องการของผู้บริโภคทันที โดยใช้ ข้อมูลพฤติกรรมการซื้อในอดีต 10
  • 11. e-Business  e-Business นั้น คือ การดาเนินกิจกรรมทาง “ธุรกิจ”ต่างๆ ผ่านสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ การใช้คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสารและอินเทอร์เน็ต เพื่อทาให้กระบวนการทางธุรกิจ มีประสิทธิภาพ และตอบสนองความต้องการของคู่ค้า และลูกค้าให้ตรงใจ และรวดเร็วและเพื่อลดต้นทุน และขยายโอกาสทางการค้า และการ บริการ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางธุรกิจที่องค์กรได้วางไว้  เช่น การซื้อขายสินค้าและบริการ การโฆษณาผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็น โทรศัพท์ โทรทัศน์ วิทยุ หรือแม้แต่อินเทอร์เน็ต 11
  • 12. What is E-Commerce? Definition: The buying and selling, and marketing and servicing of products, services, and information over a variety of computer networks. คือการซื้อขายสินค้า, การทาการตลาด, การให้บริการด้าน สารสนเทศต่างๆ หรือเครือข่ายอื่นๆ สนับสนุนกระบวนการค้าใน แต่ละขั้นตอน เพื่ออานวยความสะดวกให้กับลูกค้าบน WWW และที่สาคัญต้องมีการควบคุมความปลอดภัย เช่น ระบบการ ชาระเงินซื้อสินค้า เป็นต้น 12
  • 13. E-Commerce  E-Commerce มีชื่อที่แปลเป็นภาษาไทยว่า “พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์” โดย ความหมายของคาว่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ มีผู้ให้คานิยามไว้เป็นจานวนมาก แต่ไม่มีคา จากัดความใดที่ใช้เป็นคาอธิบายไว้อย่างเป็นทางการ ซึ่งมีดังนี้ “พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ คือ การดาเนินธุรกิจโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์” (ศูนย์พัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์, 2542)” “พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ คือ การผลิต การกระจาย การตลาด การขาย หรือการ ขนส่งผลิตภัณฑ์และบริการโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์” (WTO, 1998) “พาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ คือ ธุรกรรมทุกประเภทที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมเชิงพาณิชย์ ทั้งในระดับ องค์กรและส่วนบุคคล บนพื้นฐานของ การประมวลและการส่งข้อมูลดิจิทัลที่มีทั้งข้อความ เสียง และภาพ” (OECD, 1997) 13
  • 14. วัตถุประสงค์  เพื่อลดค่าใช้จ่าย และเพื่มประสิทธิภาพขององค์กร โดยการลดบทบาทองค์ประกอบ ทางธุรกิจลง  เช่น ทาเลที่ตั้ง อาคารประกอบการ โกดังเก็บสินค้า ห้องแสดงสินค้า รวมถึงพนักงาน ขาย พนักงานแนะนาสินค้า พนักงานต้อนรับลูกค้า เป็นต้น จึงลดข้อจากัดของ ระยะทาง และเวลาลงได้ 14
  • 15. E-Commerce ช่วยอานวยความสะดวกให้นัก ธุรกิจ 1.ทางานแทนพนักงานขายได้ โดยสามารถทาการค้าแบบอัตโนมัติ ได้อย่างรวดเร็ว 2.ทาให้เปิดหน้าร้านขายของ ให้คนทั่วโลกได้ และเปิดขายได้ทุกวันโดยไม่มีวันหยุด ตลอด 24 ชั่วโมง เช่น การขายโดยใช้ระบบ Shopping Cart ทาให้ลูกค้า สามารถสั่งซื้อสินค้าได้เองตลอดเวลาผ่านเว็บไซต์ 3.เก็บเงิน และนาฝาก เข้าบัญชีให้คุณได้โดยอัตโนมัติ 4.ทาให้ประหยัดค่าใช้จ่าย ในการจัดพิมพ์แคตาล็อก (กระดาษ) ออกมาเป็นเล่ม ๆ และ ไม่ต้องมาเสียเงิน และเวลาในการจัดส่งให้ลูกค้าทางไปรษณีย์อีก 5.แทนได้ทั้งหน้าร้าน (Showroom) หรือบูท (Booth) แสดงสินค้าของคุณที่มี คนทั่วโลกมองเห็น ไม่ต้องเสียค่าเครื่องบิน ไปออกงานแสดงสินค้าในต่างประเทศ 6.แทน และเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารธุรกิจ ภายในของเราได้อีกมากมาย 15
  • 16.  กระบวนการพื้นฐานของธุรกิจ E-commerce นั้นประกอบด้วย 4 อย่าง ด้วยกัน ดังต่อไปนี้ 1. Catalog – การเลือกรายการสินค้าและบริการ 2. Order – การสั่งซื้อสินค้ากับผู้ขาย 3. Payment – การชาระเงินจากลูกค้า 4. Shipping – การขนส่งสินค้าไปยังลูกค้า 16
  • 17.  ด้วยขั้นตอนและกระบวนการง่ายๆทาให้ E-commerce - สามารถเข้าถึงลูกค้าได้กว้างขึ้น - ประหยัดต้นทุนในการทาธุรกิจเพราะช่วยลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จาเป็น - ช่วยให้ธุรกิจมีประสิทธิภาพเพื่มขึ้นมาก 17
  • 18. E-Business-E-Commerce จากความหมายของ e-business กับ e-commerce จะเห็นได้ว่าสองคานี้มี ความหมายที่ใกล้เคียงกัน แต่อันที่จริงแล้วมีความหมายต่างกันโดย e-business สรุปความหมายได้ว่าคือการทากิจกรรมทุกๆอย่าง ทุกขั้นตอนผ่านทางสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งมีขอบเขตกว้างกว่า แต่ e-commerce จะเน้นที่การซื้อขาย สินค้าและบริการผ่านเครือข่ายอินเทอร์เนตเท่านั้น จึงสรุปได้ว่า e-commerce เป็นส่วนหนึ่งของe-business 18
  • 19.  ประโยชน์ของ E-commerce ปัจจุบันทุกคนสามารถเข้าถึงอินเตอร์เน็ตได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว ดังนั้นการทา ธุรกิจบนโลกออนไลน์จึงมีโอกาสสร้างรายได้มากมายภายในระยะเวลาอันสั้น ทั้งยัง ช่วยลดช่องว่างทางการค้าระหว่างองค์กรกับร้านค้าขนาดขนาดเล็กอีกด้วย ซึ่งส่งผลดี ทั้งผู้ค้าขาย ผู้ผลิตและผู้ซื้อมากมาย ได้แก่ ประหยัดเวลา สะดวกสบาย สามารถ เปรียบเทียบราคาสินค้าและบริการได้ เป็นต้น 19
  • 20.  Business-to-Business (B2B) หมายถึง ผู้ประกอบการ กับ ผู้ประกอบการ (Business to Business – B2B) คือการค้าระหว่างผู้ค้ากับลูกค้าเช่นกัน แต่ในที่นี้ลูกค้าจะเป็นในรูปแบบของ ผู้ประกอบการ ในที่นี้จะครอบคลุมถึงเรื่อง การขายส่ง การทาการสั่งซื้อสินค้าผ่านทางระบบ อิเล็กทรอนิกส์ ระบบห่วงโซ่การผลิต (Supply Chain Management) เป็นต้น ซึ่งจะมีความซับซ้อนในระดับต่างๆกันไป  กลุ่มธุรกิจการบิน กลุ่มผู้ค้าส่ง  โรงงานผลิตรถยนต์ สั่งซื้อ วัตถุดิบ เหล็กจาก โรงงานเหล็ก  โรงงานผลิตสินค้า ส่งสินค้าให้ห้างสรรพสินค้า  What is more? 20
  • 21.  Business-to-Customer (B2C) หมายถึง ผู้ประกอบการ กับ ผู้บริโภค (Business to Consumer - B2C) คือการค้าระหว่างผู้ค้าโดยตรงถึงลูกค้าซึ่งก็คือผู้บริโภค เช่น การขายหนังสือ ขายวีดีโอ ขายซีดีเพลงเป็นต้น  ซื้อหนังสือออนไลน์ (amazon.com)  จองตั๋วเครื่องบินออนไลน์ (airasia.com)  What is more? 21
  • 22.  Business-to-Business-to-Customer (B2B2C) หมายถึง เป็นการเชื่อมต่อ B2B และ B2C เข้าด้วยกัน นั่นคือ องค์กร ธุรกิจขายให้องค์กรด้วยกัน แต่องค์กรจะจัดส่งสินค้าให้ลูกค้าอีกทีหนึ่ง 22
  • 23.  Customer-to-Customer (C2C) หมายถึง ผู้บริโภค กับ ผู้บริโภค (Consumer to Consumer - C2C) คือการติดต่อระหว่างผู้บริโภคกับผู้บริโภคนั้น มีหลายรูปแบบและวัตถุประสงค์ เช่นเพื่อการติดต่อแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร ในกลุ่มคนที่มีการบริโภคเหมือนกัน หรือ อาจจะทาการแลกเปลี่ยนสินค้ากันเอง ขายของมือสองเป็นต้น 23
  • 24. Customer to Customer (C2C)  Customer to Customer (C2C)  การติดต่อซื้อขายผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกค์ระหว่างผู้บริโภคกับผู้บริโภคโดยตรง เช่น  การประกาศขายของ บ้าน รถ ฯลฯ  การประกาศแลกเปลี่ยนสินค้า ผ่านเวบไซต์ 24
  • 25. Customer-to-Business (C2B)  Customer-to-Business (C2B) หมายถึง คือการที่ลูกค้าระบุตัวสินค้าหรือบริการเฉพาะเจาะจงลงไปแล้วตัว องค์กรเป็นตัวจัดหาสินค้าหรือบริการให้ลูกค้า  การสมัครงานออนไลน์  การสั่งซื้อของออกไลน์ 25
  • 26. กลุ่มที่ไม่หวังค้ากาไร( Non-Profits group)  เป็นการนา รูปแบบ e-business มาประยุกต์ใช้อานวยความสะดวกในกิจกรรม ขององค์กร เช่น  Government to Business (G2B) คือการติดต่อธุรกรรมด้านธุรกิจ ผ่าน ระบบอินเทอร์เน็ต เช่น การจัดการรับโอนเงินออนไลน์ การประมูลออนไลน์ (Electronic Auction) or การเสียภาษีออนไลน์ (Electronic Tax)….. What is more? 26
  • 27. Business to Government – (B2G)  Business to Government – (B2G) หมายถึง การประกอบธุรกิจระหว่างภาคเอกชนกับภาครัฐ ที่ใช้กันมากก็คือเรื่องการ จัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐ หรือที่เรียกว่า e-Government Procurement ในประเทศที่มีความก้าวหน้าด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แล้ว รัฐบาลจะทาการซื้อ/จัด จ้างผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์เป็นส่วนใหญ่เพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย เช่นการประกาศจัด จ้างของภาครัฐในเว็บไซต์ www.mahadthai.com  การประมูลออนไลน์ (Electronic Auction)  การเสียภาษีภาคธุรกิจออนไลน์ (Electronic Tax)  What is more? 27
  • 28. Government to Consumer –(G2C)  ภาครัฐ กับ ประชาชน (Government to Consumer -G2C) หมายถึงการ ดาเนินธุรกิจ ภาครัฐ กับ ประชาชน เนื่องจากเป็นการรูปใช้งาน ระหว่างรัฐกับประชาชนจึงไม่ใช่วัตถุประสงค์เพื่อการค้า แต่จะเป็นเรื่องการบริการของ ภาครัฐผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งปัจจุบันในประเทศไทยเองก็มีให้บริการแล้วหลาย หน่วยงาน เช่นการคานวณและเสียภาษีผ่านอินเทอร์เน็ต, การให้บริการข้อมูล ประชาชนผ่านอินเทอร์เน็ต เป็นต้น เช่นข้อมูลการติดต่อการทาทะเบียนต่างๆของ กระทรวงมหาดไทย ประชาชนสามารถเข้าไปตรวจสอบว่าต้องใช้หลักฐานอะไรบ้างใน การทาเรื่องนั้นๆ และสามารถดาวน์โหลดแบบฟอร์มบางอย่างจากบนเว็บไซต์ได้ด้วย  การเสียภาษีออนไลน์ (Electronic Tax)  What is more? 28
  • 29. Government to Government(G2G)  Government to Government(G2G) การติดต่อแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างหน่วยงานของรัฐบาลหรือ การติดต่อระหว่างประเทศ เช่น  การเชื่อมโยงข้อมูลทะเบียนราษฎร์  การเชื่อมโยงข้อมูลของ ธนาคารแห่งประเทศไทย สานักงบประมาณ สานักงานเศรษฐกิจ การคลัง สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (http://www.fpo.go.th) 29
  • 30. M-Commerce  Mobile Commerce หมายถึง M-Commerce คือ การดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรม หรือ การเงิน โดยผ่านเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ หรือการค้าขายตามระบบแนวความคิดของระบบการค้า อิเล็กทรอนิกส์ E-Commerce ที่ใช้อุปกรณ์พกพาไร้สายเป็นเครื่องมือในการสั่งซื้อ และขาย สินค้า ต่างๆ  ทั้งการสั่งซื้อสินค้าที่เป็นรูปธรรม หรือนามธรรม รวมทั้งการรับ-ส่งอีเมล์  โทรศัพท์เคลื่อนสามารถพกพาไปได้ทุกที่ไม่จากัด ทาให้ตลาดการค้าออนไลน์ หรือการทาธุรกรรมเชิง พาณิชย์ผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ เป็นตลาดที่น่ากลัวที่สุด เพราะสะดวกสบาย ไม่มีข้อจากัดในการจับจ่าย และคนในสังคมไทยมีความคุ้นเคยกับการ ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่อยู่แล้ว  M-Commerce เป็นการแตกแขนงของเทคโนโลยีที่มีผลกระทบโดยตรงต่อการขยายตัวของ ธุรกิจพาณิชย์อิเล็คทรอนิคส์ โดย M-Commerce จะช่วยเร่งอัตราการเติบโตให้กับการดาเนิน ธุรกรรมผ่านเครือข่ายอิเล็คทรอนิคส์ได้เร็วกว่าการใช้เทคโนโลยี E-Commerce  ขอบเขตของ M-Commerce ครอบคลุมทั้งการดาเนินธุรกรรมระหว่างผู้ดาเนินธุรกิจ กับ ผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Business to Customer หรือ B2C) และระหว่างผู้ดาเนิน ธุรกิจด้วยกันเอง (Business to Business หรือ B2B) 30
  • 31. M-Commerce  โทรศัพท์เคลื่อนสามารถพกพาไปได้ทุกที่ไม่จากัด ทาให้ตลาดการค้าออนไลน์ หรือการทา ธุรกรรมเชิงพาณิชย์ผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ เป็นตลาดที่น่ากลัวที่สุด เพราะสะดวกสบาย ไม่มี ข้อจากัดในการจับจ่าย และคนในสังคมไทยมีความคุ้นเคยกับการ ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่อยู่แล้ว  M-Commerce เป็นการแตกแขนงของเทคโนโลยีที่มีผลกระทบโดยตรงต่อการขยายตัว ของธุรกิจพาณิชย์อิเล็คทรอนิคส์ โดย M-Commerce จะช่วยเร่งอัตราการเติบโตให้กับ การดาเนินธุรกรรมผ่านเครือข่ายอิเล็คทรอนิคส์ได้เร็วกว่าการใช้เทคโนโลยี E- Commerce  ขอบเขตของ M-Commerce ครอบคลุมทั้งการดาเนินธุรกรรมระหว่างผู้ดาเนินธุรกิจ กับผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Business to Customer หรือ B2C) และ ระหว่างผู้ดาเนินธุรกิจด้วยกันเอง (Business to Business หรือ B2B) 31
  • 32. คุณสมบัติเด่นของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์  อยู่ทุกที่ ทุกเวลา (Ubiquity)  เข้าถึงได้ทั่วโลก (Global Reach)  มาตรฐานสากล (Universal Standards) ใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเป็น มาตรฐานเดี่ยวกัน  ความสมบูรณ์ (Richness) ข้อมูลและเนื้อหามีความซับซ้อนมากขึ้น  ปฏิสัมพันธ์ (Interactive) 32
  • 38. ผู้ขาย  ลดภาระคลังสินค้า  เช่น ระบบบริหารจัดการคลังสินค้า Inventory Management , Warehouse Management , Supply chain management , 38
  • 39. ผู้ขาย  เพิ่มสินค้าและบริการใหม่  เช่นเดิมค่ายเพลง ค่ายหนัง จาหน่าย เพลงและหนัง บน เทป แผ่นเสียง CD ,DVD สามารถเพิ่ม สินค้าใหม่ โดย Download จาก Internet 39
  • 40. ผู้ขาย  เปิดตลาดใหม่ (New Marketing Chanel)  เพิ่มช่องทางการขาย เช่น e-market place , web site Facebook page ,Line Store 40
  • 44. ผู้ผลิต  ลดเวลาการผลิต  จากระบบจัดการต่างๆด้วยระบบสารสนเทศ เช่น Shop floor Control , MRP ,WIP (Work in process management) ทาให้สามารถลด เวลาการผลิดลงได้ 44
  • 45. ผู้ผลิต  ลดความผิดพลาดในการสือสาร  เนื่องจากคุณสมบัติในเรื่องความถูกต้องของข้อมูล การสื่อสารผ่านระบบเป็นตัวอักษรที่เข้าใจ อ่านได้ชัดเจนกว่า การสั่งการด้วยลายมือ หรือ ใช้เสียง เช่น ระบบบ่งชี้ต่างๆ บาร์โค้ด RFID QRCode 45
  • 46. ผู้ซิ้อ  หาข้อมูลเปรียบเทียบสินค้าและบริการ ได้มากชึ้น  แลกเปลี่ยนข้อมูล สินค้า และบริการ กับผู้ซื้อรายอื่นผ่านเวปบอร์ด  มีร้านค้าให้เลือกมากขึ้น  ลดพ่อค้าคนกลาง 46
  • 47. ประโยชน์  การเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผล  ทางานแทนพนักงาน ขาย และทาการค้า เก็บเงิน และนาฝากเข้าบัญชีแบบ อัตโนมัติ  ประหยัดค่าใช้จ่าย และเวลา ในการพิมพ์เป็นกระดาษ และค่าส่งแคตาล๊อกทาง ไปรษณีย์ให้ลูกค้า  การตอบสนองเพื่อการแข่งขัน มีการควบคุมและการปฏิสัมพันธ์ได้ด้วยตัวเอง 47
  • 48. ประโยชน์  เวลาที่ให้บริการ ได้ 24 ชั่วโมง ทุกวันไม่มีวันหยุด  การสร้างร้านค้าเสมือนจริง แสดงรายการสินค้า (showroom) ได้ทั้งวัน ทั้ง คืน ลูกค้าไม่ต้องเสียเวลาเดินทางมาชมสินค้า  การติดตามพฤติกรรมของผู้บริโภค  โครงข่ายเศรษฐกิจ มีการส่งเสริมภาพลักษณ์  More ? 48