SlideShare a Scribd company logo
1 of 47
รู้จักกับภาษา
จาวา
Introduction to Java
language
• รู้จักกับภาษาจาวา
• เตรียมตัวก่อนเริ่มเขียนโปรแกรม
• เริ่มเขียนโปรแกรมจาวา
รู้จักกับภาษา Java
• Java เกิดขึ้นได้อย่างไร
– ภาษา Java นั้นได้รับการพัฒนามาจากบริษัท
Sun Microsystems ซึ่งเป็นบริษัทคอมพิวเตอร์
ชั้นนำาของโลก โดยถือกำาเนิดภายใต้โครงการ
Green Project ในปี 1996 ซึ่งมีหัวหน้าทีม
พัฒนาที่ชื่อว่า James Gosling ซึ่ง
โปรแกรมเมอร์ Java ทั่วโลกยกย่องว่าเป็น บิดา
ของ Java
James Gosling
บิดาของภาษา
Java
รู้จักกับภาษา Java (ต่อ)
• เหตุใดจึงนิยมเขียนโปรแกรมด้วย
ภาษา Java
– ภาษา Java นั้นมีปรัชญาการสร้างมาจากการที่
ต้องการทำาให้เราเขียนโปรแกรมเพียงครั้งเดียว
แต่สามารถนำาไปใช้งานได้ในอุปกรณ์ชนิดต่างๆ
ไม่จำากัดว่าต้องเป็นเพียงแค่คอมพิวเตอร์อย่าง
เดียว
“Write Once Run
Anywhere”
“Write Once Run
Anywhere”
รู้จักกับภาษา Java (ต่อ)
• การทำางานของโปรแกรมภาษา Java
– เราเขียนโปรแกรมของภาษา Java เราจะได้
Source Code ซึ่งเป็นไฟล์ที่มีนามสกุลเป็น
.java จากนั้นเรานำา Source Code ไปคอม
ไฟล์ให้กลายเป็นเป็น Java Byte Code (จะ
เก็บอยู่ในไฟล์ .class)
– เวลาที่ทำางานจริงในคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์
ใดๆ ก็ตาม Java Byte Code จะถูกคอมไพล์อีก
ครั้งให้เป็นภาษาเครื่องเฉพาะคอมพิวเตอร์ หรืออุ
ปกรณ์นั้นๆ เข้าใจ การคอมไพล์ครั้งนี้จะใช้
Java Virtual Machine คอมไพล์ และรัน
เราเขียน
(Source
Code)
Java Byte
Code
Java Virtual
Machine
Source
Code
Java Virtual
Machine
รู้จักกับภาษา Java (ต่อ)
• รูปแบบการเขียนโปรแกรมในภาษา
Java
– Java SE : ย่อมาจาก Java Standard
Edition เป็นรูปแบบการเขียนโปรแกรมสำาหรับ
การทำางานบนคอมพิวเตอร์ทั่วไป ถือว่าเป็นรูป
แบบแรกของภาษา Java
– Java EE : ย่อมาจาก Java Enterprise
Edition เป็นรูปแบบการเขียนโปรแกรมกับระบบ
งานขนาดใหญ่
– Java ME : ย่อมาจาก Java Micro Edition
เป็นรูปแบบการเขียนโปรแกรมกับอุปกรณ์ขนาด
แพล็ตฟอร์มของ Java
สาระสำาคัญ
• สำาหรับส่วนนี้เราได้เรียนรู้เกี่ยวกับภาษา
Java ซึ่งเป็นภาษาเขียนโปรแกรมที่ได้รับการ
พัฒนาภายใต้แนวคิด Write Once Run
Anywhere ทำาให้เราเขียนโปรแกรมเพียง
ครั้งเดียว แต่สามารถนำาไปรัน หรือใช้งาน
บนคอมพิวเตอร์ (หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์)
แบบต่างๆ ได้อย่างสะดวก โดย Java ได้รับ
การพัฒนาให้มีความาสามารถหลายหลาย
รองรับการทำางานในรูปแบบต่างๆ และ
ปัจจุบันก็มีโปรแกรมเมอร์มากมายทั่วโลก
ศึกษา และติดตามอย่างใกล้ชิด
เตรียมตัวก่อนเริ่ม
เขียนโปรแกรม
เตรียมตัวก่อนเขียนโปรแกรม
เตรียมตัวก่อนเขียนโปรแกรม
(ต่อ)
• ตรวจสอบความพร้อมของระบบ
– ระบบปฏิบัติการ : มีได้ทั้ง Windows 98, XP,
Vista, Linux, Unix, Solaris
– แรม และพื้นที่ว่างในฮาร์ดดิสก์ : สำาหรับ
แรมควรมีขนาดขั้นตำ่าตามที่ระบบปฏิบัติการได้
กำาหนดไว้ ส่วนพื้นที่ว่างฮาร์ดดิสก์ก่อนติดตั้ง
JDK และ eclipse ไม่ควรตำ่ากว่า 500 MB
ดาวน์โหลด และติดตั้ง JDK
1. สามารถติดตั้ง JDK โดยดาวน์โหลดจาก
เว็บไซต์http://java.sun.com/javase/downl
oads/index.jsp
ดาวน์โหลด และติดตั้ง JDK
(ต่อ)
2 . เมื่อดาวน์โหลดเสร็จให้ดับเบิ้ลคลิกที่ไอคอน
ของไฟล์ที่ดาวน์โหลดไว้
ดาวน์โหลด และติดตั้ง JDK
(ต่อ)
3. อ่านข้อกำาหนดแล้วคลิกปุ่ม
4. คลิกที่ปุ่ม
ดาวน์โหลด และติดตั้ง JDK
(ต่อ)
ดาวน์โหลด และติดตั้ง JDK
(ต่อ)
5. รอสักครู่ ชุดติดตั้งจะสอบถามให้ติดตั้งองค์
ประกอบเพิ่มเติมคลิก
6. สุดท้ายก็คลิก
ปรับแต่ง และทดสอบหลังติด
ตั้ง
1. เลือก Start > Programs >
Accessories > Command Prompt
2. ที่หน้าจอ Command Prompt ให้ป้อน
คำาสั่ง java –version เพื่อเป็นการแสดง
เวอร์ชันของ JDK ที่เราเพิ่งติดตั้งไป
ปรับแต่ง และทดสอบหลังติด
ตั้ง (ต่อ)
กำาหนด PATH เพื่อเรียกใช้โปรแกรม
ต่างๆ ใน JDK
3.คลิกขวาที่ My Computer แล้วเลือก
Properties
4.คลิกที่แท็บ Advanced แล้วคลิกปุ่ม
ปรับแต่ง และทดสอบหลังติด
ตั้ง (ต่อ)
5. ในกรอบ System variables คลิกเลือก
ตัวแปรระบบ Path ในรายการ คลิกปุ่ม
6. พิมพ์ต่อท้ายค่าที่ปรากฏในช่อง Variable
Value ด้วยข้อความ ;C:Program
FilesJavajdk1.6.0_13bin แล้วคลิก
ปุ่ม
การกำาหนดค่าตัวแปร
CLASSPATH
7. ให้คลิกปุ่ม
8. จะปรากฏหน้าต่าง New System
Variable ขึ้นมา ให้เราตั้งชื่อตัวแปร
ระบบ และกำาหนดค่าของตัวแปรนั้น แล้ว
คลิกที่ปุ่ม
การกำาหนดค่าตัวแปร
CLASSPATH (ต่อ)
• จะเห็นว่ามีตัวแปรระบบ CLASSPATH สร้าง
ขึ้นมาใหม่ จากนั้นคลิกปุ่ม
การดาวน์โหลด และติดตั้ง
โปรแกรม Eclipse
1. สามารถติดตั้งโปรแกรม Eclipse ได้โดยเข้าไปที่
www.eclipse.org/downloads/
การดาวน์โหลด และติดตั้ง
โปรแกรม Eclipse (ต่อ)
2. แตกไฟล์ Zip แล้วเข้าใช้งานโปรแกรมได้เลย
สาระสำาคัญ
• สำาหรับสวนนี้เราได้เรียนรู้สิ่งจำาเป็น และ
การเตรียมตัวเพื่อเขียนโปรแกรมกับภาษา
Java โดยได้แนะนำาให้รู้จักกับเครื่องมือชนิด
ต่างๆ รวมถึง JDK ที่เป็นเสมือนหัวใจของ
การเขียนโปรแกรมในภาษา Java
• เราได้ติดตั้ง JDK เวอร์ชันล่าสุด คือ Java SE
6.0 ซึ่งอาจจะเปลี่ยนแปลงเวอร์ชันอื่นๆ ได้
แต่เชื่อว่าสำาหรับการเขียนโปรแกรมระดับ
เบื้องต้นจะสามารถใช้เวอร์ชัน 6.0 ได้
เป็นต้นไปโดยไม่จำาเป็นต้องเปลี่ยนแปลงใดๆ
สาระสำาคัญ (ต่อ)
• หลังจากติดตั้ง JDK เรียบร้อยแล้วเราจึงเริ่ม
ติดตั้งเครื่องมือช่วยเขียนโปรแกรมคือ
eclipse ซึ่งอำานวยความสะดวกในการเขียน
โปรแกรม, การคอมไพล์ และการรัน ได้
มากกว่ารูปแบบเดิมๆ ที่เคยใช้คำาสั่งในแบบ
Command Line
สรุปขั้นตอนการเขียน
โปรแกรมภาษา java
ขั้นที่ 1 : สร้างโปรเจ็กต์
• โปรเจ็กต์คือ ที่รวมของไฟล์หลายๆ ไฟล์ที่
จำาเป็นต่อการทำางาน เพราะโดยปกติโปรแก
รมหนึ่งๆ จะประกอบไปด้วยไฟล์มากกว่าหนึ่ง
ไฟล์อยู่แล้ว
• ในทางปฏิบัติคือการสร้างโฟลเดอร์เตรียมไว้
ใส่ไฟล์ .java และ .class
ขั้นที่ 1 : สร้างโปรเจ็กต์ (ต่อ)
• เมื่อเปิดโปรแกรม Eclipse แล้ว ให้คลิกเลือก
โฟลเดอร์ที่เราสร้างเตรียมไว้เก็บไฟล์
ขั้นที่ 1 : สร้างโปรเจ็กต์ (ต่อ)
ขั้นที่ 1 : สร้างโปรเจ็กต์ (ต่อ)
• ที่ช่อง Project name ให้ตั้งชื่อ
• คลิกปุ่ม (ด้านล่าง) แล้วกด
ขั้นที่ 1 : สร้างโปรเจ็กต์ (ต่อ)
• ก่อนอื่นสร้าง class จาก Project ที่สร้างขึ้น
ขั้นที่ 1 : สร้างโปรเจ็กต์ (ต่อ)
ขั้นที่ 2 : เขียนโปรแกรม
• ให้เราพิมพ์คำาสั่งในภาษา Java เพิ่มเติม
แทรกเข้าไปดังนี้
ขั้นที่ 2 : เขียนโปรแกรม (ต่อ)
• โปรแกรมที่เราเขียนขึ้นมาเป็นโปรแกรมง่ายๆ ที่
เพียงแค่ส่งข้อความ “Hello World, Java” ออกไป
แสดงผลที่หน้าจอ
ขั้นที่ 3 + 4 : คอมไพล์ และรัน
โปรแกรม
• การคอมไพล์และรันโปรแกรมในกรณีปกติไม่มีการ
รับค่าอาร์กิวเมนต์
ขั้นที่ 3 + 4 : คอมไพล์ และรัน
โปรแกรม• การคอมไพล์และรันโปรแกรมในกรณีปกติไม่มีการ
รับค่าอาร์กิวเมนต์
ขั้นที่ 3 + 4 : คอมไพล์ และรัน
โปรแกรม (ต่อ)
• การคอมไพล์ และรันโปรแกรมในกรณีที่มีการรับ
ค่าอาร์กิวเมนต์
ขั้นที่ 3 + 4 : คอมไพล์ และรัน
โปรแกรม (ต่อ)
• การคอมไพล์ และรันโปรแกรมในกรณีที่มีการรับ
ค่าอาร์กิวเมนต์
ขั้นที่ 3 + 4 : คอมไพล์ และรัน
โปรแกรม (ต่อ)
• การคอมไพล์ และรันโปรแกรมในกรณีที่มีการ
รับค่าอาร์กิวเมนต์
ขั้นตอนที่ 5 : การบันทึกโปร
เจ็กต์
• จะเห็นว่าไฟล์ .java ซึ่งเก็บโค้ดที่เราเขียน
นั้นจะอยู่ในซับโฟลเดอร์ src ส่วนไฟล์
นามสกุล .class ซึ่งได้จากการคอมไพล์นั้น
จะเก็บอยู่ในซับโฟลเดอร์ bin (และทั้งหมด
จะเก็บในภายใต้โปรเจ็กต์ที่เราได้สร้างขึ้น)
สาระสำาคัญ
• ในส่วนนี้เราได้เรียนรู้ขั้นตอนโดยละเอียด
พร้อมทั้งฝึกปฏิบัติจริงให้เห็นถึงวิธีการเริ่มใช้
งาน eclipse, วิธีการเขียนโปรแกรม, การ
คอมไพล์โปรแกรม และวิธีการทดสอบ
โปรแกรมที่เขียนขึ้นมา
• จะเห็นว่าแม้จะมีขั้นตอนการใช้งานโปรแกรม
ที่หลายขั้นตอนแต่ก็ไม่ได้ซับซ้อน และการ
คอมไพล์กับการทดสอบผลลัพธ์การทำางาน
ของโปรแกรมก็ทำาได้ง่ายมาก
จัดทำาโดย
นายพฤฒพงศ์ ชาญวิทยา เลขที่
3
นายอังกูร กาญจนพิสิฐกุล เลขที่
5
น.ส.กัญญานัฐ ม่วงแก้ว เลขที่ 6
น.ส. ปรียาภรณ์ วิเศษสิงห์ เลขที่
9
น.ส. ปิยะกมล สืบกลัด เลขที่ 10
น.ส. อันธิกา แก้วมาเมือง เลขที่
13
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2

More Related Content

Viewers also liked

ใบความรู้เรื่องคำสั่ง Printf scanf
ใบความรู้เรื่องคำสั่ง Printf scanfใบความรู้เรื่องคำสั่ง Printf scanf
ใบความรู้เรื่องคำสั่ง Printf scanfธงชัย พาศรี
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซีkramsri
 
การเพิ่ม Pdf ใน wordpress
การเพิ่ม Pdf ใน wordpressการเพิ่ม Pdf ใน wordpress
การเพิ่ม Pdf ใน wordpresspantiluck
 
การใช้คอมพิวเตอร์สร้างสรรค์
การใช้คอมพิวเตอร์สร้างสรรค์การใช้คอมพิวเตอร์สร้างสรรค์
การใช้คอมพิวเตอร์สร้างสรรค์A'Aungkana AP
 
การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานอย่างมีจิตสำนึก
การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานอย่างมีจิตสำนึกการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานอย่างมีจิตสำนึก
การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานอย่างมีจิตสำนึกBeerii Prasamon
 
บทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปรบทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปรKomkai Pawuttanon
 
บทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศบทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศPa'rig Prig
 
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา Cการเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา CWarawut
 
แบบฝึกหัดท้ายบทที่6 (บันทึกอัตโนมัติ)
แบบฝึกหัดท้ายบทที่6 (บันทึกอัตโนมัติ)แบบฝึกหัดท้ายบทที่6 (บันทึกอัตโนมัติ)
แบบฝึกหัดท้ายบทที่6 (บันทึกอัตโนมัติ)0833592360
 
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ ปี 2559
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ  ปี 2559เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ  ปี 2559
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ ปี 2559เทวัญ ภูพานทอง
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดChuleekorn Rakchart
 
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)Visaitus Palasak
 
เรื่องที่ 7 การเขียนบรรณานุกรม
เรื่องที่ 7 การเขียนบรรณานุกรมเรื่องที่ 7 การเขียนบรรณานุกรม
เรื่องที่ 7 การเขียนบรรณานุกรมMarg Kok
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารKanlayanee Thongthab
 

Viewers also liked (18)

อ้างอิง
อ้างอิงอ้างอิง
อ้างอิง
 
ใบความรู้เรื่องคำสั่ง Printf scanf
ใบความรู้เรื่องคำสั่ง Printf scanfใบความรู้เรื่องคำสั่ง Printf scanf
ใบความรู้เรื่องคำสั่ง Printf scanf
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
การเพิ่ม Pdf ใน wordpress
การเพิ่ม Pdf ใน wordpressการเพิ่ม Pdf ใน wordpress
การเพิ่ม Pdf ใน wordpress
 
การใช้คอมพิวเตอร์สร้างสรรค์
การใช้คอมพิวเตอร์สร้างสรรค์การใช้คอมพิวเตอร์สร้างสรรค์
การใช้คอมพิวเตอร์สร้างสรรค์
 
การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานอย่างมีจิตสำนึก
การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานอย่างมีจิตสำนึกการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานอย่างมีจิตสำนึก
การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานอย่างมีจิตสำนึก
 
บทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปรบทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปร
 
บทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศบทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศ
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา Cการเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
 
แบบฝึกหัดท้ายบทที่6 (บันทึกอัตโนมัติ)
แบบฝึกหัดท้ายบทที่6 (บันทึกอัตโนมัติ)แบบฝึกหัดท้ายบทที่6 (บันทึกอัตโนมัติ)
แบบฝึกหัดท้ายบทที่6 (บันทึกอัตโนมัติ)
 
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ ปี 2559
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ  ปี 2559เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ  ปี 2559
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ ปี 2559
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
 
ภาษา C#
ภาษา C#ภาษา C#
ภาษา C#
 
หุ่นยนต์เก็บขยะ
หุ่นยนต์เก็บขยะหุ่นยนต์เก็บขยะ
หุ่นยนต์เก็บขยะ
 
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
 
เรื่องที่ 7 การเขียนบรรณานุกรม
เรื่องที่ 7 การเขียนบรรณานุกรมเรื่องที่ 7 การเขียนบรรณานุกรม
เรื่องที่ 7 การเขียนบรรณานุกรม
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
 

Similar to รู้จักกับภาษาจาวา

Java Programming [1/12] : Introduction
Java Programming [1/12] : IntroductionJava Programming [1/12] : Introduction
Java Programming [1/12] : IntroductionIMC Institute
 
ภาษาJava
ภาษาJavaภาษาJava
ภาษาJavaPhurin002
 
การเขียนโปรแกรมด้วย Net beans
การเขียนโปรแกรมด้วย Net beansการเขียนโปรแกรมด้วย Net beans
การเขียนโปรแกรมด้วย Net beansApisit Song
 
ความรู้เบื้องต้นภาษาจาวา
ความรู้เบื้องต้นภาษาจาวาความรู้เบื้องต้นภาษาจาวา
ความรู้เบื้องต้นภาษาจาวาThanachart Numnonda
 
Netbeans and Android Appliation
Netbeans and Android AppliationNetbeans and Android Appliation
Netbeans and Android AppliationSedthawoot Pitapo
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++Naowarat Jaikaroon
 
สร้างเว็บไซต์ด้วยWordpress
สร้างเว็บไซต์ด้วยWordpressสร้างเว็บไซต์ด้วยWordpress
สร้างเว็บไซต์ด้วยWordpresskruburapha2012
 
Javacentrix com chap04-0
Javacentrix com chap04-0Javacentrix com chap04-0
Javacentrix com chap04-0Theeravaj Tum
 
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net beans และการสร้าง App Android
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net beans และการสร้าง App Androidการเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net beans และการสร้าง App Android
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net beans และการสร้าง App AndroidAod Parinthorn
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาAeew Autaporn
 
Eclipse
EclipseEclipse
Eclipsegzxc
 

Similar to รู้จักกับภาษาจาวา (20)

บทที่ 2 เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเขียนโปรแกรม java
บทที่ 2 เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเขียนโปรแกรม javaบทที่ 2 เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเขียนโปรแกรม java
บทที่ 2 เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเขียนโปรแกรม java
 
Java Programming [1/12] : Introduction
Java Programming [1/12] : IntroductionJava Programming [1/12] : Introduction
Java Programming [1/12] : Introduction
 
ภาษาJava
ภาษาJavaภาษาJava
ภาษาJava
 
การเขียนโปรแกรมด้วย Net beans
การเขียนโปรแกรมด้วย Net beansการเขียนโปรแกรมด้วย Net beans
การเขียนโปรแกรมด้วย Net beans
 
ความรู้เบื้องต้นภาษาจาวา
ความรู้เบื้องต้นภาษาจาวาความรู้เบื้องต้นภาษาจาวา
ความรู้เบื้องต้นภาษาจาวา
 
20121102 joomla2-5
20121102 joomla2-520121102 joomla2-5
20121102 joomla2-5
 
คู่มือ Courselab
คู่มือ Courselabคู่มือ Courselab
คู่มือ Courselab
 
Netbeans and Android Appliation
Netbeans and Android AppliationNetbeans and Android Appliation
Netbeans and Android Appliation
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
สร้างเว็บไซต์ด้วยWordpress
สร้างเว็บไซต์ด้วยWordpressสร้างเว็บไซต์ด้วยWordpress
สร้างเว็บไซต์ด้วยWordpress
 
Javacentrix com chap04-0
Javacentrix com chap04-0Javacentrix com chap04-0
Javacentrix com chap04-0
 
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net beans และการสร้าง App Android
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net beans และการสร้าง App Androidการเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net beans และการสร้าง App Android
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net beans และการสร้าง App Android
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
Eclipse
EclipseEclipse
Eclipse
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 
รูปทรงกลม
รูปทรงกลมรูปทรงกลม
รูปทรงกลม
 

รู้จักกับภาษาจาวา

Editor's Notes

  1. c