SlideShare a Scribd company logo
1 of 51
พาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์
E-E-
7
บทนี้มีอะไรบ้าง ?
7.1 ความหมายของ E-Commerce
7.2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce
7.3 ประเภทของ E-Commerce
7.4 ขั้นตอนการซื้อขายผ่าน
อินเตอร์เน็ต
7.5 ระบบการจ่ายเงินอิเล็กทรอนิกส์
บทนี้มีอะไรบ้าง ?
7.6 ประโยชน์ของ E-Commerce
7.7 การประยุกต์ใช้ E-Commerce
7.8 ข้อจำากัดเกี่ยวกับ E-Commerce
7.9 สรุป
1 ความหมายของพาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) ได้มีผู้
ความหมายไว้หลายความหมาย เช่น
 กิจกรรมเชิงพาณิชย์ที่ดำาเนินการโดยมีการ
แลกเปลี่ยน เก็บรักษา หรือสื่อสารข้อมูล
ข่าวสาร โดยผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้ง
การแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ อีเมล์
และอื่น ๆ (Hill, 1997)
 การใช้วิธีการอิเล็กทรอนิกส์ในการดำาเนิน
งานให้บรรลุวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ รวมทั้ง
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น EDI การ
โอนเงินอิเล็กทรอนิกส์ การประมูล
1 ความหมายของพาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์
 E-Commerce หมายถึง การผลิต การกระ
จาย การตลาด การขาย หรือการขนส่ง
ผลิตภัณฑ์และบริการโดยสื่ออิเล็กทรอนิกส์
(World Trade Organization: WTO)
 E-Commerce คือ การซื้อขายสินค้า บริการ
และสารสนเทศผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รวมทั้งอินเตอร์เน็ต (Turban et al, 2000)
สรุป
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง การทำา
ธุรกรรมทุกรูปแบบโดยการครอบคลุม
ถึงการซื้อ-ขายสินค้า/บริการ การชำาระ
เงิน การโฆษณาโดยผ่านสื่อ
2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce
2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce
1 แอพพลิเคชั่นของ E-Commerce1 แอพพลิเคชั่นของ E-Commerce
การประยุกต์ใช้ E-Commerce มีการ
ประยุกต์ใช้อย่างกว้างขวางอย่างเช่น
การขายตรง
การซื้อขายหุ้น
การหางาน
ธนาคารออนไลน์
การจัดหาและการซื้อสินค้า
2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce
1 แอพพลิเคชั่นของ E-Commerce1 แอพพลิเคชั่นของ E-Commerce
การประมูล
การท่องเที่ยว
การบริการลูกค้า
การพิมพ์งานออนไลน์ (Online
publishing)
การติดต่อธุรกรรมระหว่างหน่วยงาน
ห้างสรรพสินค้า
2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce
จจัยทางการบริหารของระบบ E-Commerceจจัยทางการบริหารของระบบ E-Commerce
 องค์การ / บุคคลที่เกี่ยวข้องกับ
ระบบ E-Commerce
รัฐบาล
เตรียมความพร้อมโครงสร้างพื้นฐาน เช่น
เครือข่ายโทรศัพท์
ให้การสนับสนุนและส่งเสริม
ออกกฎระเบียบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce
จจัยทางการบริหารของระบบ E-Commerceจจัยทางการบริหารของระบบ E-Commerce
 องค์การ / บุคคลที่เกี่ยวข้องกับ
ระบบ E-Commerce
ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต (ISP)
ตัวกลาง (Intermediary) คือ หน่วย
งานกลางที่ออกใบรับรอง (Certificate)
ในระบบการชำาระเงิน และรับรองผู้ซื้อ
และผู้ขายว่าเป็นบุคคลหรือหน่วยงานที่
2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce
จจัยทางการบริหารของระบบ E-Commerceจจัยทางการบริหารของระบบ E-Commerce
 นโยบายสารธารณะและ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับระบบ E-
Commerce
ภาษี
กฎหมายและระเบียบต่างๆ
มาตรฐานด้านเทคนิค
2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce
Management Information System
จจัยทางการบริหารของระบบ E-Commerceจจัยทางการบริหารของระบบ E-Commerce
 การบริหารกลยุทธ์การตลาด
และการโฆษณา
การวิจัยทางการตลาด
การส่งเสริมการขาย
เนื้อหาในเว็ป
พันธมิตรทางการค้า
ลอจิสติกส์
2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce
งสร้างพื้นฐานและการพัฒนาระบบ E-Commerceงสร้างพื้นฐานและการพัฒนาระบบ E-Commerce
 โครงสร้างพื้นฐานในการ
บริการ
แคตตาล็อกสินค้าออนไลน์ (E-
Catalogue)
การชำาระเงิน
การจัดส่งสินค้า
การบริการหลังการขาย
การรักษาความปลอดภัย
2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce
งสร้างพื้นฐานและการพัฒนาระบบ E-Commerceงสร้างพื้นฐานและการพัฒนาระบบ E-Commerce
 การกระจายสารสนเทศ
EDI
E-mail
Hypertext Transfer Protocol
Chat room
2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce
งสร้างพื้นฐานและการพัฒนาระบบ E-Commerceงสร้างพื้นฐานและการพัฒนาระบบ E-Commerce
เนื้อหามัลติมีเดียส์/การ
ออกแบบ/การนำาเสนอ
HTML
JAVA
WWW
VRML
7.2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce
รงสร้างพื้นฐานและการพัฒนาระบบ E-Commerceรงสร้างพื้นฐานและการพัฒนาระบบ E-Commerce
 โครงสร้างเครือข่าย
เคเบิ้ลทีวี
อินเตอร์เน็ต
อินทราเน็ต
เอ็กซทราเน็ต
โทรศัพท์มือถือ
7.2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce
งสร้างพื้นฐานและการพัฒนาระบบ E-Commerceงสร้างพื้นฐานและการพัฒนาระบบ E-Commerce
 โครงสร้างอินเตอร์เฟซ
(Interface)
การออกแบบเว็บเพจ
ฐานข้อมูล
แอพพลิเคชั่น
3 ประเภทของ E-Commerce
E-Commerce มี 4 ประเภทหลัก
ๆ คือ
ธุรกิจกับธุรกิจ (Business to Business
หรือ B to B หรือ B2B)
ธุรกิจและลูกค้า (Business to
Consumers หรือ B to C หรือ B2C)
ธุรกิจกับรัฐบาล (Business to
3 ประเภทของ E-Commerce
B
B
G CG C
EDI
EDI
E-G
overnm
ent
E-RetailingE-Government E-Government E-Community
7. 3 ประเภทของ E-Commerce
Commerce แบบ B to BCommerce แบบ B to B
เป็นการทำาธุรกิจระหว่างธุรกิจ ซึ่ง
อาจมีทั้งภายในบริษัทเดียวกัน
(Intra-Company E-
Commerce) และระหว่างบริษัท
(Inter-Company E-
Commerce) ซึ่งมีรูปแบบดังนี้

Seller-Oriented Marketplace
7. 3 ประเภทของ E-Commerce
Commerce แบบ B to BCommerce แบบ B to B
 Seller-Oriented Marketplace
เป็นรูปแบบที่องค์กรขายสินค้าและบริการ
ให้แก่องค์การอื่นผ่านทางสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ คือธุรกิจ (ผู้ซื้อ) เข้าไป
ใน web site เลือกชมสินค้าในแคตตา
ล็อก และสั่งซื้อสินค้า ซึ่งส่วนใหญ่จะ
เป็นลูกค้าประจำา นอกจากนี้ยังมีระบบ
การสั่งสินค้า ระบบการจ่ายเงิน ผนวก
3 ประเภทของ E-Commerce
 Seller-Oriented Marketplace
Commerce แบบ B to BCommerce แบบ B to B
B
Bแคตตาล็อกของซัพพลายเออร์คำาสั่งซื้อของลูกค้า
C
C
Supplier’s E-mall
3 ประเภทของ E-Commerce
Commerce แบบ B to BCommerce แบบ B to B
Buyer-Oriented Marketplace
มีจุดมุ่งหมายในการลดต้นทุนของสินค้าที่
จะซื้อ หรือในตลาดที่มีการประมูล โดยมี
การประมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยผ่าน
ไปยังเครือข่ายอินทราเน็ตของผู้ซื้อเพื่อ
ประมวลหาผู้ขายที่ดีที่สุด
3 ประเภทของ E-Commerce
Buyer-Oriented Marketplace
Commerce แบบ B to BCommerce แบบ B to B
B
Bแคตตาล็อกของผู้ซื้อ
การประมูลของ
ซัพพลายเออร์
Buyer’s E-mall
ซัพพลายเออร์
3 ประเภทของ E-Commerce
Commerce แบบ B to CCommerce แบบ B to C
1) ร้านค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Retailing)
เป็นการขายตรงจากธุรกิจถึงลูกค้า
ซึ่งมีรูปแบบ 2 ประเภทคือ
 Solo Storefronts
 Electronic mall หรือ Cybermall
3 ประเภทของ E-Commerce
Commerce แบบ B to CCommerce แบบ B to C
2) การโฆษณา
 แบบ Banners
 แบบ E-mail (แต่อาจจะทำาให้เกิด
Spamming)
3) แค็ตตาล็อกอิเล็กทรอนิกส์
4) ธนาคารไซเบอร์ (Cyber banking
หรือ Electronic Banking หรือ
3 ประเภทของ E-Commerce
Commerce แบบ B to CCommerce แบบ B to C
5) ตลาดแรงงานออนไลน์ (Online job
market)
6) การท่องเที่ยว
7) อสังหาริมทรัพย์
8) การประมูล (Auctions)
4 ขั้นตอนการซื้อขายผ่านอินเตอร์เน็ต
การซื้อ ขายในระบบ E-Commerce มี
ขั้นตอน ดังต่อไปนี้
การค้นหาข้อมูล
การเลือกและการต่อรอง
การซื้อสินค้า/บริการทาง
อินเตอร์เน็ต
การจัดส่งสินค้า/บริการ
4 ขั้นตอนการซื้อขายผ่านอินเตอร์เน็ต
ผู้ซื้อ
การค้นหาข้อมูลการค้นหาข้อมูล
การเลือกและการต่อรอง
การซื้อ
การบริการหลังการขาย
การส่งสินค้า/บริการ
การส่งสินค้า
ทางอิเล็กทรอนิกส์
การส่งสินค้า
แบบดั้งเดิม
ที่มา: Stair, R.M. & G.W. Reynolds. 1999.
Principle of Information Systems: A Managerial
Approach. 4th
ed. Cambridge, MA: Course Technology, P.129
5 ระบบการจ่ายเงินอิเล็กทรอนิกส์
การจ่ายเงินแบบเดิม เช่น การใช้เงินสด,
เช็ค, ธนาณัติ, และการให้หมายเลข
Credit Card มีข้อจำากัดในการนำา
มาใช้กับระบบ E-Commerce เช่น
ความปลอดภัย, ความล่าช้า, และ
ต้นทุนในการดำาเนินการ ดังนั้น
ระบบ E-Commerce จึงได้มีการ
พัฒนาการชำาระแบบ Electronic
เช่น เช็คอิเล็กทรอนิกส์, เครดิต
5 ระบบการจ่ายเงินอิเล็กทรอนิกส์
1) เช็คอิเล็กทรอนิกส์ (E-Check)
ลักษณะเหมือนกับเช็คทั่วไป เหมาะกับการ
ชำาระเงินยอดที่ไม่มากนัก มีการรักษา
ความปลอดภัยโดยใช้รหัส ซึ่งมีขั้นตอน
ดังนี้
1) ลูกค้าเปิดบัญชีธนาคารที่ใช้เช็ค
2) ลูกค้าติดต่อผู้ขายเพื่อซื้อสินค้า/บริการ และ
E-mail ส่งเช็คอิเล็กทรอนิกส์โดยการใช้รหัส
และมีลายเซ็นดิจิทัล (Digital Signature)
3) ผู้ขายนำาเช็คเข้าไปฝากในบัญชีของตนเอง
5 ระบบการจ่ายเงินอิเล็กทรอนิกส์
2) เครดิตการ์ดอิเล็กทรอนิกส์
(Electronic credit cards)
ผู้ขาย
องค์การที่สาม (ผู้ออก CA)
ธนาคารของผู้ขาย
ธนาคารของผู้ซื้อ
เปิดบัญชี
ขอ Credit Card
สั่งสินค้า +
ข้อมูลการชำาระเงิน
ข้อมูลการจ่ายเงินที่ใส่
รหัสพร้อม Digital Signature
ถอดรหัส ส่งข้อมูล
ไปยังธนาคารผู้ขาย
คำาสั่งซื้อของลูกค้า
อนุมัติ/ปฏิเสธ
การจ่ายเงิน
ข้อมูลทางการเงิน
ของผู้ซื้อ
ยืนยันการสั่งซื้อ
5 ระบบการจ่ายเงินอิเล็กทรอนิกส์
3) เงินสดอิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Cash หรื Digital
Cash หรือ E-Money)
การจ่ายเงิน Electronic มีสองวิธี
คือ
 การจ่ายเงินสดที่อยู่ในเครื่อง พีซี (เป็น
ซอร์ฟแวร์การเงินที่ออกให้โดยธนาคาร)
 เงินสดในสมาร์ทการ์ด (มีลักษณะ
7. 5 ระบบการจ่ายเงินอิเล็กทรอนิกส์
4) การโอนเงินอิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Fund Transfer –
EFT)
เป็นการโอนเงินโดยใช้เครือข่ายสื่อสาร
โทรคมนาคม เช่นการโอนเงินระหว่าง
ธนาคารทั่วโลก, การโอนเงินโดยใช้
เครื่อง ATM, การชำาระสินค้าหรือบริการ
ผ่าน ATM, การโอนเงินเข้าบัญชีธนาคาร
ของพนักงาน, การจ่ายค่าสาธารณูปโภค
และค่าใช้จ่ายต่าง ๆ โดยหักจากบัญชี
7. 6 การประยุกต์ใช้ E-Commerce
ิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Government)เล็กทรอนิกส์ (Electronic Government)
เป็นการประยุกต์แนวคิดของ E-Commerce
โดยใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตในการรับ-
ส่ง สารสนเทศและการบริการของรัฐสู่
ประชาชน, ภาคธุรกิจ, หรือหน่วยงาน
ของรัฐ ซึ่งรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์มี 3 รูป
แบบ คือ
6 การประยุกต์ใช้ E-Commerce
ิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Government)เล็กทรอนิกส์ (Electronic Government)
1) รัฐบาลกับประชาชน (G2C)
คือการใช้บริการของรัฐไปยังประชาชน เช่น การ
เสียภาษี online เป็นต้น
2) รัฐบาลกับธุรกิจ(G2B)
เป็นการติดต่อระหว่างภาครัฐกับเอกชน หรือ
suppliers เพื่อดำาเนินธุรกิจ เช่น การประมูลผ่าน
อิเล็กทรอนิกส์ (E-Auction) การจัดซื้อจัดจ้าง
ผ่านอิเล็กทรอนิกส์ (E-Procurement)
3) รัฐบาลกับรัฐบาล (G2G)
6 การประยุกต์ใช้ E-Commerce
อิเล็กทรอนิกส์แบบเคลื่อนที่ (M-Commerce)อิเล็กทรอนิกส์แบบเคลื่อนที่ (M-Commerce)
คือ การทำาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์โดยผ่านอุปกรณ์
แบบไร้สาย เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่, PDA ซึ่ง
ลักษณะสำาคัญของ M-Commerce มีดังนี้
1) เคลื่อนไหวได้อย่างคล่องตัว (Mobility)
2) เข้าถึงง่าย (Reachability)
3) มีแพร่หลาย (Ubiquity)
4) สะดวกในการใช้งาน (Convenience)
ตัวอย่างเช่น I-MODE ของ NTT DoCoMo ของ
7 ประโยชน์ของ E-Commerce
ระโยชน์ต่อบุคคลระโยชน์ต่อบุคคล
1) มีสินค้าและบริการราคาถูกจำาหน่าย
2) ทำาให้ลูกค้ามีทางเลือกมากขึ้น
3) สามารถทำาธุรกรรมได้ตลอด 24 ชั่วโมง
4) ทราบข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าและบริการได้ในเวลา
ที่รวดเร็ว
5) ทำาให้ลูกค้าสามารถเลือกสินค้าตรงตามความ
ต้องการมากที่สุด
6) สนับสนุนการประมูลเสมือนจริง
7) ทำาให้ลูกค้าสามารถติดต่อกับลูกค้ารายอื่นใน
7 ประโยชน์ของ E-Commerce
ะโยชน์ต่อองค์การธุรกิจะโยชน์ต่อองค์การธุรกิจ
1) ขยายตลาดในระดับประเทศและระดับโลก
2) ทำาให้บริการลูกค้าได้จำานวนมากทั่วโลกด้วย
ต้นทุนที่ตำ่า
3) ลดปริมาณเอกสารเกี่ยวกับการสร้าง การ
ประมวล การกระจายการเก็บและการดึงข้อมูล
ได้ถึงร้อยละ 90
4) ลดต้นทุนการสื่อสารโทรคมนาคม เพราะ
Internet ราคาถูกกว่าโทรศัพท์
7 ประโยชน์ของ E-Commerce
ระโยชน์ต่อสังคมระโยชน์ต่อสังคม
1) ทำำให้คนสำมำรถทำำงำนที่บ้ำนได้
ทำำให้มีกำรเดินทำงน้อยลง ทำำให้กำร
จรำจรไม่ติดขัด ลดปัญหำมลพิษทำง
อำกำศ
2) ทำำให้มีกำรซื้อขำยสินค้ำรำคำถูกลง
คนที่มีฐำนะไม่รวยก็สำมำรถยกระดับ
มำตรฐำนกำรขำยสินค้ำและบริกำรได้
7. 7 ประโยชน์ของ E-Commerce
ะโยชน์ต่อระบบเศรษฐกิจะโยชน์ต่อระบบเศรษฐกิจ
1) กิจกำร SMEs ในประเทศกำำลังพัฒนำอำจได้
ประโยชน์จำกกำรเข้ำถึงตลำดที่กว้ำงขวำงใน
ระดับโลก
2) ทำำให้กิจกำรในประเทศกำำลังพัฒนำสำมำรถเข้ำ
ถึงเทคโนโลยีใหม่ ๆ ได้
3) บทบำทของพ่อค้ำคนกลำงลดลง ทำำให้ต้นทุน
กำรซื้อขำยลดลง ทำำให้อุปสรรคกำรเข้ำสู่ตลำด
ลดลงด้วย
4) ทำำให้ประชำชนในชนบทได้หำสินค้ำหรือบริกำร
7. 8 ข้อจำำกัดเกี่ยวกับ E-Commerce
อจำำกัดด้ำนเทคนิคอจำำกัดด้ำนเทคนิค
1) ขำดมำตรฐำนสำกลที่เป็นที่ยอมรับในด้ำน
คุณภำพ ควำมปลอดภัย และควำมน่ำเชื่อถือ
2) ควำมกว้ำงของช่องทำงกำรสื่อสำรมีจำำกัด
3) ซอร์ฟแวร์ยังกำำลังอยู่ระหว่ำงกำรพัฒนำ
4) ปัญหำควำมเข้ำกันได้ระหว่ำง Internet และ
ซอร์ฟแวร์ของ E-commerce กับแอพพลิเคชั่น
5) ต้องกำร Web Server และ Network Server
ที่ออกแบบมำเป็นพิเศษ
7. 8 ข้อจำำกัดเกี่ยวกับ E-Commerce
อจำำกัดด้ำนกฎหมำยอจำำกัดด้ำนกฎหมำย
1) กฎหมำยที่สำมำรถคุ้มครองกำรทำำธุรกรรมข้ำม
รัฐหรือข้ำมประเทศ ไม่มีมำตรฐำนที่เหมือนกัน
และมีลักษณะที่แตกต่ำงกัน
2) กำรใช้เอกสำรอิเล็กทรอนิกส์ หรือลำยมือชื่อ
อิเล็กทรอนิกส์จะมีผลทำงกฎหมำยหรือไม่
3) ปัญหำเกิดจำกกำรทำำธุรกรรม เช่น กำรส่งสินค้ำ
มีลักษณะแตกต่ำงจำกที่โฆษณำบนอินเทอร์เน็ต
จะมีกำรเรียกร้องค่ำเสียหำยได้หรือไม่
7. 8 ข้อจำำกัดเกี่ยวกับ E-Commerce
ข้อจำำกัดด้ำนธุรกิจข้อจำำกัดด้ำนธุรกิจ
1) วงจรผลิตภัณฑ์ (Product Life Cycle) จะสั้น
ลง เพรำะกำรเข้ำถึงข้อมูลทำำได้ง่ำยและรวดเร็ว
กำรลอกเลียนผลิตภัณฑ์จึงทำำได้รวดเร็ว เกิดคู่
แข่งเข้ำมำในตลำดได้ง่ำย จะต้องมีกำร
สร้ำงสรรค์ผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ เสมอ
2) ควำมพร้อมของภูมิภำคต่ำง ๆในกำรปรับ
โครงสร้ำงเพื่อรองรับกำรเจริญเติบโตของ E-
Commerce มีไม่เท่ำกัน
3) ภำษีและค่ำธรรมเนียม จำก E-Commerce จัด
7. 8 ข้อจำำกัดเกี่ยวกับ E-Commerce
ข้อจำำกัดด้ำนธุรกิจข้อจำำกัดด้ำนธุรกิจ
4) ต้นทุนในกำรสร้ำง E-Commerce ครบวงจร
ค่อนข้ำงสูง เพรำะรวมถึงค่ำ Hardware,
Software ที่มีประสิทธิภำพ ระบบควำม
ปลอดภัยที่น่ำเชื่อถือ กำรจัดกำรระบบเครือข่ำย
ตลอดจนค่ำจ้ำงบุคลำกร
5) ประเทศกำำลังพัฒนำต้องลงทุนทำงด้ำน
เทคโนโลยีสูงมำก ในโครงสร้ำงพื้นฐำน
6) เงินสดอิเลกทรอนิกส์ ทำำให้เกิดกำรฟอกเงินได้
ง่ำย เนื่องจำกกำรใช้เงินสดอิเล็กทรอนิกส์จะ
7. 8 ข้อจำำกัดเกี่ยวกับ E-Commerce
ข้อจำำกัดด้ำนอื่น ๆข้อจำำกัดด้ำนอื่น ๆ
1) กำรให้ข้อมูลที่เป็นเท็จบนอินเตอร์เน็ต มีมำก
และมีกำรขยำยตัวเร็วมำกกว่ำกำรพัฒนำของ
อินเตอร์เน็ตเสียอีก
2) สิทธิส่วนบุคคล (Privacy) ระบบกำรจ่ำยเงิน
หรือกำรให้ข้อมูลของลูกค้ำทำงอินเตอร์เน็ต
ทำำให้ผู้ขำยทรำบว่ำผู้ซื้อเป็นใคร และสำมำรถ
ใช้ซอร์ฟแวร์ติดตำมกิจกรรมต่ำง ๆ หรือส่ง
Spam ไปรบกวนได้
3) E-Commerce เหมำะกับระบบเศรษฐกิจที่
7. 8 ข้อจำำกัดเกี่ยวกับ E-Commerce
ข้อจำำกัดด้ำนอื่น ๆข้อจำำกัดด้ำนอื่น ๆ
4) ยังไม่มีกำรประเมินผลกำรดำำเนินงำน หรือวิธี
กำรที่ดีของ E-Commerce เช่น กำรโฆษณำ
ผ่ำนทำง E-Commerce ว่ำได้ผลเป็นอย่ำงไร
5) จำำนวนผู้ซื้อ / ขำย ที่ได้กำำไรหรือประโยชน์จำก
E-Commerce ยังมีจำำกัด โดยเฉพำะใน
ประเทศไทยซึ่งสัดส่วนของผู้ใช้อินเตอร์เน็ตต่อ
ประชำกรตำ่ำมำก และกำรใช้ E-Commerce
ในกำรซื้อ/ขำยสินค้ำ มีน้อยมำก
7. 9 สรุป
E-Commerce หมำยถึง กำรทำำธุรกรรมทุกรูป
แบบโดยผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์โดยเฉพำะอย่ำง
ยิ่งเครือข่ำยอินเตอร์เน็ต
แนวคิดของ E-Commerce ประกอบด้วยปัจจัย
3 ส่วน คือ 1) แอพพลิเคชั่นกำรใช้งำน 2)
ปัจจัยทำงกำรบริหำรที่เกี่ยวข้อง และ 3)
โครงสร้ำงพื้นฐำนของระบบ
E-Commerce มี 3 ประเภทคือ 1) ธุรกิจกับ
ธุรกิจ (B2B) 2) ธุรกิจกับลูกค้ำ (B2C) และ 3)
7. 9 สรุป
E-Commerce แบบ B2C มีหลำยประเภทเช่น
ร้ำนค้ำปลีกอิเล็กทรอนิกส์, กำรโฆษณำ
อิเล็กทรอนิกส์, ตลำดแรงงำน, กำรท่องเที่ยว,
กำรประมูล
E-Commerce แบบ B2G เป็นรูปแบบของ
รัฐบำลที่มีกำรติดต่อกับธุรกิจ และ G2G เป็นกำร
ติดต่อระหว่ำงหน่วยงำนของรัฐบำล หรืออำจ
เรียกว่ำ E-Government
ขั้นตอนกำรซื้อขำยผ่ำนอินเตอร์เน็ตมี 5 ขั้น
7. 9 สรุป
ระบบกำรจ่ำยเงินอิเล็กทรอนิกส์ มีหลำยรูปแบบ
เช่น เช็คอิเล็กทรอนิกส์, เครดิตคำร์ด
อิเล็กทรอนิกส์, เงินสดอิเล็กทรอนิกส์, และกำร
โอนเงินอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
กำรรักษำควำมปลอดภัยในระบบ E-
Commerce เป็นเรื่องที่มีควำมสำำคัญยิ่ง ซึ่งกำร
รักษำควำมปลอดภัยที่นิยมใช้คือ กำรแปลงรหัส
(Encryption) และใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Certificate) และโปรโตคอล
ประโยชน์ของ E-Commerce มีทั้งต่อบุคคล,
องค์กำร, สังคม, ระบบเศรษฐกิจ และข้อจำำกัดมี
จบกำรนำำเสนอ

More Related Content

Similar to Mi sch7

บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Wanphen Wirojcharoenwong
 
306325 unit2-e-application
306325 unit2-e-application306325 unit2-e-application
306325 unit2-e-applicationpop Jaturong
 
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์anusorn kraiwatnussorn
 
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์anusorn kraiwatnussorn
 
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซบทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซTeetut Tresirichod
 
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์cilcil777
 
ใบงานที่ 4 สิริวิมล มีทอง มีทอง ม.5 1 เลขที่ 25
ใบงานที่ 4 สิริวิมล มีทอง มีทอง ม.5 1 เลขที่ 25ใบงานที่ 4 สิริวิมล มีทอง มีทอง ม.5 1 เลขที่ 25
ใบงานที่ 4 สิริวิมล มีทอง มีทอง ม.5 1 เลขที่ 25Mind Sirivimol
 
E mail marketing tarad-award
E mail marketing tarad-awardE mail marketing tarad-award
E mail marketing tarad-awardsavalaktangmo
 
Email marketing tarad-awards-2010
Email marketing tarad-awards-2010Email marketing tarad-awards-2010
Email marketing tarad-awards-2010TARADAWARDS5
 
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commerce
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E CommerceF:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commerce
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commercethanapat yeekhaday
 
บทที่12-56
บทที่12-56บทที่12-56
บทที่12-56ppoparn
 

Similar to Mi sch7 (17)

Document present e-marketing
Document present e-marketingDocument present e-marketing
Document present e-marketing
 
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
306325 unit2-e-application
306325 unit2-e-application306325 unit2-e-application
306325 unit2-e-application
 
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
 
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
 
B2 b and e auction
B2 b and e auctionB2 b and e auction
B2 b and e auction
 
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซบทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ
 
Work3-35
Work3-35Work3-35
Work3-35
 
Lanlana chunstikul
Lanlana chunstikulLanlana chunstikul
Lanlana chunstikul
 
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
ใบงานที่ 4 สิริวิมล มีทอง มีทอง ม.5 1 เลขที่ 25
ใบงานที่ 4 สิริวิมล มีทอง มีทอง ม.5 1 เลขที่ 25ใบงานที่ 4 สิริวิมล มีทอง มีทอง ม.5 1 เลขที่ 25
ใบงานที่ 4 สิริวิมล มีทอง มีทอง ม.5 1 เลขที่ 25
 
E mail marketing tarad-award
E mail marketing tarad-awardE mail marketing tarad-award
E mail marketing tarad-award
 
Email marketing tarad-awards-2010
Email marketing tarad-awards-2010Email marketing tarad-awards-2010
Email marketing tarad-awards-2010
 
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commerce
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E CommerceF:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commerce
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commerce
 
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
Chap1
Chap1Chap1
Chap1
 
บทที่12-56
บทที่12-56บทที่12-56
บทที่12-56
 

More from Prapaporn Boonplord

บริบทสังคมทางการศึกษา ทศวรรษที่ 21
บริบทสังคมทางการศึกษา ทศวรรษที่ 21บริบทสังคมทางการศึกษา ทศวรรษที่ 21
บริบทสังคมทางการศึกษา ทศวรรษที่ 21Prapaporn Boonplord
 
ทฤษฎีทางการบริหาร1
ทฤษฎีทางการบริหาร1ทฤษฎีทางการบริหาร1
ทฤษฎีทางการบริหาร1Prapaporn Boonplord
 
ทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารPrapaporn Boonplord
 
หัวข้อวิทยานิพนธ์ป.โท
หัวข้อวิทยานิพนธ์ป.โทหัวข้อวิทยานิพนธ์ป.โท
หัวข้อวิทยานิพนธ์ป.โทPrapaporn Boonplord
 
สารสนเทศเพื่อการวางแผน
สารสนเทศเพื่อการวางแผนสารสนเทศเพื่อการวางแผน
สารสนเทศเพื่อการวางแผนPrapaporn Boonplord
 
นำเสนอโครงการอาคารจอมสุรินทร์
นำเสนอโครงการอาคารจอมสุรินทร์นำเสนอโครงการอาคารจอมสุรินทร์
นำเสนอโครงการอาคารจอมสุรินทร์Prapaporn Boonplord
 
หัวข้อวิทยานิพนธ์ป.โท
หัวข้อวิทยานิพนธ์ป.โทหัวข้อวิทยานิพนธ์ป.โท
หัวข้อวิทยานิพนธ์ป.โทPrapaporn Boonplord
 
สารสนเทศเพื่อการวางแผน
สารสนเทศเพื่อการวางแผนสารสนเทศเพื่อการวางแผน
สารสนเทศเพื่อการวางแผนPrapaporn Boonplord
 
นำเสนอโครงการอาคารจอมสุรินทร์
นำเสนอโครงการอาคารจอมสุรินทร์นำเสนอโครงการอาคารจอมสุรินทร์
นำเสนอโครงการอาคารจอมสุรินทร์Prapaporn Boonplord
 

More from Prapaporn Boonplord (20)

บริบทสังคมทางการศึกษา ทศวรรษที่ 21
บริบทสังคมทางการศึกษา ทศวรรษที่ 21บริบทสังคมทางการศึกษา ทศวรรษที่ 21
บริบทสังคมทางการศึกษา ทศวรรษที่ 21
 
ทฤษฎีทางการบริหาร1
ทฤษฎีทางการบริหาร1ทฤษฎีทางการบริหาร1
ทฤษฎีทางการบริหาร1
 
ทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหาร
 
หัวข้อวิทยานิพนธ์ป.โท
หัวข้อวิทยานิพนธ์ป.โทหัวข้อวิทยานิพนธ์ป.โท
หัวข้อวิทยานิพนธ์ป.โท
 
Business plan
Business planBusiness plan
Business plan
 
สารสนเทศเพื่อการวางแผน
สารสนเทศเพื่อการวางแผนสารสนเทศเพื่อการวางแผน
สารสนเทศเพื่อการวางแผน
 
นำเสนอโครงการอาคารจอมสุรินทร์
นำเสนอโครงการอาคารจอมสุรินทร์นำเสนอโครงการอาคารจอมสุรินทร์
นำเสนอโครงการอาคารจอมสุรินทร์
 
หัวข้อวิทยานิพนธ์ป.โท
หัวข้อวิทยานิพนธ์ป.โทหัวข้อวิทยานิพนธ์ป.โท
หัวข้อวิทยานิพนธ์ป.โท
 
สารสนเทศเพื่อการวางแผน
สารสนเทศเพื่อการวางแผนสารสนเทศเพื่อการวางแผน
สารสนเทศเพื่อการวางแผน
 
นำเสนอโครงการอาคารจอมสุรินทร์
นำเสนอโครงการอาคารจอมสุรินทร์นำเสนอโครงการอาคารจอมสุรินทร์
นำเสนอโครงการอาคารจอมสุรินทร์
 
Business plan
Business planBusiness plan
Business plan
 
Mi sch9
Mi sch9Mi sch9
Mi sch9
 
Mi sch8
Mi sch8Mi sch8
Mi sch8
 
Mi sch6
Mi sch6Mi sch6
Mi sch6
 
Mi sch5
Mi sch5Mi sch5
Mi sch5
 
Mi sch4
Mi sch4Mi sch4
Mi sch4
 
Mi sch3
Mi sch3Mi sch3
Mi sch3
 
Mi sch2
Mi sch2Mi sch2
Mi sch2
 
Mi sch1
Mi sch1Mi sch1
Mi sch1
 
Mi sch1
Mi sch1Mi sch1
Mi sch1
 

Mi sch7

  • 2. บทนี้มีอะไรบ้าง ? 7.1 ความหมายของ E-Commerce 7.2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce 7.3 ประเภทของ E-Commerce 7.4 ขั้นตอนการซื้อขายผ่าน อินเตอร์เน็ต 7.5 ระบบการจ่ายเงินอิเล็กทรอนิกส์
  • 3. บทนี้มีอะไรบ้าง ? 7.6 ประโยชน์ของ E-Commerce 7.7 การประยุกต์ใช้ E-Commerce 7.8 ข้อจำากัดเกี่ยวกับ E-Commerce 7.9 สรุป
  • 4. 1 ความหมายของพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) ได้มีผู้ ความหมายไว้หลายความหมาย เช่น  กิจกรรมเชิงพาณิชย์ที่ดำาเนินการโดยมีการ แลกเปลี่ยน เก็บรักษา หรือสื่อสารข้อมูล ข่าวสาร โดยผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้ง การแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ อีเมล์ และอื่น ๆ (Hill, 1997)  การใช้วิธีการอิเล็กทรอนิกส์ในการดำาเนิน งานให้บรรลุวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ รวมทั้ง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น EDI การ โอนเงินอิเล็กทรอนิกส์ การประมูล
  • 5. 1 ความหมายของพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์  E-Commerce หมายถึง การผลิต การกระ จาย การตลาด การขาย หรือการขนส่ง ผลิตภัณฑ์และบริการโดยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (World Trade Organization: WTO)  E-Commerce คือ การซื้อขายสินค้า บริการ และสารสนเทศผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ รวมทั้งอินเตอร์เน็ต (Turban et al, 2000) สรุป พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง การทำา ธุรกรรมทุกรูปแบบโดยการครอบคลุม ถึงการซื้อ-ขายสินค้า/บริการ การชำาระ เงิน การโฆษณาโดยผ่านสื่อ
  • 7. 2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce 1 แอพพลิเคชั่นของ E-Commerce1 แอพพลิเคชั่นของ E-Commerce การประยุกต์ใช้ E-Commerce มีการ ประยุกต์ใช้อย่างกว้างขวางอย่างเช่น การขายตรง การซื้อขายหุ้น การหางาน ธนาคารออนไลน์ การจัดหาและการซื้อสินค้า
  • 8. 2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce 1 แอพพลิเคชั่นของ E-Commerce1 แอพพลิเคชั่นของ E-Commerce การประมูล การท่องเที่ยว การบริการลูกค้า การพิมพ์งานออนไลน์ (Online publishing) การติดต่อธุรกรรมระหว่างหน่วยงาน ห้างสรรพสินค้า
  • 9. 2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce จจัยทางการบริหารของระบบ E-Commerceจจัยทางการบริหารของระบบ E-Commerce  องค์การ / บุคคลที่เกี่ยวข้องกับ ระบบ E-Commerce รัฐบาล เตรียมความพร้อมโครงสร้างพื้นฐาน เช่น เครือข่ายโทรศัพท์ ให้การสนับสนุนและส่งเสริม ออกกฎระเบียบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
  • 10. 2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce จจัยทางการบริหารของระบบ E-Commerceจจัยทางการบริหารของระบบ E-Commerce  องค์การ / บุคคลที่เกี่ยวข้องกับ ระบบ E-Commerce ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต (ISP) ตัวกลาง (Intermediary) คือ หน่วย งานกลางที่ออกใบรับรอง (Certificate) ในระบบการชำาระเงิน และรับรองผู้ซื้อ และผู้ขายว่าเป็นบุคคลหรือหน่วยงานที่
  • 11. 2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce จจัยทางการบริหารของระบบ E-Commerceจจัยทางการบริหารของระบบ E-Commerce  นโยบายสารธารณะและ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับระบบ E- Commerce ภาษี กฎหมายและระเบียบต่างๆ มาตรฐานด้านเทคนิค
  • 12. 2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce Management Information System จจัยทางการบริหารของระบบ E-Commerceจจัยทางการบริหารของระบบ E-Commerce  การบริหารกลยุทธ์การตลาด และการโฆษณา การวิจัยทางการตลาด การส่งเสริมการขาย เนื้อหาในเว็ป พันธมิตรทางการค้า ลอจิสติกส์
  • 13. 2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce งสร้างพื้นฐานและการพัฒนาระบบ E-Commerceงสร้างพื้นฐานและการพัฒนาระบบ E-Commerce  โครงสร้างพื้นฐานในการ บริการ แคตตาล็อกสินค้าออนไลน์ (E- Catalogue) การชำาระเงิน การจัดส่งสินค้า การบริการหลังการขาย การรักษาความปลอดภัย
  • 14. 2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce งสร้างพื้นฐานและการพัฒนาระบบ E-Commerceงสร้างพื้นฐานและการพัฒนาระบบ E-Commerce  การกระจายสารสนเทศ EDI E-mail Hypertext Transfer Protocol Chat room
  • 15. 2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce งสร้างพื้นฐานและการพัฒนาระบบ E-Commerceงสร้างพื้นฐานและการพัฒนาระบบ E-Commerce เนื้อหามัลติมีเดียส์/การ ออกแบบ/การนำาเสนอ HTML JAVA WWW VRML
  • 16. 7.2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce รงสร้างพื้นฐานและการพัฒนาระบบ E-Commerceรงสร้างพื้นฐานและการพัฒนาระบบ E-Commerce  โครงสร้างเครือข่าย เคเบิ้ลทีวี อินเตอร์เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซทราเน็ต โทรศัพท์มือถือ
  • 17. 7.2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce งสร้างพื้นฐานและการพัฒนาระบบ E-Commerceงสร้างพื้นฐานและการพัฒนาระบบ E-Commerce  โครงสร้างอินเตอร์เฟซ (Interface) การออกแบบเว็บเพจ ฐานข้อมูล แอพพลิเคชั่น
  • 18. 3 ประเภทของ E-Commerce E-Commerce มี 4 ประเภทหลัก ๆ คือ ธุรกิจกับธุรกิจ (Business to Business หรือ B to B หรือ B2B) ธุรกิจและลูกค้า (Business to Consumers หรือ B to C หรือ B2C) ธุรกิจกับรัฐบาล (Business to
  • 19. 3 ประเภทของ E-Commerce B B G CG C EDI EDI E-G overnm ent E-RetailingE-Government E-Government E-Community
  • 20. 7. 3 ประเภทของ E-Commerce Commerce แบบ B to BCommerce แบบ B to B เป็นการทำาธุรกิจระหว่างธุรกิจ ซึ่ง อาจมีทั้งภายในบริษัทเดียวกัน (Intra-Company E- Commerce) และระหว่างบริษัท (Inter-Company E- Commerce) ซึ่งมีรูปแบบดังนี้  Seller-Oriented Marketplace
  • 21. 7. 3 ประเภทของ E-Commerce Commerce แบบ B to BCommerce แบบ B to B  Seller-Oriented Marketplace เป็นรูปแบบที่องค์กรขายสินค้าและบริการ ให้แก่องค์การอื่นผ่านทางสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ คือธุรกิจ (ผู้ซื้อ) เข้าไป ใน web site เลือกชมสินค้าในแคตตา ล็อก และสั่งซื้อสินค้า ซึ่งส่วนใหญ่จะ เป็นลูกค้าประจำา นอกจากนี้ยังมีระบบ การสั่งสินค้า ระบบการจ่ายเงิน ผนวก
  • 22. 3 ประเภทของ E-Commerce  Seller-Oriented Marketplace Commerce แบบ B to BCommerce แบบ B to B B Bแคตตาล็อกของซัพพลายเออร์คำาสั่งซื้อของลูกค้า C C Supplier’s E-mall
  • 23. 3 ประเภทของ E-Commerce Commerce แบบ B to BCommerce แบบ B to B Buyer-Oriented Marketplace มีจุดมุ่งหมายในการลดต้นทุนของสินค้าที่ จะซื้อ หรือในตลาดที่มีการประมูล โดยมี การประมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยผ่าน ไปยังเครือข่ายอินทราเน็ตของผู้ซื้อเพื่อ ประมวลหาผู้ขายที่ดีที่สุด
  • 24. 3 ประเภทของ E-Commerce Buyer-Oriented Marketplace Commerce แบบ B to BCommerce แบบ B to B B Bแคตตาล็อกของผู้ซื้อ การประมูลของ ซัพพลายเออร์ Buyer’s E-mall ซัพพลายเออร์
  • 25. 3 ประเภทของ E-Commerce Commerce แบบ B to CCommerce แบบ B to C 1) ร้านค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Retailing) เป็นการขายตรงจากธุรกิจถึงลูกค้า ซึ่งมีรูปแบบ 2 ประเภทคือ  Solo Storefronts  Electronic mall หรือ Cybermall
  • 26. 3 ประเภทของ E-Commerce Commerce แบบ B to CCommerce แบบ B to C 2) การโฆษณา  แบบ Banners  แบบ E-mail (แต่อาจจะทำาให้เกิด Spamming) 3) แค็ตตาล็อกอิเล็กทรอนิกส์ 4) ธนาคารไซเบอร์ (Cyber banking หรือ Electronic Banking หรือ
  • 27. 3 ประเภทของ E-Commerce Commerce แบบ B to CCommerce แบบ B to C 5) ตลาดแรงงานออนไลน์ (Online job market) 6) การท่องเที่ยว 7) อสังหาริมทรัพย์ 8) การประมูล (Auctions)
  • 28. 4 ขั้นตอนการซื้อขายผ่านอินเตอร์เน็ต การซื้อ ขายในระบบ E-Commerce มี ขั้นตอน ดังต่อไปนี้ การค้นหาข้อมูล การเลือกและการต่อรอง การซื้อสินค้า/บริการทาง อินเตอร์เน็ต การจัดส่งสินค้า/บริการ
  • 30. 5 ระบบการจ่ายเงินอิเล็กทรอนิกส์ การจ่ายเงินแบบเดิม เช่น การใช้เงินสด, เช็ค, ธนาณัติ, และการให้หมายเลข Credit Card มีข้อจำากัดในการนำา มาใช้กับระบบ E-Commerce เช่น ความปลอดภัย, ความล่าช้า, และ ต้นทุนในการดำาเนินการ ดังนั้น ระบบ E-Commerce จึงได้มีการ พัฒนาการชำาระแบบ Electronic เช่น เช็คอิเล็กทรอนิกส์, เครดิต
  • 31. 5 ระบบการจ่ายเงินอิเล็กทรอนิกส์ 1) เช็คอิเล็กทรอนิกส์ (E-Check) ลักษณะเหมือนกับเช็คทั่วไป เหมาะกับการ ชำาระเงินยอดที่ไม่มากนัก มีการรักษา ความปลอดภัยโดยใช้รหัส ซึ่งมีขั้นตอน ดังนี้ 1) ลูกค้าเปิดบัญชีธนาคารที่ใช้เช็ค 2) ลูกค้าติดต่อผู้ขายเพื่อซื้อสินค้า/บริการ และ E-mail ส่งเช็คอิเล็กทรอนิกส์โดยการใช้รหัส และมีลายเซ็นดิจิทัล (Digital Signature) 3) ผู้ขายนำาเช็คเข้าไปฝากในบัญชีของตนเอง
  • 32. 5 ระบบการจ่ายเงินอิเล็กทรอนิกส์ 2) เครดิตการ์ดอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic credit cards) ผู้ขาย องค์การที่สาม (ผู้ออก CA) ธนาคารของผู้ขาย ธนาคารของผู้ซื้อ เปิดบัญชี ขอ Credit Card สั่งสินค้า + ข้อมูลการชำาระเงิน ข้อมูลการจ่ายเงินที่ใส่ รหัสพร้อม Digital Signature ถอดรหัส ส่งข้อมูล ไปยังธนาคารผู้ขาย คำาสั่งซื้อของลูกค้า อนุมัติ/ปฏิเสธ การจ่ายเงิน ข้อมูลทางการเงิน ของผู้ซื้อ ยืนยันการสั่งซื้อ
  • 33. 5 ระบบการจ่ายเงินอิเล็กทรอนิกส์ 3) เงินสดอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Cash หรื Digital Cash หรือ E-Money) การจ่ายเงิน Electronic มีสองวิธี คือ  การจ่ายเงินสดที่อยู่ในเครื่อง พีซี (เป็น ซอร์ฟแวร์การเงินที่ออกให้โดยธนาคาร)  เงินสดในสมาร์ทการ์ด (มีลักษณะ
  • 34. 7. 5 ระบบการจ่ายเงินอิเล็กทรอนิกส์ 4) การโอนเงินอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Fund Transfer – EFT) เป็นการโอนเงินโดยใช้เครือข่ายสื่อสาร โทรคมนาคม เช่นการโอนเงินระหว่าง ธนาคารทั่วโลก, การโอนเงินโดยใช้ เครื่อง ATM, การชำาระสินค้าหรือบริการ ผ่าน ATM, การโอนเงินเข้าบัญชีธนาคาร ของพนักงาน, การจ่ายค่าสาธารณูปโภค และค่าใช้จ่ายต่าง ๆ โดยหักจากบัญชี
  • 35. 7. 6 การประยุกต์ใช้ E-Commerce ิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Government)เล็กทรอนิกส์ (Electronic Government) เป็นการประยุกต์แนวคิดของ E-Commerce โดยใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตในการรับ- ส่ง สารสนเทศและการบริการของรัฐสู่ ประชาชน, ภาคธุรกิจ, หรือหน่วยงาน ของรัฐ ซึ่งรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์มี 3 รูป แบบ คือ
  • 36. 6 การประยุกต์ใช้ E-Commerce ิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Government)เล็กทรอนิกส์ (Electronic Government) 1) รัฐบาลกับประชาชน (G2C) คือการใช้บริการของรัฐไปยังประชาชน เช่น การ เสียภาษี online เป็นต้น 2) รัฐบาลกับธุรกิจ(G2B) เป็นการติดต่อระหว่างภาครัฐกับเอกชน หรือ suppliers เพื่อดำาเนินธุรกิจ เช่น การประมูลผ่าน อิเล็กทรอนิกส์ (E-Auction) การจัดซื้อจัดจ้าง ผ่านอิเล็กทรอนิกส์ (E-Procurement) 3) รัฐบาลกับรัฐบาล (G2G)
  • 37. 6 การประยุกต์ใช้ E-Commerce อิเล็กทรอนิกส์แบบเคลื่อนที่ (M-Commerce)อิเล็กทรอนิกส์แบบเคลื่อนที่ (M-Commerce) คือ การทำาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์โดยผ่านอุปกรณ์ แบบไร้สาย เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่, PDA ซึ่ง ลักษณะสำาคัญของ M-Commerce มีดังนี้ 1) เคลื่อนไหวได้อย่างคล่องตัว (Mobility) 2) เข้าถึงง่าย (Reachability) 3) มีแพร่หลาย (Ubiquity) 4) สะดวกในการใช้งาน (Convenience) ตัวอย่างเช่น I-MODE ของ NTT DoCoMo ของ
  • 38. 7 ประโยชน์ของ E-Commerce ระโยชน์ต่อบุคคลระโยชน์ต่อบุคคล 1) มีสินค้าและบริการราคาถูกจำาหน่าย 2) ทำาให้ลูกค้ามีทางเลือกมากขึ้น 3) สามารถทำาธุรกรรมได้ตลอด 24 ชั่วโมง 4) ทราบข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าและบริการได้ในเวลา ที่รวดเร็ว 5) ทำาให้ลูกค้าสามารถเลือกสินค้าตรงตามความ ต้องการมากที่สุด 6) สนับสนุนการประมูลเสมือนจริง 7) ทำาให้ลูกค้าสามารถติดต่อกับลูกค้ารายอื่นใน
  • 39. 7 ประโยชน์ของ E-Commerce ะโยชน์ต่อองค์การธุรกิจะโยชน์ต่อองค์การธุรกิจ 1) ขยายตลาดในระดับประเทศและระดับโลก 2) ทำาให้บริการลูกค้าได้จำานวนมากทั่วโลกด้วย ต้นทุนที่ตำ่า 3) ลดปริมาณเอกสารเกี่ยวกับการสร้าง การ ประมวล การกระจายการเก็บและการดึงข้อมูล ได้ถึงร้อยละ 90 4) ลดต้นทุนการสื่อสารโทรคมนาคม เพราะ Internet ราคาถูกกว่าโทรศัพท์
  • 40. 7 ประโยชน์ของ E-Commerce ระโยชน์ต่อสังคมระโยชน์ต่อสังคม 1) ทำำให้คนสำมำรถทำำงำนที่บ้ำนได้ ทำำให้มีกำรเดินทำงน้อยลง ทำำให้กำร จรำจรไม่ติดขัด ลดปัญหำมลพิษทำง อำกำศ 2) ทำำให้มีกำรซื้อขำยสินค้ำรำคำถูกลง คนที่มีฐำนะไม่รวยก็สำมำรถยกระดับ มำตรฐำนกำรขำยสินค้ำและบริกำรได้
  • 41. 7. 7 ประโยชน์ของ E-Commerce ะโยชน์ต่อระบบเศรษฐกิจะโยชน์ต่อระบบเศรษฐกิจ 1) กิจกำร SMEs ในประเทศกำำลังพัฒนำอำจได้ ประโยชน์จำกกำรเข้ำถึงตลำดที่กว้ำงขวำงใน ระดับโลก 2) ทำำให้กิจกำรในประเทศกำำลังพัฒนำสำมำรถเข้ำ ถึงเทคโนโลยีใหม่ ๆ ได้ 3) บทบำทของพ่อค้ำคนกลำงลดลง ทำำให้ต้นทุน กำรซื้อขำยลดลง ทำำให้อุปสรรคกำรเข้ำสู่ตลำด ลดลงด้วย 4) ทำำให้ประชำชนในชนบทได้หำสินค้ำหรือบริกำร
  • 42. 7. 8 ข้อจำำกัดเกี่ยวกับ E-Commerce อจำำกัดด้ำนเทคนิคอจำำกัดด้ำนเทคนิค 1) ขำดมำตรฐำนสำกลที่เป็นที่ยอมรับในด้ำน คุณภำพ ควำมปลอดภัย และควำมน่ำเชื่อถือ 2) ควำมกว้ำงของช่องทำงกำรสื่อสำรมีจำำกัด 3) ซอร์ฟแวร์ยังกำำลังอยู่ระหว่ำงกำรพัฒนำ 4) ปัญหำควำมเข้ำกันได้ระหว่ำง Internet และ ซอร์ฟแวร์ของ E-commerce กับแอพพลิเคชั่น 5) ต้องกำร Web Server และ Network Server ที่ออกแบบมำเป็นพิเศษ
  • 43. 7. 8 ข้อจำำกัดเกี่ยวกับ E-Commerce อจำำกัดด้ำนกฎหมำยอจำำกัดด้ำนกฎหมำย 1) กฎหมำยที่สำมำรถคุ้มครองกำรทำำธุรกรรมข้ำม รัฐหรือข้ำมประเทศ ไม่มีมำตรฐำนที่เหมือนกัน และมีลักษณะที่แตกต่ำงกัน 2) กำรใช้เอกสำรอิเล็กทรอนิกส์ หรือลำยมือชื่อ อิเล็กทรอนิกส์จะมีผลทำงกฎหมำยหรือไม่ 3) ปัญหำเกิดจำกกำรทำำธุรกรรม เช่น กำรส่งสินค้ำ มีลักษณะแตกต่ำงจำกที่โฆษณำบนอินเทอร์เน็ต จะมีกำรเรียกร้องค่ำเสียหำยได้หรือไม่
  • 44. 7. 8 ข้อจำำกัดเกี่ยวกับ E-Commerce ข้อจำำกัดด้ำนธุรกิจข้อจำำกัดด้ำนธุรกิจ 1) วงจรผลิตภัณฑ์ (Product Life Cycle) จะสั้น ลง เพรำะกำรเข้ำถึงข้อมูลทำำได้ง่ำยและรวดเร็ว กำรลอกเลียนผลิตภัณฑ์จึงทำำได้รวดเร็ว เกิดคู่ แข่งเข้ำมำในตลำดได้ง่ำย จะต้องมีกำร สร้ำงสรรค์ผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ เสมอ 2) ควำมพร้อมของภูมิภำคต่ำง ๆในกำรปรับ โครงสร้ำงเพื่อรองรับกำรเจริญเติบโตของ E- Commerce มีไม่เท่ำกัน 3) ภำษีและค่ำธรรมเนียม จำก E-Commerce จัด
  • 45. 7. 8 ข้อจำำกัดเกี่ยวกับ E-Commerce ข้อจำำกัดด้ำนธุรกิจข้อจำำกัดด้ำนธุรกิจ 4) ต้นทุนในกำรสร้ำง E-Commerce ครบวงจร ค่อนข้ำงสูง เพรำะรวมถึงค่ำ Hardware, Software ที่มีประสิทธิภำพ ระบบควำม ปลอดภัยที่น่ำเชื่อถือ กำรจัดกำรระบบเครือข่ำย ตลอดจนค่ำจ้ำงบุคลำกร 5) ประเทศกำำลังพัฒนำต้องลงทุนทำงด้ำน เทคโนโลยีสูงมำก ในโครงสร้ำงพื้นฐำน 6) เงินสดอิเลกทรอนิกส์ ทำำให้เกิดกำรฟอกเงินได้ ง่ำย เนื่องจำกกำรใช้เงินสดอิเล็กทรอนิกส์จะ
  • 46. 7. 8 ข้อจำำกัดเกี่ยวกับ E-Commerce ข้อจำำกัดด้ำนอื่น ๆข้อจำำกัดด้ำนอื่น ๆ 1) กำรให้ข้อมูลที่เป็นเท็จบนอินเตอร์เน็ต มีมำก และมีกำรขยำยตัวเร็วมำกกว่ำกำรพัฒนำของ อินเตอร์เน็ตเสียอีก 2) สิทธิส่วนบุคคล (Privacy) ระบบกำรจ่ำยเงิน หรือกำรให้ข้อมูลของลูกค้ำทำงอินเตอร์เน็ต ทำำให้ผู้ขำยทรำบว่ำผู้ซื้อเป็นใคร และสำมำรถ ใช้ซอร์ฟแวร์ติดตำมกิจกรรมต่ำง ๆ หรือส่ง Spam ไปรบกวนได้ 3) E-Commerce เหมำะกับระบบเศรษฐกิจที่
  • 47. 7. 8 ข้อจำำกัดเกี่ยวกับ E-Commerce ข้อจำำกัดด้ำนอื่น ๆข้อจำำกัดด้ำนอื่น ๆ 4) ยังไม่มีกำรประเมินผลกำรดำำเนินงำน หรือวิธี กำรที่ดีของ E-Commerce เช่น กำรโฆษณำ ผ่ำนทำง E-Commerce ว่ำได้ผลเป็นอย่ำงไร 5) จำำนวนผู้ซื้อ / ขำย ที่ได้กำำไรหรือประโยชน์จำก E-Commerce ยังมีจำำกัด โดยเฉพำะใน ประเทศไทยซึ่งสัดส่วนของผู้ใช้อินเตอร์เน็ตต่อ ประชำกรตำ่ำมำก และกำรใช้ E-Commerce ในกำรซื้อ/ขำยสินค้ำ มีน้อยมำก
  • 48. 7. 9 สรุป E-Commerce หมำยถึง กำรทำำธุรกรรมทุกรูป แบบโดยผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์โดยเฉพำะอย่ำง ยิ่งเครือข่ำยอินเตอร์เน็ต แนวคิดของ E-Commerce ประกอบด้วยปัจจัย 3 ส่วน คือ 1) แอพพลิเคชั่นกำรใช้งำน 2) ปัจจัยทำงกำรบริหำรที่เกี่ยวข้อง และ 3) โครงสร้ำงพื้นฐำนของระบบ E-Commerce มี 3 ประเภทคือ 1) ธุรกิจกับ ธุรกิจ (B2B) 2) ธุรกิจกับลูกค้ำ (B2C) และ 3)
  • 49. 7. 9 สรุป E-Commerce แบบ B2C มีหลำยประเภทเช่น ร้ำนค้ำปลีกอิเล็กทรอนิกส์, กำรโฆษณำ อิเล็กทรอนิกส์, ตลำดแรงงำน, กำรท่องเที่ยว, กำรประมูล E-Commerce แบบ B2G เป็นรูปแบบของ รัฐบำลที่มีกำรติดต่อกับธุรกิจ และ G2G เป็นกำร ติดต่อระหว่ำงหน่วยงำนของรัฐบำล หรืออำจ เรียกว่ำ E-Government ขั้นตอนกำรซื้อขำยผ่ำนอินเตอร์เน็ตมี 5 ขั้น
  • 50. 7. 9 สรุป ระบบกำรจ่ำยเงินอิเล็กทรอนิกส์ มีหลำยรูปแบบ เช่น เช็คอิเล็กทรอนิกส์, เครดิตคำร์ด อิเล็กทรอนิกส์, เงินสดอิเล็กทรอนิกส์, และกำร โอนเงินอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น กำรรักษำควำมปลอดภัยในระบบ E- Commerce เป็นเรื่องที่มีควำมสำำคัญยิ่ง ซึ่งกำร รักษำควำมปลอดภัยที่นิยมใช้คือ กำรแปลงรหัส (Encryption) และใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Certificate) และโปรโตคอล ประโยชน์ของ E-Commerce มีทั้งต่อบุคคล, องค์กำร, สังคม, ระบบเศรษฐกิจ และข้อจำำกัดมี