SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
จัดทาโดย
นายนภิส อิ่นคา เลขที่ 6 ม.5/14
นายภูมิภัทร มามูล เลขที่ 23 ม.5/14
นายศตวรรษ ทาแกง เลขที่ 39 ม.5/14
นายจิตโสภณ ใจผ่อง เลขที่ 40 ม.5/14
โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม
สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
จัดทำโดย
นำยนภิส อิ่นคำ เลขที่ 6
นำยภูมิภัทร มำมูล เลขที่ 23
นำยศตวรรษ ทำแกง เลขที่ 39
นำยจิตโสภณ ใจผ่อง เลขที่ 40
ม.5/14
สงครามโลกครั้งที่ 1
• เป็นสงครามที่เกิดขึ้นระหว่างปี 1914 – 1918 รวม 4 ปี
• ประกอบด้วย 2 ฝ่าย คือ
• มหาอานาจกลาง (ออสเตรีย-ฮังการี จักรวรรดิเยอรมันนี จักรวรรดิออตโตมัน)
• มหาอานาจไตรภาคี (จักรวรรดิรัสเซีย ฝรั่งเศส สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา
• เป็นสงครามขนาดใหญ่จนได้รับการขนานนามว่า Great war
• ผลของสงครามมีผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตไม่น้อยกว่า 40 ล้านคน
หมวกทหารเยอรมัน >>
ปัจจัยที่ทาให้เกิดสงครามโลกครั้งที่ 1
• การปฏิวัติอุตสาหกรรม ส่งผลให้เกิดการล่าอาณานิคม และทาให้แต่ละประเทศต้องการอาณานิคมเป็นของ
ตนเอง
• การเกิดลัทธิชาตินิยม ทาให้เกิดความรักชาติ และคิดว่าตนเองอยู่เหนือชนชาติอื่น
ปืนมอซิน นากองก์ ของรัสเซีย >>
ชนวนของสงครามโลกครั้งที่ 1
ชนวนของสงครามโลกครั้งที่ 1
เกิดขึ้นเมื่อเจ้าชาน อาร์คดยุค ฟรานซิส แห่งออสเตรีย-ฮังการี เสด็จเยือนประเทศเซอร์เบีย แล้วถูกลอบปลง
พระชนม์โดยคนร้ายชาวเซอร์เบียเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน ค.ศ 1914 ส่งผลให้ประเทศออสเตรีย-ฮังการีไม่พอใจ
และทาการประกาศสงครามและโจมตีประเทศเซอร์เบีย โดยออสเตรีย-ฮังการีต้องการที่จะรวบรวมแผ่นดิน
บริเวณนั้นอยู่แล้ว
เซอร์เบียเป็นพันธมิตรกับรัสเซีย ทาให้รัสเซียประกาศสงครามกับออสเตรีย-ฮังการี และเยอรมนีที่เป็นพันธมิตร
ของ ออสเตรีย-ฮังการี ต่อมา ฝรั่งเศสเข้าร่วมสงคราม เยอรมนีที่เป็นพันธมิตรกับออสเตรีย-ฮังการียกทัพตี
ฝรั่งเศสผ่านเบลเยียม ทาให้อังกฤษไม่พอใจ และเข้าร่วมสงคราม และออตโตมันเองก็เข้าร่วมสงครามเช่นกัน
โลกแบ่งเป็น 2 ฝ่าย
ฝ่ายสัมพันธมิตร ฝ่ายมหาอานาจกลาง
จักรวรรดิรัสเซีย,อังกฤษ,ฝรั่งเศส เยอรมนี,ออสเตรีย-ฮังการี,จักรวรรดิออตโตมัน
เหตุการณ์สาคัญในสงครามโลกครั้งที่ 1
• การเข้าร่วมของสหรัฐอเมริกา
สหรัฐอเมริกาเข้าร่วมสงครามในปี 1917 เนื่องจากเยอรมนีได้ยุยงให้เมกซิโกต่อต้านอเมริกาเพื่อทวงรัฐคืน
นอกจากนี้เยอรมนียังโจมตีเรือสินค้าของอเมริกา ทาให้อเมริกาไม่พอใจ และเข้าร่วมสงคราม สหรัฐอเมริกา
ทาสงครามโดยทาการสนับสนุนทัพฝรั่งเศสและอังกฤษในแนวชายแดนระหว่างฝรั่งเศส-เบลเยี่ยม และอเมริกา
ได้นาเทคโนโลยีใหม่มา คือ
รถถัง!!
เหตุการณ์สาคัญในสงครามโลกครั้งที่ 1 (ต่อ)
• การถอนตัวของรัสเซีย
ระหว่างที่เกิดแนวรบด้านตะวันออกระหว่างฝ่ายมหาอานาจกลางและรัสเซีย รัสเซียได้เกิดการปฏิวัติโดย
ประชาชนชาวแรงงาน ทาให้รัฐบาลถูกล้มล้าง และเปลี่ยนระบอบการปกครองเป็นแบบคอมมิวนิสต์ รัสเซียจึง
ถอนตัวออกจากสงครามโลกครั้งที่ 1 หลังจากความเสียหายที่ได้รับจากการไปโจมตีเยอรมนีและออสเตรีย-
ฮังการี
• สนามเพลาะ
สงครามเป็นไปอย่างยืดเยื้อ เนื่องจากมีสิ่งที่เรียกว่า “สนามเพลาะ” ซึ่งเป็นแนวตั้งรับในการทาสงคราม ด้วย
การขุดหลุมเพลาะเป็นแนวยาวเหยียดหลายแนวสลับซับซ้อนกัน และสร้างลวดหนามไว้ป้องกันทหารข้าศึก
ทหารจะอยู่ในรูที่ขุดไปไต้ดินเพื่อหลบกระสุนปืนใหญ่ พอข้าศึกบุกก็จะไปประจาตาแหน่งและใช้ปืนยิงข้าศึก
ผสมกับปืนใหญ่และปืนกล พอจะทาการรุกรานก็ข้ามเขตปลอดคนไป ว่ากันว่าสนามเพลาะที่ขุดใน
สงครามโลกครั้งที่ 1 มีความยาวถึง 25000 ไมล์ทีเดียว
ภาพถ่ายสนามเพลาะ
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1
1. ฝ่ายสัมพันธมิตรชนะ
2. เศรษฐกิจทั่วโลกกระทบกระเทือนเนื่องจากสงคราม
3. ฮังการีถูกแยกออกจากออสเตรีย
4. เยอรมนี ออสเตรีย ตุรกี เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบบสาธาณรัฐ
5. เกิดประเทศใหม่ ได้แก่ ยูกสลาเวีย เชคโกสโลวาเกีย โปแลนด์ ลัทเวีย ลิโทเนีย
6. ทหารเสียชีวิต 8 ล้านคน บาดเจ็บ 20 ล้านคน
7. จัดตั้งองค์การสันนิบาตชาติ
8. มีการทาสนธิสัญญาแวร์ชายเพื่อลงโทษผู้แพ้ และผู้แพ้ต้องเสียอาณานิคม ค่าปฏิกรรม ซึ่งสนธิสัญญานี้
เป็นชนวนของสงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
• เกิดขึ้นระหว่าง 1939-1945
• ประกอบด้วย 2 ฝ่าย คือ
• ฝ่ายอักษะ (เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น)
• ฝ่ายสัมพันธมิตร (สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส โซเวียต)
• เป็นที่รู้กันทั่วโลกว่าก่อขึ้นโดยฮิตเลอร์ และแน่นอน ฮิตเลอร์เกลียดชาวยิว ทาให้มีชาวยิวตายไป 600,000
คนในสงครามครั้งนี้
• สงครามนี้มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 60 ล้านคน
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 2
• ความไม่เป็นธรรมของสนธิสัญญาแวร์ชาย
• ควมล้มเหลวขององค์การสันนิบาตชาติ ที่รักษาสันติภาพไม่สาเร็จ
• การเติบโตลัทธิฟาสซิสต์และลัทธิเผด็จการทหาร สะสมกองกาลังอาวุธร้ายแรงต่างๆ
• ความขัดแย้งในอุดมการณ์ทางการเมือง แนวความคิดของผู้นาประเทศที่นิยมลัทธิทางทหาร ได้แก่ ฮิตเลอร์
ผู้นาลัทธินาซีของเยอรมนี และเบนนิโต มุสโสลินี ผู้นาลัทธิฟาสซีสม์ ของอิตาลี ทั้งสองต่อต้านแนวความคิด
เสรีนิยม และระบบการเมืองแบบรัฐสภาของชาติยุโรป แต่ให้ความสาคัญกับพลังของลัทธิชาตินิยม ความ
เข้มแข็งทางทหาร และอานาจผู้นามากกว่า
ชนวนของสงครามโลกครั้งที่ 2
เยอรมนีได้ทาการจู่โจมประเทศโปแลนด์อย่างไม่ทันตั้งตัวในวันที่ 1 กันยายน 1939 ทาให้อังกฤษ และฝรั่งเศส
ไม่พอใจและประกาศสงครามกับเยอรมนีทันที ทว่า ภายในเวลาเพียงแค่ 3 เดือน เยอรมนีก็ได้เข้ายึดกรุงปารีส
• การ Blitzkrieg (บลิทซ์ครีก)
เป็นวิธีที่เยอรมนีใช้ในการโจมตีแนวรบด้านตะวันตกและตะวันออกในระยะแรกๆ เป็นการโจมตีอย่างรวดเร็ว
ประกอบด้วยการทิ้งระเบิดโดยเครื่องบินรบก่อนที่จะใช้ยานเกราะบุกเข้าโจมตีตามอย่างรวดเร็ว และสร้าง
ความประหลาดใจให้กับฝ่ายข้าศึก ทาให้ฝ่ายตั้งรับไม่มีเวลาที่จะเตรียมการป้องกันใด ๆ เลย ซึ่งต้องใช้ทั้ง
ประสิทธิภาพยานเกราะและการผสานการโจมตีทางอากาศ
รถถัง Panzer IV ของเยอรมนี
AXIS
Germany,Italy,Japan
ALies
UK,Feance,USA,Soviet
เหตุการณ์สาคัญในสงครามโลกครั้งที่ 2
• ญี่ปุ่นซึ่งเป็นพันธมิตรของเยอรมนี เปิดฉากสงครามโดยโจมตีอ่าวเพิร์ล ฐานทัพของสหรัฐอเมริกา ในหมู่
เกาะฮาวายเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ.1941 ทาให้สหรัฐอเมริกาประกาศเข้าร่วมสงครามฝ่ายเดียวกับชาติ
พันธมิตรอย่างเป็น ทางการ
• ฮิตเลอร์สั่งฆ่าชาวยิว โดยการหลอกว่าชาวยิวจะได้มาทางาน และฆ่าชาวยิวในห้องรมแก๊ส
ดันเคิร์ก
• เป็นปฏิบัติการทางทหารซึ่งเกิดที่ดันเคิร์ก ประเทศฝรั่งเศส ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง การยุทธ์นี้ต่อสู้กัน
ระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรและนาซีเยอรมนี เป็นส่วนหนึ่งของยุทธการที่ฝรั่งเศสบนแนวรบด้านตะวันตก
ยุทธการที่ดันเคิร์กเป็นการป้องกันและอพยพทหารอังกฤษและฝ่ายสัมพันธมิตรในทวีปยุโรประหว่างวันที่ 26
พฤษภาคมถึง 4 มิถุนายน 1940การตีโต้ตอบหลายครั้งของฝ่ายสัมพันธมิตร ไม่สามารถหยุดยั้งหัวหอกของ
เยอรมันได้ ซึ่งไปถึงชายฝั่งเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม แยกกองทหารอังกฤษใกล้กับแอคม็องตีแย
(Armentières) กองทัพที่ 1 แห่งฝรั่งเศส และกองทัพเบลเยียมที่อยู่เหนือขึ้นไปจากกาลังฝรั่งเศสส่วนใหญ่ที่
อยู่ทางใต้ของการบุกทะลวงของเยอรมัน เมื่อถึงช่องแคบแล้ว กาลังเยอรมันกวาดไปทางเหนือตามชายฝั่ง
คุกคามที่จะยึดท่าและดักอังกฤษและฝรั่งเศสก่อนที่จะสามารถอพยพไปอังกฤษ
• ฝ่ายเยอรมันหยุดการบุกเข้าดันเคิร์กซึ่งเป็นการตัดสินใจที่มีการถกเถียงกันมากที่สุดครั้งหน่งของสงคราม สิ่ง
ที่เรียกว่า "คาสั่งหยุด" นั้นมิได้มาจากอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ซึ่งขัดต่อความเชื่อของมหาชน จอมพลแกร์ด ฟอน
รุนด์ชเตดท์และกึนเทอร์ ฟอน คลูเกอเสนอว่ากองทัพเยอรมันรอบวงล้อมดันเคิร์กควรหยุดการบุกเข้าท่าและ
สะสมกาลังเพื่อเลี่ยงการตีฝ่าของฝ่ายสัมพันธมิตร ฮิตเลอร์อนุมัติคาสั่งดังกล่าวในวันที่ 24 พฤษภาคมด้วย
การสนับสนุนของกองบัญชาการทหารสูงสุด กองทัพหยุดเป็นเวลาสามวันซึ่งทาให้ฝ่ายสัมพันธมิตรมีเวลา
เพียงพอสาหรับจัดระเบียบการอพยพดันเคิร์กและตั้งแนวป้องกัน แม้ว่าฝ่ายสัมพันธมิตรจะประเมิน
สถานการณ์ดังกล่าวไว้อย่างเลวร้าย โดยบริเตนถึงขั้นอภิปรายกันเรื่องยอมจานนแบบมีเงื่อนไขต่อเยอรมนี
ในบั้นปลายทหารฝ่ายสัมพันธมิตรได้รับการช่วยเหลือกว่า 330,000 นาย
ดันเคิร์ก
ยุทธการบาบอร์รอสซา...ยุทธการพลิกโลก
เมื่อเยอรมนีทาสงครามกับยุโรปจนสามารถยึดครองเกือบทั้งยุโรปจนเหลือเพียงอังกฤษ เดิมที สหภาพโซเวียต
และนาซีเยอรมันมีความคิดเห็นทางการเมืองที่แตกต่างกัน และขัดแย้งกันเรื่องโปแลนด์ในเรื่องสิทธิ์ในการ
ปกครองโปแลนด์ ยุทธการบาบอร์รอสซาเป็นยุทธการทีเยอรมันบุกเข้าโซเวียต เริ่มวันที่ 22 มิถุนายน 1941
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อยึดครองสหภาพโซเวียต แต่ไม่ประสบผลสาเร็จ เพราะกาลังพลของโซเวียตมีจานวน
มาก ถ้านับยานเกราะแล้ว โซเวียตมีรถถังถึง 24,000 คัน ในขณะที่เยอรมนีมีรถถังเพียง 5,200 คัน และใน
ตอนท้ายทหารโซเวียตเพิ่มขึ้นถึง 5,000,000 นายในขณะที่เยอรมันมีเพียง 3,900,000 นาย ส่งผลให้เยอรมัน
ต้องประสบความล้มเหลวบวกกับสภาพอากาศอันหนาวเย็นของรัสเซีย นอกจากนี้การรบครั้งนี้ส่งผลให้ด้าน
ตะวันตกอ่อนแอลงและถูกยกพลขึ้นฝั่งในวันดีเดย์ (D-Day) ในวันที่ 6 มิถุนายน 1944 และในที่สุดนาซี
เยอรมันต้องประสบกับความพ่ายแพ้
ระเบิดปรมาณู
นี่เป็นช่วงที่ญี่ปุ่นถูกสหรัฐอเมริกาบีบจนขีดสุด แต่ญี่ปุ่นยังไม่ประกาศยอมแพ้ สหรัฐอเมริกาจึงได้สั่งทิ้งระเบิด
ปรมาณู “Little Boy” ใส่เมืองฮิโระชิมะในวันที่ 6 สิงหาคม ค.ศ 1945 และตามด้วย “Fat man” ใส่เมืองนะงะ
ซะกิ การระเบิดทาให้มีผู้เสียชีวิตที่ฮิโระชิมะ 140,000 คนและที่นะงะซะกิ 80,000 คน ทั้งหมดเป็นพลเรือน
หลังจากนั้นเป็นเวลา 6 วัน ญี่ปุ่นจึงประกาศยอมแพ้ การทิ้งระเบิดทั้งสองลูกดังกล่าวมีส่วนทาให้ประเทศญี่ปุ่น
ต้องยอมรับหลักการ 3 ข้อว่าด้วยการห้ามมีอาวุธนิวเคลียร์
“ประมาณ 43 วินาทีหลังจากระเบิดถูกทิ้งลงสู่พื้น ผมมองเห็นแสงสว่างวาบ และสัมผัส
ได้ถึงคลื่นกระแทกที่ทาให้เครื่องบินสั่นสะเทือน”
-พอล ทิบเบตส์ อดีตนักบินผู้ทิ้งระเบิดปรมาณู
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
• สัมพันธมิตรเป็นฝ่ายชนะ
• มีการก่อตั้งองค์การสหประชาชาติ (UN) แทนสันนิบาตชาติ ด้วยจุดประสงค์เพื่อรักษาสันติภาพโลก
• ทาให้เกิดสงครามเย็น
• เกิดประเทศเอกราชใหม่ ประเทศที่เคยเป็นอาณานิคมแตกตัวเป็นเอกราชทั่วโลก
• เกาหลีและเยอรมนีถูกแบ่งเป็น 2 ส่วน
• เศรษฐกิจตกต่าทั่วโลก
• เกิดประเทศมหาอานาจ 2 ประเทศคือ สหรัฐอเมริกาและโซเวียต
ความเงียบเข้าปกคลุม ผมพูดและจาเป็นต้องพูด ดังนั้นผมจึงพูดแก่เขาว่า:"ทหาร ผมไม่อยากจะฆ่าคุณ ถ้าคุณจะ
กระโดดเข้ามาอีก ผมก็จะไม่ทา ถ้าคุณรู้จักผิดชอบชั่วดีมากพอ แต่ว่าคุณเป็นแค่ความคิดเดิมของผมเท่านั้น ภาพที่
ปรากฎในจินตภาพของผมได้เปลี่ยนไปจากสิ่งที่ผมคิดเอาไว้ ในภาพนั้นผมแทงคุณ แต่ว่าในตอนนี้เป็นครั้งแรกของผม
ที่เห็นว่าคุณเป็นมนุษย์เช่นเดียวกับผม ผมคิดถึงระเบิดมือของคุณ ดาบของคุณ ไรเฟิลของคุณ ตอนนี้ผมเห็นหน้า
ภรรยาของคุณ หน้าของคุณและมิตรภาพของเราทั้งคู่ อภัยให้ผมด้วย ทหาร เราทั้งคู่เห็นตรงกันว่ามันสายเกินไปแล้ว
ทาไมพวกเขาไม่เคยบอกเราว่าคุณเองก็เป็นปีศาจชั่วเช่นเรา ว่าแม่ของคุณก็เป็นห่วงคุณเช่นเรา และเราต่างก็กลัวความ
ตายด้วยกัน ต้องตายและเจ็บปวดทรมานเช่นเรา - ให้อภัยผมด้วย ทหาร ทาไมคุณถึงเป็นศัตรูของผมไปได้ ถ้าคุณและ
ผมต่างปลดไรเฟิลและเครื่องแบบนี่ออกไป พวกเราก็จะกลายเป็นพี่น้องกัน เหมือนกับเคทและอัลเบิร์ต เอาเวลายี่สิบปี
ของผมไป ทหาร แล้วลุกขึ้น - เอาไปให้มากกว่านี้อีก เพื่อที่ผมจะไม่ทราบว่าแม่แต้จะพยายามทามันในขณะนี้ก็ตาม
-Paul Bäumer, แนวรบด้านตะวันตก เหตุการณ์ไม่เปลี่ยนแปลง
Will you go right...without anything left
Or will you go left... without anything right
บรรณาณุกรม
สุพรรณิกา แซ่ฟุ้ง. สงครามโลกครั้งที่ 1. [เวปไซต์]. เข้าถึงได้จาก :
http://suphannigablog.wordpress.com/หน่วยที่-4/สงครามโลกครั้งที่-1/. (วันที่ค้นข้อมูล :
8/9/2560)
สุพรรณิกา แซ่ฟุ้ง. สงครามโลกครั้งที่ 2. [เวปไซต์]. เข้าถึงได้จาก :
http://suphannigablog.wordpress.com/หน่วยที่-4/สงครามโลกครั้งที่-2/. (วันที่ค้นข้อมูล :
8/9/2560)
ดันเคิร์ก. [เวปไซต์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.scifi.siligon.com/s_39dunk.html. (วันที่ค้นข้อมูล :
8/9/2560
วีระชัย โชคมุกดา. สงครามโลกครั้งที่ 1,2 (ฉบับสมบูรณ์). พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : ยิปซี กรุ๊ป. 2559

More Related Content

What's hot

วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20mintra_duangsamorn
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2Waciraya Junjamsri
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfSzo'k JaJar
 
7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold warJitjaree Lertwilaiwittaya
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นTaraya Srivilas
 
สงครามโลกคร งท__ 2 (1) (1)
สงครามโลกคร  งท__  2 (1) (1)สงครามโลกคร  งท__  2 (1) (1)
สงครามโลกคร งท__ 2 (1) (1)noeiinoii
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชลธิกาญจน์ จินาจันทร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติกโครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติกFah Philip
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2namfon17
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาพัน พัน
 
กิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์เครื่องยิง
กิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์เครื่องยิงกิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์เครื่องยิง
กิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์เครื่องยิงSilpakorn University
 
วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 1/2558
วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 1/2558วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 1/2558
วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 1/2558งานอาคารฯ คณะวิทย์ มจพ.
 
ใบงานที่ 1 ทำอย่างไรเมื่อเผชิญความรุนแรง
ใบงานที่  1 ทำอย่างไรเมื่อเผชิญความรุนแรงใบงานที่  1 ทำอย่างไรเมื่อเผชิญความรุนแรง
ใบงานที่ 1 ทำอย่างไรเมื่อเผชิญความรุนแรงtassanee chaicharoen
 

What's hot (20)

วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
 
7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
สงครามโลกคร งท__ 2 (1) (1)
สงครามโลกคร  งท__  2 (1) (1)สงครามโลกคร  งท__  2 (1) (1)
สงครามโลกคร งท__ 2 (1) (1)
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
สงครามโลก..[2]
สงครามโลก..[2]สงครามโลก..[2]
สงครามโลก..[2]
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติกโครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษา
 
กิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์เครื่องยิง
กิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์เครื่องยิงกิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์เครื่องยิง
กิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์เครื่องยิง
 
วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 1/2558
วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 1/2558วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 1/2558
วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 1/2558
 
ใบงานที่ 1 ทำอย่างไรเมื่อเผชิญความรุนแรง
ใบงานที่  1 ทำอย่างไรเมื่อเผชิญความรุนแรงใบงานที่  1 ทำอย่างไรเมื่อเผชิญความรุนแรง
ใบงานที่ 1 ทำอย่างไรเมื่อเผชิญความรุนแรง
 

สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2

  • 1. สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2 จัดทาโดย นายนภิส อิ่นคา เลขที่ 6 ม.5/14 นายภูมิภัทร มามูล เลขที่ 23 ม.5/14 นายศตวรรษ ทาแกง เลขที่ 39 ม.5/14 นายจิตโสภณ ใจผ่อง เลขที่ 40 ม.5/14 โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม
  • 2. สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2 จัดทำโดย นำยนภิส อิ่นคำ เลขที่ 6 นำยภูมิภัทร มำมูล เลขที่ 23 นำยศตวรรษ ทำแกง เลขที่ 39 นำยจิตโสภณ ใจผ่อง เลขที่ 40 ม.5/14
  • 3.
  • 4. สงครามโลกครั้งที่ 1 • เป็นสงครามที่เกิดขึ้นระหว่างปี 1914 – 1918 รวม 4 ปี • ประกอบด้วย 2 ฝ่าย คือ • มหาอานาจกลาง (ออสเตรีย-ฮังการี จักรวรรดิเยอรมันนี จักรวรรดิออตโตมัน) • มหาอานาจไตรภาคี (จักรวรรดิรัสเซีย ฝรั่งเศส สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา • เป็นสงครามขนาดใหญ่จนได้รับการขนานนามว่า Great war • ผลของสงครามมีผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตไม่น้อยกว่า 40 ล้านคน หมวกทหารเยอรมัน >>
  • 5. ปัจจัยที่ทาให้เกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 • การปฏิวัติอุตสาหกรรม ส่งผลให้เกิดการล่าอาณานิคม และทาให้แต่ละประเทศต้องการอาณานิคมเป็นของ ตนเอง • การเกิดลัทธิชาตินิยม ทาให้เกิดความรักชาติ และคิดว่าตนเองอยู่เหนือชนชาติอื่น ปืนมอซิน นากองก์ ของรัสเซีย >>
  • 7. ชนวนของสงครามโลกครั้งที่ 1 เกิดขึ้นเมื่อเจ้าชาน อาร์คดยุค ฟรานซิส แห่งออสเตรีย-ฮังการี เสด็จเยือนประเทศเซอร์เบีย แล้วถูกลอบปลง พระชนม์โดยคนร้ายชาวเซอร์เบียเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน ค.ศ 1914 ส่งผลให้ประเทศออสเตรีย-ฮังการีไม่พอใจ และทาการประกาศสงครามและโจมตีประเทศเซอร์เบีย โดยออสเตรีย-ฮังการีต้องการที่จะรวบรวมแผ่นดิน บริเวณนั้นอยู่แล้ว เซอร์เบียเป็นพันธมิตรกับรัสเซีย ทาให้รัสเซียประกาศสงครามกับออสเตรีย-ฮังการี และเยอรมนีที่เป็นพันธมิตร ของ ออสเตรีย-ฮังการี ต่อมา ฝรั่งเศสเข้าร่วมสงคราม เยอรมนีที่เป็นพันธมิตรกับออสเตรีย-ฮังการียกทัพตี ฝรั่งเศสผ่านเบลเยียม ทาให้อังกฤษไม่พอใจ และเข้าร่วมสงคราม และออตโตมันเองก็เข้าร่วมสงครามเช่นกัน โลกแบ่งเป็น 2 ฝ่าย
  • 9. เหตุการณ์สาคัญในสงครามโลกครั้งที่ 1 • การเข้าร่วมของสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกาเข้าร่วมสงครามในปี 1917 เนื่องจากเยอรมนีได้ยุยงให้เมกซิโกต่อต้านอเมริกาเพื่อทวงรัฐคืน นอกจากนี้เยอรมนียังโจมตีเรือสินค้าของอเมริกา ทาให้อเมริกาไม่พอใจ และเข้าร่วมสงคราม สหรัฐอเมริกา ทาสงครามโดยทาการสนับสนุนทัพฝรั่งเศสและอังกฤษในแนวชายแดนระหว่างฝรั่งเศส-เบลเยี่ยม และอเมริกา ได้นาเทคโนโลยีใหม่มา คือ รถถัง!!
  • 10. เหตุการณ์สาคัญในสงครามโลกครั้งที่ 1 (ต่อ) • การถอนตัวของรัสเซีย ระหว่างที่เกิดแนวรบด้านตะวันออกระหว่างฝ่ายมหาอานาจกลางและรัสเซีย รัสเซียได้เกิดการปฏิวัติโดย ประชาชนชาวแรงงาน ทาให้รัฐบาลถูกล้มล้าง และเปลี่ยนระบอบการปกครองเป็นแบบคอมมิวนิสต์ รัสเซียจึง ถอนตัวออกจากสงครามโลกครั้งที่ 1 หลังจากความเสียหายที่ได้รับจากการไปโจมตีเยอรมนีและออสเตรีย- ฮังการี • สนามเพลาะ สงครามเป็นไปอย่างยืดเยื้อ เนื่องจากมีสิ่งที่เรียกว่า “สนามเพลาะ” ซึ่งเป็นแนวตั้งรับในการทาสงคราม ด้วย การขุดหลุมเพลาะเป็นแนวยาวเหยียดหลายแนวสลับซับซ้อนกัน และสร้างลวดหนามไว้ป้องกันทหารข้าศึก ทหารจะอยู่ในรูที่ขุดไปไต้ดินเพื่อหลบกระสุนปืนใหญ่ พอข้าศึกบุกก็จะไปประจาตาแหน่งและใช้ปืนยิงข้าศึก ผสมกับปืนใหญ่และปืนกล พอจะทาการรุกรานก็ข้ามเขตปลอดคนไป ว่ากันว่าสนามเพลาะที่ขุดใน สงครามโลกครั้งที่ 1 มีความยาวถึง 25000 ไมล์ทีเดียว
  • 12. ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1 1. ฝ่ายสัมพันธมิตรชนะ 2. เศรษฐกิจทั่วโลกกระทบกระเทือนเนื่องจากสงคราม 3. ฮังการีถูกแยกออกจากออสเตรีย 4. เยอรมนี ออสเตรีย ตุรกี เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบบสาธาณรัฐ 5. เกิดประเทศใหม่ ได้แก่ ยูกสลาเวีย เชคโกสโลวาเกีย โปแลนด์ ลัทเวีย ลิโทเนีย 6. ทหารเสียชีวิต 8 ล้านคน บาดเจ็บ 20 ล้านคน 7. จัดตั้งองค์การสันนิบาตชาติ 8. มีการทาสนธิสัญญาแวร์ชายเพื่อลงโทษผู้แพ้ และผู้แพ้ต้องเสียอาณานิคม ค่าปฏิกรรม ซึ่งสนธิสัญญานี้ เป็นชนวนของสงครามโลกครั้งที่ 2
  • 14. สงครามโลกครั้งที่ 2 • เกิดขึ้นระหว่าง 1939-1945 • ประกอบด้วย 2 ฝ่าย คือ • ฝ่ายอักษะ (เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น) • ฝ่ายสัมพันธมิตร (สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส โซเวียต) • เป็นที่รู้กันทั่วโลกว่าก่อขึ้นโดยฮิตเลอร์ และแน่นอน ฮิตเลอร์เกลียดชาวยิว ทาให้มีชาวยิวตายไป 600,000 คนในสงครามครั้งนี้ • สงครามนี้มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 60 ล้านคน
  • 15. สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 2 • ความไม่เป็นธรรมของสนธิสัญญาแวร์ชาย • ควมล้มเหลวขององค์การสันนิบาตชาติ ที่รักษาสันติภาพไม่สาเร็จ • การเติบโตลัทธิฟาสซิสต์และลัทธิเผด็จการทหาร สะสมกองกาลังอาวุธร้ายแรงต่างๆ • ความขัดแย้งในอุดมการณ์ทางการเมือง แนวความคิดของผู้นาประเทศที่นิยมลัทธิทางทหาร ได้แก่ ฮิตเลอร์ ผู้นาลัทธินาซีของเยอรมนี และเบนนิโต มุสโสลินี ผู้นาลัทธิฟาสซีสม์ ของอิตาลี ทั้งสองต่อต้านแนวความคิด เสรีนิยม และระบบการเมืองแบบรัฐสภาของชาติยุโรป แต่ให้ความสาคัญกับพลังของลัทธิชาตินิยม ความ เข้มแข็งทางทหาร และอานาจผู้นามากกว่า
  • 16. ชนวนของสงครามโลกครั้งที่ 2 เยอรมนีได้ทาการจู่โจมประเทศโปแลนด์อย่างไม่ทันตั้งตัวในวันที่ 1 กันยายน 1939 ทาให้อังกฤษ และฝรั่งเศส ไม่พอใจและประกาศสงครามกับเยอรมนีทันที ทว่า ภายในเวลาเพียงแค่ 3 เดือน เยอรมนีก็ได้เข้ายึดกรุงปารีส • การ Blitzkrieg (บลิทซ์ครีก) เป็นวิธีที่เยอรมนีใช้ในการโจมตีแนวรบด้านตะวันตกและตะวันออกในระยะแรกๆ เป็นการโจมตีอย่างรวดเร็ว ประกอบด้วยการทิ้งระเบิดโดยเครื่องบินรบก่อนที่จะใช้ยานเกราะบุกเข้าโจมตีตามอย่างรวดเร็ว และสร้าง ความประหลาดใจให้กับฝ่ายข้าศึก ทาให้ฝ่ายตั้งรับไม่มีเวลาที่จะเตรียมการป้องกันใด ๆ เลย ซึ่งต้องใช้ทั้ง ประสิทธิภาพยานเกราะและการผสานการโจมตีทางอากาศ รถถัง Panzer IV ของเยอรมนี
  • 18. เหตุการณ์สาคัญในสงครามโลกครั้งที่ 2 • ญี่ปุ่นซึ่งเป็นพันธมิตรของเยอรมนี เปิดฉากสงครามโดยโจมตีอ่าวเพิร์ล ฐานทัพของสหรัฐอเมริกา ในหมู่ เกาะฮาวายเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ.1941 ทาให้สหรัฐอเมริกาประกาศเข้าร่วมสงครามฝ่ายเดียวกับชาติ พันธมิตรอย่างเป็น ทางการ • ฮิตเลอร์สั่งฆ่าชาวยิว โดยการหลอกว่าชาวยิวจะได้มาทางาน และฆ่าชาวยิวในห้องรมแก๊ส
  • 19. ดันเคิร์ก • เป็นปฏิบัติการทางทหารซึ่งเกิดที่ดันเคิร์ก ประเทศฝรั่งเศส ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง การยุทธ์นี้ต่อสู้กัน ระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรและนาซีเยอรมนี เป็นส่วนหนึ่งของยุทธการที่ฝรั่งเศสบนแนวรบด้านตะวันตก ยุทธการที่ดันเคิร์กเป็นการป้องกันและอพยพทหารอังกฤษและฝ่ายสัมพันธมิตรในทวีปยุโรประหว่างวันที่ 26 พฤษภาคมถึง 4 มิถุนายน 1940การตีโต้ตอบหลายครั้งของฝ่ายสัมพันธมิตร ไม่สามารถหยุดยั้งหัวหอกของ เยอรมันได้ ซึ่งไปถึงชายฝั่งเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม แยกกองทหารอังกฤษใกล้กับแอคม็องตีแย (Armentières) กองทัพที่ 1 แห่งฝรั่งเศส และกองทัพเบลเยียมที่อยู่เหนือขึ้นไปจากกาลังฝรั่งเศสส่วนใหญ่ที่ อยู่ทางใต้ของการบุกทะลวงของเยอรมัน เมื่อถึงช่องแคบแล้ว กาลังเยอรมันกวาดไปทางเหนือตามชายฝั่ง คุกคามที่จะยึดท่าและดักอังกฤษและฝรั่งเศสก่อนที่จะสามารถอพยพไปอังกฤษ
  • 20. • ฝ่ายเยอรมันหยุดการบุกเข้าดันเคิร์กซึ่งเป็นการตัดสินใจที่มีการถกเถียงกันมากที่สุดครั้งหน่งของสงคราม สิ่ง ที่เรียกว่า "คาสั่งหยุด" นั้นมิได้มาจากอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ซึ่งขัดต่อความเชื่อของมหาชน จอมพลแกร์ด ฟอน รุนด์ชเตดท์และกึนเทอร์ ฟอน คลูเกอเสนอว่ากองทัพเยอรมันรอบวงล้อมดันเคิร์กควรหยุดการบุกเข้าท่าและ สะสมกาลังเพื่อเลี่ยงการตีฝ่าของฝ่ายสัมพันธมิตร ฮิตเลอร์อนุมัติคาสั่งดังกล่าวในวันที่ 24 พฤษภาคมด้วย การสนับสนุนของกองบัญชาการทหารสูงสุด กองทัพหยุดเป็นเวลาสามวันซึ่งทาให้ฝ่ายสัมพันธมิตรมีเวลา เพียงพอสาหรับจัดระเบียบการอพยพดันเคิร์กและตั้งแนวป้องกัน แม้ว่าฝ่ายสัมพันธมิตรจะประเมิน สถานการณ์ดังกล่าวไว้อย่างเลวร้าย โดยบริเตนถึงขั้นอภิปรายกันเรื่องยอมจานนแบบมีเงื่อนไขต่อเยอรมนี ในบั้นปลายทหารฝ่ายสัมพันธมิตรได้รับการช่วยเหลือกว่า 330,000 นาย ดันเคิร์ก
  • 21. ยุทธการบาบอร์รอสซา...ยุทธการพลิกโลก เมื่อเยอรมนีทาสงครามกับยุโรปจนสามารถยึดครองเกือบทั้งยุโรปจนเหลือเพียงอังกฤษ เดิมที สหภาพโซเวียต และนาซีเยอรมันมีความคิดเห็นทางการเมืองที่แตกต่างกัน และขัดแย้งกันเรื่องโปแลนด์ในเรื่องสิทธิ์ในการ ปกครองโปแลนด์ ยุทธการบาบอร์รอสซาเป็นยุทธการทีเยอรมันบุกเข้าโซเวียต เริ่มวันที่ 22 มิถุนายน 1941 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อยึดครองสหภาพโซเวียต แต่ไม่ประสบผลสาเร็จ เพราะกาลังพลของโซเวียตมีจานวน มาก ถ้านับยานเกราะแล้ว โซเวียตมีรถถังถึง 24,000 คัน ในขณะที่เยอรมนีมีรถถังเพียง 5,200 คัน และใน ตอนท้ายทหารโซเวียตเพิ่มขึ้นถึง 5,000,000 นายในขณะที่เยอรมันมีเพียง 3,900,000 นาย ส่งผลให้เยอรมัน ต้องประสบความล้มเหลวบวกกับสภาพอากาศอันหนาวเย็นของรัสเซีย นอกจากนี้การรบครั้งนี้ส่งผลให้ด้าน ตะวันตกอ่อนแอลงและถูกยกพลขึ้นฝั่งในวันดีเดย์ (D-Day) ในวันที่ 6 มิถุนายน 1944 และในที่สุดนาซี เยอรมันต้องประสบกับความพ่ายแพ้
  • 22. ระเบิดปรมาณู นี่เป็นช่วงที่ญี่ปุ่นถูกสหรัฐอเมริกาบีบจนขีดสุด แต่ญี่ปุ่นยังไม่ประกาศยอมแพ้ สหรัฐอเมริกาจึงได้สั่งทิ้งระเบิด ปรมาณู “Little Boy” ใส่เมืองฮิโระชิมะในวันที่ 6 สิงหาคม ค.ศ 1945 และตามด้วย “Fat man” ใส่เมืองนะงะ ซะกิ การระเบิดทาให้มีผู้เสียชีวิตที่ฮิโระชิมะ 140,000 คนและที่นะงะซะกิ 80,000 คน ทั้งหมดเป็นพลเรือน หลังจากนั้นเป็นเวลา 6 วัน ญี่ปุ่นจึงประกาศยอมแพ้ การทิ้งระเบิดทั้งสองลูกดังกล่าวมีส่วนทาให้ประเทศญี่ปุ่น ต้องยอมรับหลักการ 3 ข้อว่าด้วยการห้ามมีอาวุธนิวเคลียร์ “ประมาณ 43 วินาทีหลังจากระเบิดถูกทิ้งลงสู่พื้น ผมมองเห็นแสงสว่างวาบ และสัมผัส ได้ถึงคลื่นกระแทกที่ทาให้เครื่องบินสั่นสะเทือน” -พอล ทิบเบตส์ อดีตนักบินผู้ทิ้งระเบิดปรมาณู
  • 23. ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2 • สัมพันธมิตรเป็นฝ่ายชนะ • มีการก่อตั้งองค์การสหประชาชาติ (UN) แทนสันนิบาตชาติ ด้วยจุดประสงค์เพื่อรักษาสันติภาพโลก • ทาให้เกิดสงครามเย็น • เกิดประเทศเอกราชใหม่ ประเทศที่เคยเป็นอาณานิคมแตกตัวเป็นเอกราชทั่วโลก • เกาหลีและเยอรมนีถูกแบ่งเป็น 2 ส่วน • เศรษฐกิจตกต่าทั่วโลก • เกิดประเทศมหาอานาจ 2 ประเทศคือ สหรัฐอเมริกาและโซเวียต
  • 24. ความเงียบเข้าปกคลุม ผมพูดและจาเป็นต้องพูด ดังนั้นผมจึงพูดแก่เขาว่า:"ทหาร ผมไม่อยากจะฆ่าคุณ ถ้าคุณจะ กระโดดเข้ามาอีก ผมก็จะไม่ทา ถ้าคุณรู้จักผิดชอบชั่วดีมากพอ แต่ว่าคุณเป็นแค่ความคิดเดิมของผมเท่านั้น ภาพที่ ปรากฎในจินตภาพของผมได้เปลี่ยนไปจากสิ่งที่ผมคิดเอาไว้ ในภาพนั้นผมแทงคุณ แต่ว่าในตอนนี้เป็นครั้งแรกของผม ที่เห็นว่าคุณเป็นมนุษย์เช่นเดียวกับผม ผมคิดถึงระเบิดมือของคุณ ดาบของคุณ ไรเฟิลของคุณ ตอนนี้ผมเห็นหน้า ภรรยาของคุณ หน้าของคุณและมิตรภาพของเราทั้งคู่ อภัยให้ผมด้วย ทหาร เราทั้งคู่เห็นตรงกันว่ามันสายเกินไปแล้ว ทาไมพวกเขาไม่เคยบอกเราว่าคุณเองก็เป็นปีศาจชั่วเช่นเรา ว่าแม่ของคุณก็เป็นห่วงคุณเช่นเรา และเราต่างก็กลัวความ ตายด้วยกัน ต้องตายและเจ็บปวดทรมานเช่นเรา - ให้อภัยผมด้วย ทหาร ทาไมคุณถึงเป็นศัตรูของผมไปได้ ถ้าคุณและ ผมต่างปลดไรเฟิลและเครื่องแบบนี่ออกไป พวกเราก็จะกลายเป็นพี่น้องกัน เหมือนกับเคทและอัลเบิร์ต เอาเวลายี่สิบปี ของผมไป ทหาร แล้วลุกขึ้น - เอาไปให้มากกว่านี้อีก เพื่อที่ผมจะไม่ทราบว่าแม่แต้จะพยายามทามันในขณะนี้ก็ตาม -Paul Bäumer, แนวรบด้านตะวันตก เหตุการณ์ไม่เปลี่ยนแปลง
  • 25. Will you go right...without anything left Or will you go left... without anything right
  • 26. บรรณาณุกรม สุพรรณิกา แซ่ฟุ้ง. สงครามโลกครั้งที่ 1. [เวปไซต์]. เข้าถึงได้จาก : http://suphannigablog.wordpress.com/หน่วยที่-4/สงครามโลกครั้งที่-1/. (วันที่ค้นข้อมูล : 8/9/2560) สุพรรณิกา แซ่ฟุ้ง. สงครามโลกครั้งที่ 2. [เวปไซต์]. เข้าถึงได้จาก : http://suphannigablog.wordpress.com/หน่วยที่-4/สงครามโลกครั้งที่-2/. (วันที่ค้นข้อมูล : 8/9/2560) ดันเคิร์ก. [เวปไซต์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.scifi.siligon.com/s_39dunk.html. (วันที่ค้นข้อมูล : 8/9/2560 วีระชัย โชคมุกดา. สงครามโลกครั้งที่ 1,2 (ฉบับสมบูรณ์). พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : ยิปซี กรุ๊ป. 2559