SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
มหาวิทยาลัยในกากับ :
ก.ความเป็นมา
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง :
อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์
มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย
(
ประวัติผู้บรรยาย :
มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
• Baby Boomer รุ่นสุดท้าย
• วท.บ. เทคนิคการแพทย์ คณะแพทย์ จุฬาฯ
• วท.ม. พยาธิวิทยาคลินิก คณะแพทย์ รามาธิบดี
• M.Sc. Biomedical Engineering , U. Southern
California
• เลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์
มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (2008 – 2011)
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
ทาไมต้องการเป็นมหาวิทยาลัยในกากับรัฐบาล
(ดร.กฤษณพงศ์ กีรติกร)
• ต้องการมี Autonomyในการบริหารมหาวิทยาลัยที่ดี
ที่เป็นเลิศในประเทศไทยและระดับสากล :
A good teacher is the beginning of a great university
• ระบบราชการเหมาะกับ การทาซ้า ไม่ใช่ระบบสาหรับ นวัตกรรม
และ ความคิดสร้างสรรค์ มีขีดจากัดในการคัดสรร พัฒนา
ส่งเสริม และรักษาคนดี คนมีศักยภาพ
• การ ประเมินอย่างต่อเนื่อง ประกันคุณภาพ ค่าตอบแทนที่ดีข้้น
• มหาวิทยาลัยมีความรับผิดรับชอบ (Accountability) ต่อผู้มีส่วน
เกี่ยวข้องทุกส่วน (Stakeholders)
มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
พระราชดาริเรื่องจัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยของ
สมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรมบรมราชชนก
พระบิดาแห่งการอุดมศ้กษาไทย (2471)
“........ การที่มหาวิทยาลัยจะมีความเป็นเลิศทางวิชาการ จะมีเสรีภาพ
ทางวิชาการอยู่ในระบบที่เป็นอิสระ และสมบูรณ์ในตนเอง ต้องจัด
โครงสร้างในลักษณะพิเศษ เพื่อให้มหาวิทยาลัยเป็น “สมองต้นความคิด
ของชาติ” ได้.....มหาวิทยาลัยจ้งไม่ควรสังกัดกระทรวงธรรมการ ..
มหาวิทยาลัยควรเป็นอิสระข้้นแก่องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
โดยตรง หรือข้้นแก่คณะอภิรัฐมนตรี .... ถ้าจะมีการเปลี่ยนแปลงต่อไป
เบื้องหน้า ก็ควรเป็นไปในทางที่มหาวิทยาลัย จะมีอิสรภาพมากข้้น
....... มีทุนรอน และ ผลประโยชน์รายได้ที่มากพอโดยไม่ต้องอาศัย
งบประมาณจากรัฐบาลเท่านั้น...... “
มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
ปี พ.ศ. เหตุการณ์สาคัญในระบบการศึกษาของไทย
๒๓๙๕ - คณะมิชชันนารีเพรสไบทีเรียน จัดสร้างโรงเรียนที่หมู่บ้านข้างวัดแจ้ง
๒๔๒๑ - ก่อตั้งโรงเรียนวังนันทอุทยาน หรือสวนอนันต์
๒๔๒๔ - ก่อตั้งโรงเรียนพระตาหนักสวนกุหลาบ และโรงเรียนในกรมมหาดเล็ก
รักษาพระองค์
๒๔๒๗ - พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๕ โปรดให้พสกนิกร
มีโอกาสเท่าเทียมกันทางการศึกษา และจัดตั้งโรงเรียนวัดมหรรณพา
ราม
๒๔๓๐ - มีการก่อตั้งกรมศึกษาธิการ
๒๔๓๕ - มีการก่อตั้งกระทรวงธรรมการ ประกอบด้วย กรมศึกษาธิการ (โรงเรียน
มูลศึกษา) กรมธรรมการกลาง กรมพยาบาล กรมพิพิธภัณฑ์ และ
กรมสังฆการี
๒๔๓๗/๓๙ - มีการก่อตั้งมหากุฎราชวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
๒๔๕๓ - ขยายโรงเรียนมหาดเล็กหลวงเดิมเป็ น “โรงเรียนข้าราชการพลเรือน”
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
ปี พ.ศ. หนึ่งศตวรรษแห่งการอุดมศึกษาของไทย
๒๔๕๙ - ก่อตั้ง “จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย”
๒๔๖๘ - นิติและรัฐศาสตร์ของจุฬาฯ ถูกโอนไปตั้งเป็นมหาวิทยาลัยธรรมศาตร์และ
การเมือง๒๔๘๕ - โอนบางส่วนของจุฬาฯ ไปตั้งเป็น มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (มหิดล) ใน
สังกัดกระทรวงสาธารณสุข
๒๔๘๖ - ก่อตั้ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สังกัดกระทรวงเกษตร
- มหาวิทยาลัยศิลปากร สังกัดกระทรวงศ้กษาธิการ
๒๕๐๗ - ตั้ง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
๒๕๐๘ - ตั้ง มหาวิทยาลัยขอนแก่น
๒๕๐๙ - ตั้งสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)
๒๕๑๐ - ตั้ง AIT โดยด้งเอาบัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรม สปอ. มาจากจุฬาฯ
๒๕๑๑ - ตั้ง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
- เกิดแนวความคิดที่อยากจะแยก มหาวิทยาลัยออกมาเสียจากระบบราชการ
ด้วยความรู้ส้กว่ากรอบที่เคร่งครัดของระเบียบทางราชการนั้นไม่เอื้อต่อ
งานวิจัย
มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็ นมา
หลักการของมหาวิทยาลัยในกากับรัฐบาล ( ป๋ วย อึ๊งภากรณ์, สิปปนนท์
เกตุทัต,กาแหง พลางกูร,เกษม สุวรรณกุล,สวัสดิ์ สกุลไทย , 2510)
“ มหาวิทยาลัยเป็ นส่วนหนึ่งของรัฐบาล มหาวิทยาลัยมีอิสระ
พอสมควร แต่ยังดาเนินการตามนโยบายการศึกษาของรัฐบาล
และรัฐบาลมีสิทธิส่งคนมานั่งในสภามหาวิทยาลัย มีสิทธิที่จะ
ตรวจสอบบัญชี ตรวจงานของมหาวิทยาลัยได้ มหาวิทยาลัย
ในกากับของรัฐบาลจะมีลักษณะเดียวกับธนาคารชาติ ซึ่งอยู่
ภายใต้กระทรวงการคลังเช่นกัน แต่มิได้ เป็ นส่วนหนึ่งของ
กระทรวงการคลัง ”
มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
ปี พ.ศ. หนึ่งศตวรรษแห่งการอุดมศึกษาของไทย
๒๕๑๔ - ตั้งสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าขึ้นจากการรวมโรงเรียนช่างเทคนิคใน
สังกัด กระทรวงศึกษาธิการ ๓ แห่งเข้าด้วยกัน
๒๔๖๘ - นิติและรัฐศาสตร์ของจุฬาฯ ถูกโอนไปตั้งเป็ นมหาวิทยาลัยธรรมศาตร์และ
การเมือง
๒๕๒๑ - มีการประชุมสัมนาเรื่องสถานภาพและเงินเดือนของอาจารย์มหาวิทยาลัย ที่
นิด้าจนนาไปสู่การปรับเลื่อนขั้นซีและการได้รับเงินประจาตาแหน่งทาง
วิชาการหลายปี ต่อมา (๒๕๒๖)๒๕๓๑ - ยกระดับวิทยาลัยเทคโนโลยี และอาชีวศึกษา ไปเป็ น “สถาบันเทคโนโลยีราช
มงคล” สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ
๒๕๓๓ - ผลจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ ๕ (๒๕๒๕ – ๒๕๒๙) นาไปสู่
การก่อตั้งมหาวิทยาลัยนอกระบบ อย่าง มทส วลัยลักษณ์
๒๕๓๕ - รัฐบาล อานันท์ ปันยารชุน ผลักดันมหาวิทยาลัยออกนอกระบบเป็ นร่าง
กฏหมาย ๑๘ ฉบับ
๒๕๔๐ - รัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๔๐ กาหนดให้มีกฏหมายการศึกษาแห่งชาติ
- ผลจากวิกฤตเศรษฐกิจและการลอยตัวค่าเงินบาท นาไปสู่การผลัก
มหาวิทยาลัยออกจากระบบราชการให้แล้วเสร็จภายในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ โดย
ผนวกเป็ นเงื่อนไขหนึ่งของการกู้เงินจากธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย
(ADB)
มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
ปี พ.ศ. หนึ่งศตวรรษแห่งการอุดมศึกษาของไทย
๒๕๔๒ - ตรา พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ๒๕๔๒ ด้วยประเด็นหลักคือการปฏิรูป
การศึกษา ซึ่งมีการกาหนดให้ยุบรวมเอาทบวงมหาวิทยาลัยเข้ามาเป็นส่วน
หนึ่งของกระทรวงศึกษาธิการ ในชื่อ คณะกรรมการการอุดมศึกษา
๒๔๖๘ - นิติและรัฐศาสตร์ของจุฬาฯ ถูกโอนไปตั้งเป็ นมหาวิทยาลัยธรรมศาตร์และ
การเมือง
๒๕๔๗ - ผ่าน พรบ. มหาวิทยาลัยราชภัฏ ส่งผลให้สถาบันราชภัฏ อันประกอบไปด้วย
วิทยาเขต ๔๑ แห่ง ถูกเปลี่ยนเป็ นมหาวิทยาลัยซึ่งอิสระแก่กันโดยนัย
๒๕๔๐-
๒๕๕๐
- มีผู้ศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงด้านอุดมศึกษาหลายท่านระบุว่า ประเทศ
ไทยมีการเปลี่ยนแปลง ตาแหน่งรัฐมนตรีศึกษาธิการบ่อยมาก เฉลี่ยแล้วแต่
ละท่านมีเวลาดารงตาแหน่งไม่ถึง ๑ ปี
๒๕๕๐ - ด้วยการผลักดันของรัฐมนตรีศึกษาธิการ ศ.ดร.วิจิตร ศรีสะอ้าน ทาให้มี
มหาวิทยาลัยของรัฐเปลี่ยนสถานะไปเป็ นมหาวิทยาลัยในกากับอีก ๗ แห่ง
ได้แก่ บูรพา มหิดล สจพ. ทักษิณ จุฬา เชียงใหม่ สจล.
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.)
มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
แนวคิดเรื่องมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ ผันแปร
ปรับตัว โอนอ่อน ไปตามสภาพวัฒนธรรมของ
องค์กรการศึกษา สภาพการเมือง เศรษฐกิจ
สังคม ตลอดจนผลกระทบจากภายนอกประเทศ
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.)
มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
ปัจจัยสนับสนุนเรื่องมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
• แผนพัฒนาอุดมศึกษา ระยะยาว (พ.ศ. 2533-2547)
• การแข่งขันที่รุนแรงขึ้นระหว่างมหาวิทยาลัย ระดับชาติ นานาชาติ
• จัดทาแผนปรับสถานภาพเสนอคณะรัฐมนตรีอนุมัติ ปี 2541-
2545
• ปรับระบบการบรรจุบุคลากรเป็ นพนักงานมหาวิทยาลัย ตั้งแต่
ปี งบประมาณ พ.ศ. 2542
• มีพนักงานมหาวิทยาลัยมากกว่าข้าราชการ
• มีระบบบริหารงานบุคคลมากกว่า 2 ระบบ
• มีระบบบริหารการเงินและพัสดุมากกว่า 1 ระบบ
• การบริหารงานวิชาการ มิได้สิ้นสุดที่สภามหาวิทยาลัยทุกเรื่อง
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.)
มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
ร่างพระราชบัญญัติ
คณะรัฐมนตรี
ไม่รับหลักการ
เห็นชอบ
รับหลักการ
วาระที่ ๓ ไม่เห็นชอบ
วาระที่ ๑
สภานิติบัญญัติ
วาระที่ ๒ตั้งกรรมาธิการพิจารณา
เสนอโปรดเกล้าฯ
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
สนช.
มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ มิได้มีแค่เรื่อง พรบ.
• ขนาด ประเภท ทาเล ที่ตั้งของมหาวิทยาลัย
• ที่สาคัญคือ คน ระบบ วัฒนธรรมองค์กร
• ทรัพย์สินอื่นๆ ทั้งที่จับต้องได้ และจับต้องไม่ได้ อาทิ ชื่อเสียง ผลงาน
สิ่งประดิษฐ์ สิทธิบัตร ศิษย์เก่า ความสัมพันธ์กับชุมชน สังคม เครือข่าย
ฯลฯ
• ความพร้อมที่แท้จริง คือ ความพร้อมอกพร้อมใจ เรื่องเช่นนี้ยากจะ
เกิดขึ้นได้ หากไร้ซึ่ง “ธรรมาภิบาล”
• กระนั้น มหาวิทยาลัยที่ไร้ซึ่งธรรมาภิบาลก็ยังอาจจะออกนอกระบบได้อย่าง
ราบรื่น หากมีความปรารถนาอันแรงกล้าจากสภามหาวิทยาลัย กฎหมาย
ลูกรองรับ และมีคณะทางานเตรียมความพร้อมที่มีประสิทธิภาพพอ
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.)
มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
• ยังเป็ นหน่วยงานของรัฐ รัฐยังคงเป็ นเจ้าของ 100% ยัง
ได้รับงบประมาณแผ่นดินมากขึ้นทุกปี บุคลากรยังใช้
เครื่องแบบ ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ตามบัญชี 7 (เดิม)
ฯลฯ
• ไม่ใช่การแปรรูป ไม่เป็ นรัฐวิสาหกิจ ยังเป็ นองค์กรสาธารณะ
ไม่แสวงหากาไร
• สถานะเป็ นนิติบุคคล แต่ไม่เป็ นส่วนราชการ
• มีอิสระในการบริหารงาน แต่โปร่งใสและ ตรวจสอบได้
• เน้นบริหารวิชาการ ยังคงมีกฎหมาย และกฎระเบียบที่มัก
อ้างอิงระบบราชการ
มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ  มหาวิทยาลัยนอกระบบ
มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
• มีความเป็ นอิสระทางวิชาการมากขึ้น มีอานาจตัดสิน/
วินิจฉัยเกี่ยวกับปรัชญา/นโยบายทางวิชาการ เปิ ด/ปิ ด
หลักสูตร ปรับปรุง/พัฒนาหลักสูตร กาหนดวิธีการเรียนการ
สอน การค้นคว้าวิจัยและการเผยแพร่องค์ความรู้
• มีความเป็ นอิสระทางการเงินมากขึ้น มีอานาจตัดสินใจ/
วินิจฉัย /ดาเนินการ เกี่ยวกับแหล่งที่มา/การจัดสรร
ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่มหาวิทยาลัย
• ความเป็ นอิสระในการบริหารงานบุคคลมากขึ้น มีอานาจ
กาหนดระบบบริหารงานบุคคล ตาแหน่ง/กรอบอัตรากาลัง /
ภาระงาน/เงื่อนไขการจ้าง /ค่าตอบแทน/สวัสดิการ/สิทธิ
ประโยชน์ /เลื่อนขั้น-/วินัย /ลงโทษ
มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ  มหาวิทยาลัยอิสระ
• งบประมาณจากรัฐเป็ นเงินอุดหนุนในลักษณะให้มาเป็ นก้อน
(Block Grant)
o เงินอุดหนุนทั่วไปค่าใช้จ่ายประจาปี
o เงินอุดหนุนกองทุนคงยอดเงินต้น
o อุดหนุนค่าใช้จ่ายลงทุน
• เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศให้
• รายได้หรือผลประโยชน์ที่ได้จากการร่วมลงทุนหรือการลงทุน
และจากทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย
แหล่งรายได้ของมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
• รายได้หรือผลประโยชน์ที่ได้จากการร่วมลงทุนหรือ การ
ลงทุนและจากทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย
• ค่าธรรมเนียม ค่าบารุง ค่าตอบแทน เบี้ยปรับ และค่าบริการ
ต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย
• รายได้หรือผลประโยชน์จากการใช้ที่ราชพัสดุหรือจัดหา
ประโยชน์ในที่ราชพัสดุ
• รายได้หรือผลประโยชน์อย่างอื่น
แหล่งรายได้ของมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ (ต่อ)
มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
1. งบประมาณแผ่นดิน ในรูปเงินอุดหนุนทั่วไป
2. รายได้จากทุนวิจัย
3. รายได้จากการบริการวิชาการ ตลอดจนผลประโยชน์ที่ได้
จากการลงทุนหรือการร่วมลงทุนที่เกี่ยวเนื่องกับทรัพย์สินทาง
ปัญญาของมหาวิทยาลัย
แหล่งรายได้หลัก 3 ส่วน ที่จะช่วยให้มีความคล่องตัว
สูง ตามคาแนะนาของผู้บริหาร มจธ.
มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
• รัฐพึงจัดสรรเป็ นจานวนเพียงพอสาหรับค่าใช้จ่ายในการ
ดาเนินการการพัฒนามหาวิทยาลัยเพื่อประกันคุณภาพ
การศึกษา
• กรณีค่าใช้จ่ายในการดาเนินการไม่เพียงพอ มหาวิทยาลัยไม่
สามารถหาจากแหล่งอื่นได้ รัฐพึงจัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไป
เพิ่มเติม ตามความจาเป็ นของมหาวิทยาลัย
หลักประกันการจัดสรรเงินงบประมาณจากรัฐ
มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
การจัดสรรเงินงบประมาณจากรัฐให้แก่ ม.ในกากับ 4
แห่ง ในช่วงปี 2548 3 2550
มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
งบดาเนินการ งบลงทุน งบดาเนินการ งบลงทุน งบดาเนินการ งบลงทุน
1. มทส
2. ม.วลัยลักษณ์
3. ม.แม่ฟ้ าหลวง
4. มจธ
515,161,900
284,307,600
178,373,000
525,492,300
117,672,600
130,478,500
150,130,000
99,729,000
556,094,100
312,067,800
206,800,200
585,383,000
102,282,500
140,667,200
153,305,700
132,600,000
643,796,200
346,094,100
250,206,500
616,061,500
134,032,500
141,926,000
191,912,800
293,875,000
ปี 2548 ปี 2549 ปี 2550
• การปรับเปลี่ยนสถานภาพข้าราชการเป็ นพนักงาน
มหาวิทยาลัย เป็ นไปโดยความสมัครใจไม่บังคับ
• ยังคงความเป็ นข้าราชการ ลูกจ้างส่วนราชการ จนกว่าจะ
แสดงเจตนาเปลี่ยนสถานภาพเป็ นพนักงานมหาวิทยาลัย
(แสดงเจตนาเปลี่ยนสถานภาพได้ตามบทเฉพาะกาล แสดง
เจตนาแล้วถอนมิได้)
• ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ตามบัญชี 7 (เดิม)
หลักประกันด้านสิทธิประโยชน์ของบุคลากร
มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
• การสนับสนุนจากรัฐในการปรับเปลี่ยนสถานภาพข้าราชการ
เป็ นพนักงานมหาวิทยาลัย
o จัดสรรเงินเพิ่ม 60% (40% เป็ นเงินเพิ่ม
ประสิทธิภาพ 20% เป็ นเงินสวัสดิการ)
o ข้าราชการที่เป็ นสมาชิกกองทุน กบข. สามารถเป็ น
สมาชิกต่อไปได้ ลาออกก็ได้บานาญ (ออกจากราชการ
เพราะเหตุยุบเลิกตาแหน่ง ) เงินสะสมสมทบ เงิน
ประเดิม เงินชดเชย และผลประโยชน์ตอบแทน ฯลฯ
ตามสิทธิ
หลักประกันด้านสิทธิประโยชน์ของบุคลากร (ต่อ)
มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.)
มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
• คุณภาพการเรียนการสอนที่ดีขึ้น จาก อาจารย์ / บุคลากร/
เครื่องมือ อุปกรณ์ต่างๆ/การจัดสรรทรัพยากร/การคัดเลือก
ผู้เรียน
• คุณภาพงานวิจัย (Research University ?) และสิ่งประดิษฐ์
ดีขึ้น เทียบได้กับมาตรฐานสากล
• เปลี่ยนกระบวนทัศน์ สร้างวัฒนธรรมใหม่ มีการพัฒนาการ
อย่างต่อเนื่อง มีกลไกประเมินเพิ่มประสิทธิภาพ มี
หลักประกันคุณภาพ สร้างผลงานที่ดีด้วยการใช้งบประมาณ
อย่างมีประสิทธิภาพ
ความคาดหวังเรื่องมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.)
มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
• มหาวิทยาลัยมีความรับผิดรับชอบ (Accountability) ต่อผู้มี
ส่วนเกี่ยวข้องทุกส่วน (Stakeholders)
• มหาวิทยาลัยมีความคล่องตัวในการบริหารมากขึ้น
• ลดภาระค่าใช้จ่ายของรัฐบาล
• เปิ ดหลักสูตรเพื่อตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงาน
ได้ (ศ.ดร. สิปนนท์ เกตุทัต เคยกล่าวไว้ว่า หน้าที่ต่อสังคม
ของมหาวิทยาลัย มี 3 เรื่องหลักๆ คือ ตอบสนอง ชี้นา
และ ตักเตือน)
• สวัสดิการของบุคลากรในมหาวิทยาลัยเทียบเท่าเอกชน
ความคาดหวังเรื่องมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ (ต่อ)
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.)
มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
• ผู้บริหารจะมีอานาจมากโดยปราศจากการตรวจสอบและไม่มี
ความโปร่งใส (ปัญหาธรรมาภิบาล)
• ค่าเล่าเรียนแพง ? ตัดโอกาสทางการศึกษาของผู้มีรายได้น้อย
ทางอ้อม
• ผลประโยชน์ตอบแทนที่บุคลากรมหาวิทยาลัยจะได้รับ
• ความพร้อมของ มหาวิทยาลัย
• มหาวิทยาลัยมุ่งขยายจานวนรับ นศ.ใหม่ เพื่อให้ได้รายได้จาก
การลงทะเบียนเรียนมากขึ้นจนอาจทาให้คุณภาพด้อยลง
• คณะหรือหลักสูตรที่ไม่คุ้มทุนในการเปิ ดสอน อาจจะต้องปิ ดตัว
ลง
ความกังวลเรื่องมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ

More Related Content

Similar to 01 มหาวิทยาลัยในกำกับ ความเป็นมา

งานเสวนา บนย่างก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 2015 ปัญหา อุปสรรคและโอกาส
งานเสวนา บนย่างก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 2015  ปัญหา อุปสรรคและโอกาสงานเสวนา บนย่างก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 2015  ปัญหา อุปสรรคและโอกาส
งานเสวนา บนย่างก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 2015 ปัญหา อุปสรรคและโอกาสTeeranan
 
จดหมายข่าว สภาคณาจารย์ ฉบับ2
จดหมายข่าว สภาคณาจารย์ ฉบับ2จดหมายข่าว สภาคณาจารย์ ฉบับ2
จดหมายข่าว สภาคณาจารย์ ฉบับ2Tepporn Chimpimol
 
นำเสนอ เกาหลี
นำเสนอ เกาหลีนำเสนอ เกาหลี
นำเสนอ เกาหลีKingkarn Saowalak
 
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563taem
 
การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2Wichai Likitponrak
 
ไขข้อข้องใจ มหาวิทยาลัยในกำกับ
ไขข้อข้องใจ มหาวิทยาลัยในกำกับ ไขข้อข้องใจ มหาวิทยาลัยในกำกับ
ไขข้อข้องใจ มหาวิทยาลัยในกำกับ สุรพล ศรีบุญทรง
 
การศึกษาไทยยุคพัฒนาการศึกษา
การศึกษาไทยยุคพัฒนาการศึกษาการศึกษาไทยยุคพัฒนาการศึกษา
การศึกษาไทยยุคพัฒนาการศึกษาwanwisa491
 
5.2 พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวง
5.2 พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวง5.2 พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวง
5.2 พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงกองพัน ตะวันแดง
 
แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554
แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554
แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554pentanino
 

Similar to 01 มหาวิทยาลัยในกำกับ ความเป็นมา (9)

งานเสวนา บนย่างก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 2015 ปัญหา อุปสรรคและโอกาส
งานเสวนา บนย่างก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 2015  ปัญหา อุปสรรคและโอกาสงานเสวนา บนย่างก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 2015  ปัญหา อุปสรรคและโอกาส
งานเสวนา บนย่างก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 2015 ปัญหา อุปสรรคและโอกาส
 
จดหมายข่าว สภาคณาจารย์ ฉบับ2
จดหมายข่าว สภาคณาจารย์ ฉบับ2จดหมายข่าว สภาคณาจารย์ ฉบับ2
จดหมายข่าว สภาคณาจารย์ ฉบับ2
 
นำเสนอ เกาหลี
นำเสนอ เกาหลีนำเสนอ เกาหลี
นำเสนอ เกาหลี
 
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
 
การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2
 
ไขข้อข้องใจ มหาวิทยาลัยในกำกับ
ไขข้อข้องใจ มหาวิทยาลัยในกำกับ ไขข้อข้องใจ มหาวิทยาลัยในกำกับ
ไขข้อข้องใจ มหาวิทยาลัยในกำกับ
 
การศึกษาไทยยุคพัฒนาการศึกษา
การศึกษาไทยยุคพัฒนาการศึกษาการศึกษาไทยยุคพัฒนาการศึกษา
การศึกษาไทยยุคพัฒนาการศึกษา
 
5.2 พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวง
5.2 พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวง5.2 พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวง
5.2 พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวง
 
แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554
แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554
แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554
 

More from Surapol Sriboonsong

ความเสี่ยงในการเจาะเลือด
ความเสี่ยงในการเจาะเลือดความเสี่ยงในการเจาะเลือด
ความเสี่ยงในการเจาะเลือดSurapol Sriboonsong
 
มหาวิทยาลัยสู่อาเซียน
มหาวิทยาลัยสู่อาเซียนมหาวิทยาลัยสู่อาเซียน
มหาวิทยาลัยสู่อาเซียนSurapol Sriboonsong
 
ภาวะผู้นำของสภามหาวิทยาลัย
ภาวะผู้นำของสภามหาวิทยาลัยภาวะผู้นำของสภามหาวิทยาลัย
ภาวะผู้นำของสภามหาวิทยาลัยSurapol Sriboonsong
 
ความร่วมมือช่วยมหาวิทยาลัยไต่อันดับ (2)
ความร่วมมือช่วยมหาวิทยาลัยไต่อันดับ (2)ความร่วมมือช่วยมหาวิทยาลัยไต่อันดับ (2)
ความร่วมมือช่วยมหาวิทยาลัยไต่อันดับ (2)Surapol Sriboonsong
 
ความร่วมมือช่วยมหาวิทยาลัยไต่อันดับ (1)
ความร่วมมือช่วยมหาวิทยาลัยไต่อันดับ (1)ความร่วมมือช่วยมหาวิทยาลัยไต่อันดับ (1)
ความร่วมมือช่วยมหาวิทยาลัยไต่อันดับ (1)Surapol Sriboonsong
 
กรรมการสภามหาวิทยาลัยกับการปฏิรูปการศึกษา
กรรมการสภามหาวิทยาลัยกับการปฏิรูปการศึกษากรรมการสภามหาวิทยาลัยกับการปฏิรูปการศึกษา
กรรมการสภามหาวิทยาลัยกับการปฏิรูปการศึกษาSurapol Sriboonsong
 
สารสมอง ปฐมฤกษ์
สารสมอง ปฐมฤกษ์ สารสมอง ปฐมฤกษ์
สารสมอง ปฐมฤกษ์ Surapol Sriboonsong
 

More from Surapol Sriboonsong (7)

ความเสี่ยงในการเจาะเลือด
ความเสี่ยงในการเจาะเลือดความเสี่ยงในการเจาะเลือด
ความเสี่ยงในการเจาะเลือด
 
มหาวิทยาลัยสู่อาเซียน
มหาวิทยาลัยสู่อาเซียนมหาวิทยาลัยสู่อาเซียน
มหาวิทยาลัยสู่อาเซียน
 
ภาวะผู้นำของสภามหาวิทยาลัย
ภาวะผู้นำของสภามหาวิทยาลัยภาวะผู้นำของสภามหาวิทยาลัย
ภาวะผู้นำของสภามหาวิทยาลัย
 
ความร่วมมือช่วยมหาวิทยาลัยไต่อันดับ (2)
ความร่วมมือช่วยมหาวิทยาลัยไต่อันดับ (2)ความร่วมมือช่วยมหาวิทยาลัยไต่อันดับ (2)
ความร่วมมือช่วยมหาวิทยาลัยไต่อันดับ (2)
 
ความร่วมมือช่วยมหาวิทยาลัยไต่อันดับ (1)
ความร่วมมือช่วยมหาวิทยาลัยไต่อันดับ (1)ความร่วมมือช่วยมหาวิทยาลัยไต่อันดับ (1)
ความร่วมมือช่วยมหาวิทยาลัยไต่อันดับ (1)
 
กรรมการสภามหาวิทยาลัยกับการปฏิรูปการศึกษา
กรรมการสภามหาวิทยาลัยกับการปฏิรูปการศึกษากรรมการสภามหาวิทยาลัยกับการปฏิรูปการศึกษา
กรรมการสภามหาวิทยาลัยกับการปฏิรูปการศึกษา
 
สารสมอง ปฐมฤกษ์
สารสมอง ปฐมฤกษ์ สารสมอง ปฐมฤกษ์
สารสมอง ปฐมฤกษ์
 

01 มหาวิทยาลัยในกำกับ ความเป็นมา

  • 1. มหาวิทยาลัยในกากับ : ก.ความเป็นมา รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์ มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
  • 2. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ( ประวัติผู้บรรยาย : มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา • Baby Boomer รุ่นสุดท้าย • วท.บ. เทคนิคการแพทย์ คณะแพทย์ จุฬาฯ • วท.ม. พยาธิวิทยาคลินิก คณะแพทย์ รามาธิบดี • M.Sc. Biomedical Engineering , U. Southern California • เลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์ มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (2008 – 2011)
  • 3. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) ทาไมต้องการเป็นมหาวิทยาลัยในกากับรัฐบาล (ดร.กฤษณพงศ์ กีรติกร) • ต้องการมี Autonomyในการบริหารมหาวิทยาลัยที่ดี ที่เป็นเลิศในประเทศไทยและระดับสากล : A good teacher is the beginning of a great university • ระบบราชการเหมาะกับ การทาซ้า ไม่ใช่ระบบสาหรับ นวัตกรรม และ ความคิดสร้างสรรค์ มีขีดจากัดในการคัดสรร พัฒนา ส่งเสริม และรักษาคนดี คนมีศักยภาพ • การ ประเมินอย่างต่อเนื่อง ประกันคุณภาพ ค่าตอบแทนที่ดีข้้น • มหาวิทยาลัยมีความรับผิดรับชอบ (Accountability) ต่อผู้มีส่วน เกี่ยวข้องทุกส่วน (Stakeholders) มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
  • 4. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) พระราชดาริเรื่องจัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยของ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรมบรมราชชนก พระบิดาแห่งการอุดมศ้กษาไทย (2471) “........ การที่มหาวิทยาลัยจะมีความเป็นเลิศทางวิชาการ จะมีเสรีภาพ ทางวิชาการอยู่ในระบบที่เป็นอิสระ และสมบูรณ์ในตนเอง ต้องจัด โครงสร้างในลักษณะพิเศษ เพื่อให้มหาวิทยาลัยเป็น “สมองต้นความคิด ของชาติ” ได้.....มหาวิทยาลัยจ้งไม่ควรสังกัดกระทรวงธรรมการ .. มหาวิทยาลัยควรเป็นอิสระข้้นแก่องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยตรง หรือข้้นแก่คณะอภิรัฐมนตรี .... ถ้าจะมีการเปลี่ยนแปลงต่อไป เบื้องหน้า ก็ควรเป็นไปในทางที่มหาวิทยาลัย จะมีอิสรภาพมากข้้น ....... มีทุนรอน และ ผลประโยชน์รายได้ที่มากพอโดยไม่ต้องอาศัย งบประมาณจากรัฐบาลเท่านั้น...... “ มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
  • 5. มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา ปี พ.ศ. เหตุการณ์สาคัญในระบบการศึกษาของไทย ๒๓๙๕ - คณะมิชชันนารีเพรสไบทีเรียน จัดสร้างโรงเรียนที่หมู่บ้านข้างวัดแจ้ง ๒๔๒๑ - ก่อตั้งโรงเรียนวังนันทอุทยาน หรือสวนอนันต์ ๒๔๒๔ - ก่อตั้งโรงเรียนพระตาหนักสวนกุหลาบ และโรงเรียนในกรมมหาดเล็ก รักษาพระองค์ ๒๔๒๗ - พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๕ โปรดให้พสกนิกร มีโอกาสเท่าเทียมกันทางการศึกษา และจัดตั้งโรงเรียนวัดมหรรณพา ราม ๒๔๓๐ - มีการก่อตั้งกรมศึกษาธิการ ๒๔๓๕ - มีการก่อตั้งกระทรวงธรรมการ ประกอบด้วย กรมศึกษาธิการ (โรงเรียน มูลศึกษา) กรมธรรมการกลาง กรมพยาบาล กรมพิพิธภัณฑ์ และ กรมสังฆการี ๒๔๓๗/๓๙ - มีการก่อตั้งมหากุฎราชวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย ๒๔๕๓ - ขยายโรงเรียนมหาดเล็กหลวงเดิมเป็ น “โรงเรียนข้าราชการพลเรือน”
  • 6. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา ปี พ.ศ. หนึ่งศตวรรษแห่งการอุดมศึกษาของไทย ๒๔๕๙ - ก่อตั้ง “จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย” ๒๔๖๘ - นิติและรัฐศาสตร์ของจุฬาฯ ถูกโอนไปตั้งเป็นมหาวิทยาลัยธรรมศาตร์และ การเมือง๒๔๘๕ - โอนบางส่วนของจุฬาฯ ไปตั้งเป็น มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (มหิดล) ใน สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ๒๔๘๖ - ก่อตั้ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สังกัดกระทรวงเกษตร - มหาวิทยาลัยศิลปากร สังกัดกระทรวงศ้กษาธิการ ๒๕๐๗ - ตั้ง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ๒๕๐๘ - ตั้ง มหาวิทยาลัยขอนแก่น ๒๕๐๙ - ตั้งสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) ๒๕๑๐ - ตั้ง AIT โดยด้งเอาบัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรม สปอ. มาจากจุฬาฯ ๒๕๑๑ - ตั้ง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - เกิดแนวความคิดที่อยากจะแยก มหาวิทยาลัยออกมาเสียจากระบบราชการ ด้วยความรู้ส้กว่ากรอบที่เคร่งครัดของระเบียบทางราชการนั้นไม่เอื้อต่อ งานวิจัย
  • 7. มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็ นมา หลักการของมหาวิทยาลัยในกากับรัฐบาล ( ป๋ วย อึ๊งภากรณ์, สิปปนนท์ เกตุทัต,กาแหง พลางกูร,เกษม สุวรรณกุล,สวัสดิ์ สกุลไทย , 2510) “ มหาวิทยาลัยเป็ นส่วนหนึ่งของรัฐบาล มหาวิทยาลัยมีอิสระ พอสมควร แต่ยังดาเนินการตามนโยบายการศึกษาของรัฐบาล และรัฐบาลมีสิทธิส่งคนมานั่งในสภามหาวิทยาลัย มีสิทธิที่จะ ตรวจสอบบัญชี ตรวจงานของมหาวิทยาลัยได้ มหาวิทยาลัย ในกากับของรัฐบาลจะมีลักษณะเดียวกับธนาคารชาติ ซึ่งอยู่ ภายใต้กระทรวงการคลังเช่นกัน แต่มิได้ เป็ นส่วนหนึ่งของ กระทรวงการคลัง ”
  • 8. มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา ปี พ.ศ. หนึ่งศตวรรษแห่งการอุดมศึกษาของไทย ๒๕๑๔ - ตั้งสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าขึ้นจากการรวมโรงเรียนช่างเทคนิคใน สังกัด กระทรวงศึกษาธิการ ๓ แห่งเข้าด้วยกัน ๒๔๖๘ - นิติและรัฐศาสตร์ของจุฬาฯ ถูกโอนไปตั้งเป็ นมหาวิทยาลัยธรรมศาตร์และ การเมือง ๒๕๒๑ - มีการประชุมสัมนาเรื่องสถานภาพและเงินเดือนของอาจารย์มหาวิทยาลัย ที่ นิด้าจนนาไปสู่การปรับเลื่อนขั้นซีและการได้รับเงินประจาตาแหน่งทาง วิชาการหลายปี ต่อมา (๒๕๒๖)๒๕๓๑ - ยกระดับวิทยาลัยเทคโนโลยี และอาชีวศึกษา ไปเป็ น “สถาบันเทคโนโลยีราช มงคล” สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ๒๕๓๓ - ผลจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ ๕ (๒๕๒๕ – ๒๕๒๙) นาไปสู่ การก่อตั้งมหาวิทยาลัยนอกระบบ อย่าง มทส วลัยลักษณ์ ๒๕๓๕ - รัฐบาล อานันท์ ปันยารชุน ผลักดันมหาวิทยาลัยออกนอกระบบเป็ นร่าง กฏหมาย ๑๘ ฉบับ ๒๕๔๐ - รัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๔๐ กาหนดให้มีกฏหมายการศึกษาแห่งชาติ - ผลจากวิกฤตเศรษฐกิจและการลอยตัวค่าเงินบาท นาไปสู่การผลัก มหาวิทยาลัยออกจากระบบราชการให้แล้วเสร็จภายในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ โดย ผนวกเป็ นเงื่อนไขหนึ่งของการกู้เงินจากธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย (ADB)
  • 9. มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา ปี พ.ศ. หนึ่งศตวรรษแห่งการอุดมศึกษาของไทย ๒๕๔๒ - ตรา พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ๒๕๔๒ ด้วยประเด็นหลักคือการปฏิรูป การศึกษา ซึ่งมีการกาหนดให้ยุบรวมเอาทบวงมหาวิทยาลัยเข้ามาเป็นส่วน หนึ่งของกระทรวงศึกษาธิการ ในชื่อ คณะกรรมการการอุดมศึกษา ๒๔๖๘ - นิติและรัฐศาสตร์ของจุฬาฯ ถูกโอนไปตั้งเป็ นมหาวิทยาลัยธรรมศาตร์และ การเมือง ๒๕๔๗ - ผ่าน พรบ. มหาวิทยาลัยราชภัฏ ส่งผลให้สถาบันราชภัฏ อันประกอบไปด้วย วิทยาเขต ๔๑ แห่ง ถูกเปลี่ยนเป็ นมหาวิทยาลัยซึ่งอิสระแก่กันโดยนัย ๒๕๔๐- ๒๕๕๐ - มีผู้ศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงด้านอุดมศึกษาหลายท่านระบุว่า ประเทศ ไทยมีการเปลี่ยนแปลง ตาแหน่งรัฐมนตรีศึกษาธิการบ่อยมาก เฉลี่ยแล้วแต่ ละท่านมีเวลาดารงตาแหน่งไม่ถึง ๑ ปี ๒๕๕๐ - ด้วยการผลักดันของรัฐมนตรีศึกษาธิการ ศ.ดร.วิจิตร ศรีสะอ้าน ทาให้มี มหาวิทยาลัยของรัฐเปลี่ยนสถานะไปเป็ นมหาวิทยาลัยในกากับอีก ๗ แห่ง ได้แก่ บูรพา มหิดล สจพ. ทักษิณ จุฬา เชียงใหม่ สจล.
  • 10. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.) มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา แนวคิดเรื่องมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ ผันแปร ปรับตัว โอนอ่อน ไปตามสภาพวัฒนธรรมของ องค์กรการศึกษา สภาพการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ตลอดจนผลกระทบจากภายนอกประเทศ
  • 11. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.) มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา ปัจจัยสนับสนุนเรื่องมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ • แผนพัฒนาอุดมศึกษา ระยะยาว (พ.ศ. 2533-2547) • การแข่งขันที่รุนแรงขึ้นระหว่างมหาวิทยาลัย ระดับชาติ นานาชาติ • จัดทาแผนปรับสถานภาพเสนอคณะรัฐมนตรีอนุมัติ ปี 2541- 2545 • ปรับระบบการบรรจุบุคลากรเป็ นพนักงานมหาวิทยาลัย ตั้งแต่ ปี งบประมาณ พ.ศ. 2542 • มีพนักงานมหาวิทยาลัยมากกว่าข้าราชการ • มีระบบบริหารงานบุคคลมากกว่า 2 ระบบ • มีระบบบริหารการเงินและพัสดุมากกว่า 1 ระบบ • การบริหารงานวิชาการ มิได้สิ้นสุดที่สภามหาวิทยาลัยทุกเรื่อง
  • 12. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.) มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
  • 14.
  • 15. ร่างพระราชบัญญัติ คณะรัฐมนตรี ไม่รับหลักการ เห็นชอบ รับหลักการ วาระที่ ๓ ไม่เห็นชอบ วาระที่ ๑ สภานิติบัญญัติ วาระที่ ๒ตั้งกรรมาธิการพิจารณา เสนอโปรดเกล้าฯ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา สนช.
  • 16. มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ มิได้มีแค่เรื่อง พรบ. • ขนาด ประเภท ทาเล ที่ตั้งของมหาวิทยาลัย • ที่สาคัญคือ คน ระบบ วัฒนธรรมองค์กร • ทรัพย์สินอื่นๆ ทั้งที่จับต้องได้ และจับต้องไม่ได้ อาทิ ชื่อเสียง ผลงาน สิ่งประดิษฐ์ สิทธิบัตร ศิษย์เก่า ความสัมพันธ์กับชุมชน สังคม เครือข่าย ฯลฯ • ความพร้อมที่แท้จริง คือ ความพร้อมอกพร้อมใจ เรื่องเช่นนี้ยากจะ เกิดขึ้นได้ หากไร้ซึ่ง “ธรรมาภิบาล” • กระนั้น มหาวิทยาลัยที่ไร้ซึ่งธรรมาภิบาลก็ยังอาจจะออกนอกระบบได้อย่าง ราบรื่น หากมีความปรารถนาอันแรงกล้าจากสภามหาวิทยาลัย กฎหมาย ลูกรองรับ และมีคณะทางานเตรียมความพร้อมที่มีประสิทธิภาพพอ
  • 17. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.) มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา • ยังเป็ นหน่วยงานของรัฐ รัฐยังคงเป็ นเจ้าของ 100% ยัง ได้รับงบประมาณแผ่นดินมากขึ้นทุกปี บุคลากรยังใช้ เครื่องแบบ ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ตามบัญชี 7 (เดิม) ฯลฯ • ไม่ใช่การแปรรูป ไม่เป็ นรัฐวิสาหกิจ ยังเป็ นองค์กรสาธารณะ ไม่แสวงหากาไร • สถานะเป็ นนิติบุคคล แต่ไม่เป็ นส่วนราชการ • มีอิสระในการบริหารงาน แต่โปร่งใสและ ตรวจสอบได้ • เน้นบริหารวิชาการ ยังคงมีกฎหมาย และกฎระเบียบที่มัก อ้างอิงระบบราชการ มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ  มหาวิทยาลัยนอกระบบ
  • 18. มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา • มีความเป็ นอิสระทางวิชาการมากขึ้น มีอานาจตัดสิน/ วินิจฉัยเกี่ยวกับปรัชญา/นโยบายทางวิชาการ เปิ ด/ปิ ด หลักสูตร ปรับปรุง/พัฒนาหลักสูตร กาหนดวิธีการเรียนการ สอน การค้นคว้าวิจัยและการเผยแพร่องค์ความรู้ • มีความเป็ นอิสระทางการเงินมากขึ้น มีอานาจตัดสินใจ/ วินิจฉัย /ดาเนินการ เกี่ยวกับแหล่งที่มา/การจัดสรร ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่มหาวิทยาลัย • ความเป็ นอิสระในการบริหารงานบุคคลมากขึ้น มีอานาจ กาหนดระบบบริหารงานบุคคล ตาแหน่ง/กรอบอัตรากาลัง / ภาระงาน/เงื่อนไขการจ้าง /ค่าตอบแทน/สวัสดิการ/สิทธิ ประโยชน์ /เลื่อนขั้น-/วินัย /ลงโทษ มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ  มหาวิทยาลัยอิสระ
  • 19. • งบประมาณจากรัฐเป็ นเงินอุดหนุนในลักษณะให้มาเป็ นก้อน (Block Grant) o เงินอุดหนุนทั่วไปค่าใช้จ่ายประจาปี o เงินอุดหนุนกองทุนคงยอดเงินต้น o อุดหนุนค่าใช้จ่ายลงทุน • เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศให้ • รายได้หรือผลประโยชน์ที่ได้จากการร่วมลงทุนหรือการลงทุน และจากทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย แหล่งรายได้ของมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
  • 20. • รายได้หรือผลประโยชน์ที่ได้จากการร่วมลงทุนหรือ การ ลงทุนและจากทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย • ค่าธรรมเนียม ค่าบารุง ค่าตอบแทน เบี้ยปรับ และค่าบริการ ต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย • รายได้หรือผลประโยชน์จากการใช้ที่ราชพัสดุหรือจัดหา ประโยชน์ในที่ราชพัสดุ • รายได้หรือผลประโยชน์อย่างอื่น แหล่งรายได้ของมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ (ต่อ) มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
  • 21. 1. งบประมาณแผ่นดิน ในรูปเงินอุดหนุนทั่วไป 2. รายได้จากทุนวิจัย 3. รายได้จากการบริการวิชาการ ตลอดจนผลประโยชน์ที่ได้ จากการลงทุนหรือการร่วมลงทุนที่เกี่ยวเนื่องกับทรัพย์สินทาง ปัญญาของมหาวิทยาลัย แหล่งรายได้หลัก 3 ส่วน ที่จะช่วยให้มีความคล่องตัว สูง ตามคาแนะนาของผู้บริหาร มจธ. มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
  • 22. • รัฐพึงจัดสรรเป็ นจานวนเพียงพอสาหรับค่าใช้จ่ายในการ ดาเนินการการพัฒนามหาวิทยาลัยเพื่อประกันคุณภาพ การศึกษา • กรณีค่าใช้จ่ายในการดาเนินการไม่เพียงพอ มหาวิทยาลัยไม่ สามารถหาจากแหล่งอื่นได้ รัฐพึงจัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไป เพิ่มเติม ตามความจาเป็ นของมหาวิทยาลัย หลักประกันการจัดสรรเงินงบประมาณจากรัฐ มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
  • 23. การจัดสรรเงินงบประมาณจากรัฐให้แก่ ม.ในกากับ 4 แห่ง ในช่วงปี 2548 3 2550 มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา งบดาเนินการ งบลงทุน งบดาเนินการ งบลงทุน งบดาเนินการ งบลงทุน 1. มทส 2. ม.วลัยลักษณ์ 3. ม.แม่ฟ้ าหลวง 4. มจธ 515,161,900 284,307,600 178,373,000 525,492,300 117,672,600 130,478,500 150,130,000 99,729,000 556,094,100 312,067,800 206,800,200 585,383,000 102,282,500 140,667,200 153,305,700 132,600,000 643,796,200 346,094,100 250,206,500 616,061,500 134,032,500 141,926,000 191,912,800 293,875,000 ปี 2548 ปี 2549 ปี 2550
  • 24. • การปรับเปลี่ยนสถานภาพข้าราชการเป็ นพนักงาน มหาวิทยาลัย เป็ นไปโดยความสมัครใจไม่บังคับ • ยังคงความเป็ นข้าราชการ ลูกจ้างส่วนราชการ จนกว่าจะ แสดงเจตนาเปลี่ยนสถานภาพเป็ นพนักงานมหาวิทยาลัย (แสดงเจตนาเปลี่ยนสถานภาพได้ตามบทเฉพาะกาล แสดง เจตนาแล้วถอนมิได้) • ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ตามบัญชี 7 (เดิม) หลักประกันด้านสิทธิประโยชน์ของบุคลากร มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
  • 25. • การสนับสนุนจากรัฐในการปรับเปลี่ยนสถานภาพข้าราชการ เป็ นพนักงานมหาวิทยาลัย o จัดสรรเงินเพิ่ม 60% (40% เป็ นเงินเพิ่ม ประสิทธิภาพ 20% เป็ นเงินสวัสดิการ) o ข้าราชการที่เป็ นสมาชิกกองทุน กบข. สามารถเป็ น สมาชิกต่อไปได้ ลาออกก็ได้บานาญ (ออกจากราชการ เพราะเหตุยุบเลิกตาแหน่ง ) เงินสะสมสมทบ เงิน ประเดิม เงินชดเชย และผลประโยชน์ตอบแทน ฯลฯ ตามสิทธิ หลักประกันด้านสิทธิประโยชน์ของบุคลากร (ต่อ) มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
  • 26. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.) มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา • คุณภาพการเรียนการสอนที่ดีขึ้น จาก อาจารย์ / บุคลากร/ เครื่องมือ อุปกรณ์ต่างๆ/การจัดสรรทรัพยากร/การคัดเลือก ผู้เรียน • คุณภาพงานวิจัย (Research University ?) และสิ่งประดิษฐ์ ดีขึ้น เทียบได้กับมาตรฐานสากล • เปลี่ยนกระบวนทัศน์ สร้างวัฒนธรรมใหม่ มีการพัฒนาการ อย่างต่อเนื่อง มีกลไกประเมินเพิ่มประสิทธิภาพ มี หลักประกันคุณภาพ สร้างผลงานที่ดีด้วยการใช้งบประมาณ อย่างมีประสิทธิภาพ ความคาดหวังเรื่องมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
  • 27. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.) มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา • มหาวิทยาลัยมีความรับผิดรับชอบ (Accountability) ต่อผู้มี ส่วนเกี่ยวข้องทุกส่วน (Stakeholders) • มหาวิทยาลัยมีความคล่องตัวในการบริหารมากขึ้น • ลดภาระค่าใช้จ่ายของรัฐบาล • เปิ ดหลักสูตรเพื่อตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงาน ได้ (ศ.ดร. สิปนนท์ เกตุทัต เคยกล่าวไว้ว่า หน้าที่ต่อสังคม ของมหาวิทยาลัย มี 3 เรื่องหลักๆ คือ ตอบสนอง ชี้นา และ ตักเตือน) • สวัสดิการของบุคลากรในมหาวิทยาลัยเทียบเท่าเอกชน ความคาดหวังเรื่องมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ (ต่อ)
  • 28. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.) มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา • ผู้บริหารจะมีอานาจมากโดยปราศจากการตรวจสอบและไม่มี ความโปร่งใส (ปัญหาธรรมาภิบาล) • ค่าเล่าเรียนแพง ? ตัดโอกาสทางการศึกษาของผู้มีรายได้น้อย ทางอ้อม • ผลประโยชน์ตอบแทนที่บุคลากรมหาวิทยาลัยจะได้รับ • ความพร้อมของ มหาวิทยาลัย • มหาวิทยาลัยมุ่งขยายจานวนรับ นศ.ใหม่ เพื่อให้ได้รายได้จาก การลงทะเบียนเรียนมากขึ้นจนอาจทาให้คุณภาพด้อยลง • คณะหรือหลักสูตรที่ไม่คุ้มทุนในการเปิ ดสอน อาจจะต้องปิ ดตัว ลง ความกังวลเรื่องมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ