SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
หลักสูตร
“นักบริหารวิสาหกิจเพื่อสังคม” รุ่น 3
(Social Entrepreneurship and Management : SEM)
คณะผู้ริเริ่มจัดตั้งศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคม
แห่งมหาวิทยาลัยรังสิต
1. รศ.ดร.สังศิต พิริยะรังสรรค์ คณบดี วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม
มหาวิทยาลัยรังสิต (ที่ปรึกษา)
2. ดร.สุริยะใส กตะศิลา รองคณบดี วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม
มหาวิทยาลัยรังสิต
3. ผศ.ดร.ฐิติพร ศิริพันธ์ พันธเสน รองคณบดี วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม
มหาวิทยาลัยรังสิต
4. ดร.ดวงพร อาภาศิลป์ อดีตรองคณบดี วิทยาลัยนวัตกรรม
สังคม มหาวิทยาลัยรังสิต
5. ดร.ศักดิสิน ปัจจักขะภัติ สถาบันพัฒนาการบริหารทรัพย์สิน
และอสังหาริมทรัพย์
6. ดร.วัฒนา โอภานนท์อมตะ บริษัท บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน)
7. ดร.สุวัฒน์ ทองธนากุล หนังสือพิมพ์ผู้จัดการ
8. ดร.นัชชา เทียมพิทักษ์ บริษัท ซีพี ออลล์ จากัด (มหาชน)
9. ดร.สมฤดี ศรีจรรยา สถาบันการตลาดเพื่อสังคม
10. ดร.ณัฐพงษ์ จารุวรรณพงศ์ สานักงานส่งเสริมกิจการเพื่อสังคม
11. ดร.พิพัฒน์ ยอดพฤติการ สถาบันไทยพัฒน์
12. ดร.สุนทร คุณชัยมัง มูลนิธิสัมมาชีพ
ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
1. รศ.ดร.สังศิต พิริยะรังสรรค์ คณบดี วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม
2. ผศ.ดร.ฐิติพร ศิริพันธ์ พันธเสน รองคณบดี วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม
3. ดร.สุริยะใส กตะศิลา รองคณบดี วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม
4. ดร.สุนทร คุณชัยมัง ผู้อานวยการหลักสูตร
สารบัญ
หน้า
หลักการและเหตุผล 1
วัตถุประสงค์ 5
กลุ่มเป้ าหมาย 5
การดาเนินงาน 6
หลักสูตร “การจัดการกิจการเพื่อสังคมเชิงกลยุทธ์” 8
สถานที่ติดต่อ 15
หลักการและเหตุผล
ในระยะ 20 ปีที่ผ่านมา กระแสความตื่นตัวให้ความสนใจต่อการ
พัฒนาเศรษฐกิจฐานรากในระดับชุมชน การส่งเสริมการประกอบการ
การสนับสนุนในกิจการขนาดกลางและขนาดย่อม1
เพื่อต่อยอด
เศรษฐกิจใหม่ๆ ให้กับระบบเศรษฐกิจของประเทศไทยนั้นได้
เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและมีความเข้มข้นขึ้นตามลาดับควบคู่ไปกับ
การยกระดับการให้ความสาคัญต่อสิทธิการมีส่วนร่วมของภาคสังคม
การมีส่วนร่วมของประชาชนผู้มีส่วนได้เสีย รวมทั้งสอดรับไปกับ
การกระจายอานาจการปกครองจากส่วนกลางไปยังภูมิภาค ซึ่งกล่าว
อีกนัยหนึ่งได้ว่าการสร้างกลไกสนับสนุนเศรษฐกิจรายย่อยต่างๆ
ข้างต้น ก็เปรียบเสมือนการกระจายความสามารถในการเข้าถึง
แหล่งทุนและโอกาสทางเศรษฐกิจจากส่วนกลางไปยังท้องถิ่นจาก
เมืองไปยังชนบท จากระดับของคนในส่วนผู้นาของสังคมไปยัง
ระดับชุมชน ยิ่งไปกว่านั้น ในห้วงระยะเวลาเดียวกันนี้ ในประเทศ
ไทย ยังให้ความสนใจต่อการรณรงค์ให้กิจการเอกชนเข้ามาร่วม
รับผิดชอบต่อการจัดการแก้ไขปัญหาของสังคมหรือที่รู้จักกัน
โดยทั่วไปว่า “ความรับผิดชอบต่อสังคม” (Corporate Social
Responsibility : CSR) ซึ่งจะมีประเด็นการสนับสนุนเศรษฐกิจใน
ระดับชุมชนรวม อยู่ด้วย ซึ่งขึ้ นอยู่กับการพิจารณาของ
ผู้ประกอบการกับผู้มีส่วนได้เสียจะให้ความสาคัญ
1
สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) จัดตั้งขึ้นในปี 2543
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME Development Bank) จัดตั้งขึ้น
ในปี 2545
สาหรับ “วิสาหกิจเพื่อสังคม” (Social Enterprise : SE) ในกรณี
ของไทย นับได้ว่าเป็นกระแสที่เกิดขึ้นตามหลังจากเรื่องต่างๆ ข้างต้น
รัฐบาลไทยโดยมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ.2553
ได้จัดตั้ง “สานักงานสร้างเสริมกิจการเพื่อสังคมแห่งชาติ” (สกส.)
ขึ้นตามระเบียบกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ2
ตามแผน
แม่บทว่าด้วยการสร้างเสริมกิจการเพื่อสังคม พ.ศ.2553-2557
โดย สกส. มีเป้ าหมายสาคัญที่จะกระตุ้น สนับสนุน ประสานความ
ร่วมมือเพื่อให้เกิดกิจการเพื่อสังคมและพัฒนาเป็นเครือข่ายตอบสนอง
ต่อปั ญหาทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม
ครอบคลุมการประกอบการจากบุคคลโดยทั่วไปที่ดาเนินธุรกิจด้วย
การคานึงถึงผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม อนึ่ง กรอบภารกิจ
ของ สกส. ที่รวมไปถึงการประกอบการโดยบุคคลที่ดาเนินธุรกิจด้วย
การคานึงถึงผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม นั้นย่อม
หมายความว่า ได้ขยายความเกี่ยวข้องในการดาเนินงานไปยัง “การ
ประกอบการเพื่อสังคม” (Social Entrepreneurship) อีกมิติหนึ่ง
ด้วย
รัฐบาลของ พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้เห็นชอบที่จะพัฒนา
เศรษฐกิจของประเทศเพื่อก้าวข้ามกับดักการเป็นประเทศที่มีรายได้
ปานกลาง กับดักความเหลื่อมล้าของความมั่งคั่งและกับดักความ
ไม่สมดุลของการพัฒนา ด้วยการพัฒนาประเทศให้เศรษฐกิจ
2
ต่อมารัฐบาลโดยสานักนายกรัฐมนตรี ได้อาศัยอานาจตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบ
บริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 รองรับการดาเนินงานของ สกส. เรียกว่า ระเบียบ
สานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย การส่งเสริมกิจการเพื่อสังคมแห่งชาติ พ.ศ.2554 โดยมี
นายกรัฐมนตรี เป็นประธานคณะกรรมการสร้างเสริมกิจการเพื่อสังคมแห่งชาติ (คกส.)
กระแสหลัก พัฒนาด้วยนวัตกรรมเป็ นพลังขับเคลื่อนเป็ น
Innovation-Driven Industry เพื่อปรับเปลี่ยนประเทศให้ก้าวไปตาม
“ประเทศไทย 4.0” ในขณะเดียวกัน ก็ผลักดันนโยบาย “ประชา
รัฐ” ให้นาเอาความสามารถในด้านต่างๆ ของกิจการเอกชน ไป
ร่วมกับกลไกของภาครัฐ เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจในระดับฐานราก
รวมทั้งการดาเนินงานในด้านต่างๆ โดยมีคณะทางานว่าด้วยประชา
รัฐ 13 คณะ มีการจัดตั้ง “บริษัทประชารัฐรักสามัคคีจังหวัด
จากัด” และนาเอาแนวคิดว่าด้วยวิสาหกิจเพื่อสังคม มาเป็ น
แนวทางในการดาเนินงานชักชวนเอกชนให้มาร่วมลงทุนกับชุมชน
(โดยจากัดสิทธิและการปันผลของการลงทุนภาคเอกชน-มุ่งให้
ความสาคัญต่อการจัดการโดยชุมชนเป็นหลัก) และออกพระราช
กฤษฎีกาเพื่อยกเว้นภาษีแก่ธุรกิจที่ประกอบกิจการตามกรอบ
เกณฑ์ที่กาหนดขึ้นเป็น “วิสาหกิจเพื่อสังคม”3
(เป็นธุรกิจที่ดาเนิน
กิจการเพื่อสังคม และนาเอากาไรที่ได้จากการประกอบกิจการไม่
น้อยกว่า 70% ไปใช้ในการลงทุนเพื่อสังคมต่อไปอีก)
อย่างไรก็ตาม ปรากฏว่า ในขณะที่รัฐบาลเร่งรัดพัฒนาเศรษฐกิจ
ฐานรากตามแนวทางประชารัฐนั้น สกส. ซึ่งเป็นองค์กรที่รณรงค์
แนวคิดว่าด้วยวิสาหกิจเพื่อสังคมมาก่อนหน้านี้ ต้องยุติตัวเองลง
เป็นการชั่วคราว เนื่องจากต้องรอการตราพระราชบัญญัติจัดตั้ง
องค์กร จึงทาให้การดาเนินกิจการวิสาหกิจเพื่อสังคมตามนโยบายของ
3
พระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่
621) พ.ศ.2559 ประกาศกิจจานุเบกษา 30 สิงหาคม 2559
รัฐบาล ขาดองค์กรสนับสนุน (Supporting Organization)
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านวิชาการและการจัดการความรู้
สถานการณ์แวดล้อมที่ได้กล่าวมาข้างต้น จึงเป็นที่มาของการจัดทา
ข้อเสนอให้จัดตั้ง “ศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่ อสังคม
แห่งมหาวิทยาลัยรังสิต” เรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า Social Enterprise
Studies and Development Center of Rangsit University เรียก
โดยย่อว่า RSU-SE Center เพื่อทาหน้าที่ศึกษา ค้นคว้า และจัดให้
มีการสนับสนุนต่อผู้ปฏิบัติงานของภาคส่วนต่างๆ ทั้งภาครัฐ
เอกชน ประชาสังคม ตลอดจนเยาวชนคนรุ่นใหม่ที่เพิ่งจบ
การศึกษาหรือ ที่เริ่มทางานใน 1-3 ปีแรกที่สนใจจะเปลี่ยนงาน
ไปสร้างวิสาหกิจหรือกิจการเพื่อสังคม ในเบื้ องต้นนี้ RSU-SE
Center ขอเสนอให้มีการดาเนินงานในหลักสูตร “นักบริหาร
วิสาหกิจเพื่อสังคม”
วัตถุประสงค์
1. เป็นการเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ และความเชี่ยวชาญในการ
จัดการวิสาหกิจและการประกอบการเพื่อสังคมสาหรับผู้นา
ในภาครัฐ เอกชน และประชาสังคม
2. เป็ นการพัฒนาความรู้ด้านการบริหารจัดการกับการ
ดาเนินงานวิสาหกิจและการประกอบการเพื่อสังคม
3. เป็นส่วนหนึ่งของกิจการเพื่อสังคมด้านงานวิชาการในนาม
ของมหาวิทยาลัยรังสิต
กลุ่มเป้ าหมาย
1. ผู้บริหารวิสาหกิจเพื่อสังคมขององค์กรภาครัฐทั้งส่วนกลาง
และท้องถิ่น
2. ผู้บริหารที่เกี่ยวข้องกับงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม
ในองค์กรภาคเอกชน
3. ผู้นาชุมชน และเจ้าหน้าที่ขององค์กรชุมชนที่ดาเนินงาน
ด้านวิสาหกิจชุมชน
4. ผู้บริหารขององค์กรสนับสนุนในกิจการชุมชน
การดาเนินงาน
1. ลักษณะของหลักสูตร
เป็นหลักสูตรอบรมแบบระยะสั้น โดยมีระยะเวลาเรียนและทา
กิจกรรมในชั้นเรียนร่วมกันเพียง 3 วัน เน้นสร้างความรู้พื้นฐาน
(Concept) และเครื่องมือ (Tools) ที่จาเป็นสาหรับการดาเนินงาน
ให้บรรลุตามเป้ าหมายและพร้อมกับการรู้จักสรุปรวบยอดและตั้ง
เป็นข้อสังเกตหรือตั้งเป็นสมมติฐานสาหรับการค้นคว้าและพัฒนา
ต่อยอด ซึ่งเป็นไปตามลักษณะเฉพาะของการเรียนรู้ที่เกิดจากงาน
ภาคสนาม หรือ Field-based learning
2. หมวดวิชา
2.1 การจัดการกิจการเพื่อสังคมเชิงกลยุทธ์
เป็นวิชาที่มุ่งหวังให้ผู้เข้าอบรมมีหลักที่จะพิจารณา
ความสาคัญของประเด็นปัญหาของสังคมกับความเหมาะสมของ
กิจการและการทางานของฝ่ายกิจการเพื่อสังคม ยกระดับความรู้
เกี่ยวกับรูปแบบ ขั้นตอน และเทคนิคการพัฒนางานความร่วมมือ
รวมทั้งการปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์ในระดับองค์กร
2.2 การจัดการกิจการชุมชนเชิงกลยุทธ์
เป็นวิชาที่มุ่งหวังให้ผู้เข้าอบรมมีหลักคิดหรือเครื่องมือ
เบื้องต้นที่จะประเมินการดาเนินธุรกิจของชุมชน รวมทั้งมีแนวทาง
สาหรับการจัดการเร่งด่วน การสร้างเครื่องมือ Checklist และการ
พัฒนาองค์กรในระยะกลาง รวมทั้งการอธิบายผลลัพธ์ต่อสังคมซึ่ง
จะเป็นไปทั้งความสามารถในการสร้างเศรษฐกิจใหม่จากภาคส่วน
ของผู้ประกอบการที่ไม่ใช่รัฐและเอกชน และเป็นการริเริ่มจัดการ
เศรษฐกิจไปจากระดับฐานรากของสังคมที่จะไปเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจ
กระแสหลัก
3. การจัดอบรม รุ่นที่ 3 เดือนมกราคม พ.ศ. 2561
- วันศุกร์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2561
(เวลา 18.00 - 21.00 น.)
- วันเสาร์ที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2561
(เวลา 09.00 – 16.00 น.)
- วันอาทิตย์ที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2561
(เวลา 09.00 – 16.00 น.)
4. อัตราค่าอบรม 15,000 บาท/คน
5. สถานที่ มหาวิทยาลัยรังสิต หมู่บ้านเมืองเอก
6. จานวน 30 คนต่อรุ่น
ผู้ที่ผ่านการอบรมหลักสูตร “นักบริหารวิสาหกิจเพื่อสังคม”
และประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาโท มหาวิทยาลัยรังสิต
สามารถนาไปเทียบโอนผลการเรียนในรายวิชา
CSI 636 จรรยาบรรณและความรับผิดชอบต่อสังคม
(Ethics and Social Responsibility)
CSI 640 ธุรกิจเพื่อสังคมและวิสาหกิจชุมชน
(Social Enterprise and Community Business)
หลักสูตรอบรม
“การจัดการกิจการเพื่อสังคมเชิงกลยุทธ์”
บรรยายโดย
ดร.พิพัฒน์ ยอดพฤติการ
ดร.สุนทร คุณชัยมัง
Goals
มุ่งหวังที่จะให้ผู้เข้าอบรมมีหลักที่จะพิจารณาความสาคัญของ
ประเด็นปัญหาของสังคมกับความเหมาะสมของกิจการและการ
ทางานของฝ่ายกิจการเพื่อสังคม ยกระดับความรู้เกี่ยวกับรูปแบบ
ขั้นตอน และเทคนิคการพัฒนางานความร่วมมือ รวมทั้งการ
ปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์ในระดับองค์กร
Sustainability Management
สาระสาคัญของวิชานี้ จะเกี่ยวข้องกับ ประเด็นท้าทายของเศรษฐกิจ
และสังคมของโลกทั้งในอดีต ปัจจุบัน และอนาคตกับวิวัฒนาการ
ของแนวคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน การแปรผลสู่การปฏิบัติตาม
มาตรการต่างๆ ทั้งด้านสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม ทั้งที่
เป็นไปตามนโยบายของรัฐ และมาตรการการสร้างมาตรฐานสากล
(Standardization)
จะอธิบายถึงการนาเอาแนวคิดว่าด้วยการพัฒนาอย่างยั่งยืนไปใช้
เป็นยุทธศาสตร์การจัดการเศรษฐกิจทั้งในระดับมหภาคและจุลภาค
ที่นาเอาประเด็นของสังคมที่ไม่ได้รับการแก้ไขตามกลไกปกติไปนับ
รวมเป็นโจทย์สาคัญ รวมทั้งมุ่งอธิบายถึงแนวคิดใหม่ๆ ที่รองรับต่อ
การดาเนินตามยุทธศาสตร์นี้ เช่น Inclusive growth, Linked
Economy, Social Enterprise (SE), Social Business (SB) and
Creating Shared Value (CSV) นอกจากนี้ ยังจะอธิบายถึงลักษณะ
และความหมายของผลลัพธ์ (Result-based) เพื่อทาความเข้าใจต่อ
ผลลัพธ์ที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงสังคม (Social impact)
Collaborative Governance
สาระสาคัญของวิชานี้ จะเกี่ยวข้องกับ การบริหารจัดการในรูปแบบใหม่
ที่ก้าวหน้าล้าไปกว่าการมีส่วนร่วม (Participatory management)
ที่เป็นเพียงแค่การรับฟังความคิดเห็นหรือเสียงสะท้อนกลับจาก
สาธารณะ ซึ่งเป็นขั้นตอนในเบื้ องต้น แต่ก็ไม่ใช่การทางานแบบ
จัดตั้งองค์กรร่วมขึ้นมาดาเนินการแทนตามรูปแบบของการจัดการ
โดย Single organization
จะอธิบายถึงการจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กร การยกระดับ
การจัดงานฐานความสัมพันธ์ที่องค์กรดาเนินงานไว้แล้ว (Relationship-
Based) ไปสู่งานที่มีลักษณะของการแปรผลไปสู่การทางานร่วมกัน
แบบตั้งอยู่บนฐานของพันธะสัญญาตามความร่วมมือที่สร้างสรรค์ขึ้น
รวมทั้งยังคงไว้ซึ่งประสิทธิภาพของการบริหาร เช่น Collaboration,
Participatory Budgeting, Collective Impact, Mass Collaboration
and Collaborative Governing
Strategic Corporate Social Responsibility
สาระสาคัญของวิชานี้ จะเกี่ยวข้องกับ การบริหารจัดการเปลี่ยนแปลง
ในระดับวิสัยทัศน์ กรอบพันธกิจ และโครงสร้างขององค์กร
จะนาเอากรณีศึกษาขององค์กรขนาดใหญ่ในประเภทต่างๆ มาเป็น
ตัวอย่างของการศึกษาของการเปลี่ยนแปลงในระดับยุทธศาสตร์
องค์กร ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก เช่น การจัดตั้งองค์กร
ใหม่ๆ ของ UN การจัดประชุม World Economic Forum การบริหาร
ยุทธศาสตร์การเปลี่ยนแปลงโดยรัฐ (State-led policy) การเปลี่ยน
ทิศทางของธุรกิจสู่ประเด็นทางสังคมของ Shell, Nestle’, Unilever
การเกิดองค์กรใหม่ๆ แบบเครือข่ายของ Shared Value Initiative
และการจัดการข้อมูลความรู้แบบ Non-peer review ของ Stanford
Social Innovation Review
หลักสูตรอบรม
“การจัดการกิจการชุมชนเชิงกลยุทธ์”
บรรยายโดย
ดร.ณัฐพงษ์ จารุวรรณพงศ์
ดร.นัชชา เทียมพิทักษ์
ดร.สุนทร คุณชัยมัง
Goals
มุ่งหวังที่จะให้ผู้เข้าอบรมมีหลักคิดหรือเครื่องมือเบื้ องต้นที่จะ
ประเมินการดาเนินธุรกิจของชุมชน รวมทั้งมีแนวทางสาหรับการ
จัดการเร่งด่วน การสร้างเครื่องมือ Checklist และการพัฒนาองค์กร
ในระยะกลาง รวมทั้งการอธิบายผลลัพธ์ต่อสังคม ซึ่งจะเป็นไปทั้ง
ความสามารถในการสร้างเศรษฐกิจใหม่จากภาคส่วนของ
ผู้ประกอบการที่ไม่ใช่รัฐและเอกชน และเป็ นการริเริ่มจัดการ
เศรษฐกิจไปจากระดับฐานรากของสังคม ที่จะไปเชื่อมโยงกับ
เศรษฐกิจกระแสหลัก
Community Capital
สาระสาคัญของวิชานี้ จะเกี่ยวข้องกับ การทาความเข้าใจต่อการทา
ธุรกิจหรือการประกอบการของชุมชน (Community Entrepreneurs)
ซึ่งในหลักการแล้วจะเป็นการปรับเปลี่ยน Mode of production
จากการผลิตแบบเกษตรไปสู่การจัดการแบบค้าขายและ
อุตสาหกรรม ที่ผู้ประกอบการในระดับชุมชนจะต้องปรับเปลี่ยน
ตาม
จะอธิบายถึง Best practice ของกิจการในระดับวิสาหกิจชุมชนที่
ประสบความสาเร็จ จะมีองค์ประกอบของ “ทุนสามก้อน” ซึ่งเป็น
การรวมกันระหว่าง “ทุนการรวมกลุ่มชุมชน” “ทุนสนับสนุนจาก
ภายนอก” และ “ทุนความรู้และการสร้างสรรค์” ประกอบกับ
บุคลิกลักษณะของการจัดการการมีส่วนร่วมแบบก้าวหน้า เป็นการใช้
ความสามารถจากองค์กรภาคส่วนอื่น โดยเฉพาะภาคธุรกิจเอกชน
มาช่วยแก้ไขปัญหาความสามารถทางธุรกิจซึ่งเป็นจุดอ่อนของชุมชน
นอกจากนี้ ยังจะอธิบายถึงลักษณะและความหมายของผลลัพธ์
(Result-based) เพื่อทาความเข้าใจต่อผลลัพธ์ที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง
สังคม (Social impact)
Scaling Up
สาระสาคัญของวิชานี้ จะเกี่ยวข้องกับ การยกระดับจากกิจกรรมเล็ก
ในระดับชุมชนไปสู่การเป็นส่วนหนึ่งของห่วงโซ่อุปทานในระบบ
เศรษฐกิจ ซึ่งเป็นข้อต่อของการพัฒนาของผู้ประกอบการในระดับ
ชุมชน และเป็นไปจุดอ่อนของ Social Enterprise โดยทั่วไป
จะอธิบายถึง Best practice ของกิจการในระดับวิสาหกิจชุมชน
ประสบความสาเร็จ ซึ่งจะต้องมีแผนงานการจัดการองค์กร
การพัฒนาความรู้ความสามารถบุคลากร การวางแผนงาน การจัดการ
ทรัพยากรมนุษย์ การประสานงานและการสร้างพันธมิตรธุรกิจ-
กรณีตัวอย่างของการศึกษาในญี่ปุ่นและอเมริกาซึ่งเป็นประเทศที่มี
การสร้างระบบแวดล้อมหรือที่เรียกว่า Ecosystem สนับสนุน
รวมทั้งการปรับเปลี่ยนไปสู่กิจการของคนรุ่นใหม่-กรณีของการ
จัดตั้งบริษัท DripTech เพื่อบริการระบบน้าหยดในอินเดีย
Linked Economy
สาระสาคัญของวิชานี้ จะเกี่ยวข้องกับ ความสามารถใหม่หรือ
นวัตกรรมทางสังคมที่เกิดขึ้นจากการสร้างสรรค์เศรษฐกิจโดยการ
มีส่วนร่วมของผู้ประกอบการในระดับชุมชน ซึ่งเป็ นการแก้ไข
ประเด็นการกระจายเศรษฐกิจจากส่วนกลางไปยังภูมิภาคหรือการ
กระจายความมั่งคั่งออกไปจากการรวมศูนย์ของกิจการขนาดใหญ่
เป็นการบวกรวมเศรษฐกิจกระแสหลักกับกระแสรองเข้าด้วยกันโดย
บทบาทของ “กระแสรอง”
จะอธิบายถึง Best practice ของกิจการในระดับวิสาหกิจชุมชนและ
การจัดการเศรษฐกิจระดับท้องถิ่นที่ประสบความสาเร็จของกรณี
โออิตะ (ผลิตภัณฑ์วัฒนธรรมหมู่บ้านและการท่องเที่ยว) กรณีการ
สนับสนุน Open Innovation Center ของเกาหลีใต้ และกรณีการ
จัดตั้ง Social Enterprise Center ของรัฐบาลอังกฤษ ฯลฯ
ที่ตั้ง : ศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคม แห่งมหาวิทยาลัยรังสิต
52/347 หมู่บ้านเมืองเอก ตึก 3 ชั้น 1 ห้อง 116
ถ.พหลโยธิน ต.หลักหก อ.เมือง จ.ปทุมธานี 12000
โทรศัพท์ : 0-2617-5854-8 โทรสาร : 0-2617-5859
เว็บไซต์ : https://rsusecenter.wordpress.com/
https://www.facebook.com/RSUSEcenter/
ผู้ประสานงาน :
พิมพ์ชฎา ธนกุลดารง โทรศัพท์ : 081-623-3544
ทัศนีย์ ขัดสืบ โทรศัพท์ : 086-428-6775
RSU-SE3

More Related Content

Similar to RSU-SE3

51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2Pisan Chueachatchai
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยKlangpanya
 
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทยยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทยKlangpanya
 
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559Utai Sukviwatsirikul
 
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559Utai Sukviwatsirikul
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1Taraya Srivilas
 
ไขข้อข้องใจ มหาวิทยาลัยในกำกับ
ไขข้อข้องใจ มหาวิทยาลัยในกำกับ ไขข้อข้องใจ มหาวิทยาลัยในกำกับ
ไขข้อข้องใจ มหาวิทยาลัยในกำกับ สุรพล ศรีบุญทรง
 
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมพระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมPoramate Minsiri
 
Proposal54 mk 8_nov10(final)
Proposal54 mk 8_nov10(final)Proposal54 mk 8_nov10(final)
Proposal54 mk 8_nov10(final)chorchamp
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrctrattapol
 
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)Kobwit Piriyawat
 
ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว Chuchai Sornchumni
 
การเดินทางของแนวคิด 1
การเดินทางของแนวคิด 1การเดินทางของแนวคิด 1
การเดินทางของแนวคิด 1Image plus Communication
 
กลุ่มISIS (The Islamic State in Iraq and al-Sham)
กลุ่มISIS (The Islamic State in Iraq and al-Sham) กลุ่มISIS (The Islamic State in Iraq and al-Sham)
กลุ่มISIS (The Islamic State in Iraq and al-Sham) Klangpanya
 
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งpentanino
 
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบweeraboon wisartsakul
 

Similar to RSU-SE3 (20)

51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทยยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
 
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
 
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1
 
ไขข้อข้องใจ มหาวิทยาลัยในกำกับ
ไขข้อข้องใจ มหาวิทยาลัยในกำกับ ไขข้อข้องใจ มหาวิทยาลัยในกำกับ
ไขข้อข้องใจ มหาวิทยาลัยในกำกับ
 
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมพระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม
 
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด c
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด cเนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด c
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด c
 
Proposal54 mk 8_nov10(final)
Proposal54 mk 8_nov10(final)Proposal54 mk 8_nov10(final)
Proposal54 mk 8_nov10(final)
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrct
 
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
 
ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว
 
V 251
V 251V 251
V 251
 
V247
V247V247
V247
 
การเดินทางของแนวคิด 1
การเดินทางของแนวคิด 1การเดินทางของแนวคิด 1
การเดินทางของแนวคิด 1
 
กลุ่มISIS (The Islamic State in Iraq and al-Sham)
กลุ่มISIS (The Islamic State in Iraq and al-Sham) กลุ่มISIS (The Islamic State in Iraq and al-Sham)
กลุ่มISIS (The Islamic State in Iraq and al-Sham)
 
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
 
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
 
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด a
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด aเนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด a
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด a
 

More from Image plus Communication

สานพลังประชารัฐ
สานพลังประชารัฐสานพลังประชารัฐ
สานพลังประชารัฐImage plus Communication
 
โครงสร้างศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคม
โครงสร้างศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคมโครงสร้างศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคม
โครงสร้างศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคมImage plus Communication
 
ตารางเรียน Rsu se-รุ่น3
ตารางเรียน Rsu se-รุ่น3ตารางเรียน Rsu se-รุ่น3
ตารางเรียน Rsu se-รุ่น3Image plus Communication
 
ตารางเรียน หลักสูตรอบรมนักบริหารวิสาหกิจเพื่อสังคม รุ่น3
ตารางเรียน หลักสูตรอบรมนักบริหารวิสาหกิจเพื่อสังคม รุ่น3ตารางเรียน หลักสูตรอบรมนักบริหารวิสาหกิจเพื่อสังคม รุ่น3
ตารางเรียน หลักสูตรอบรมนักบริหารวิสาหกิจเพื่อสังคม รุ่น3Image plus Communication
 
โครงสร้างศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคม
โครงสร้างศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคมโครงสร้างศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคม
โครงสร้างศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคมImage plus Communication
 
ประสบการณ์เก็บตกจากงานรางวัลวิสาหกิจชุมชน สัมมาชีพ Social transition journey
ประสบการณ์เก็บตกจากงานรางวัลวิสาหกิจชุมชน สัมมาชีพ Social transition journeyประสบการณ์เก็บตกจากงานรางวัลวิสาหกิจชุมชน สัมมาชีพ Social transition journey
ประสบการณ์เก็บตกจากงานรางวัลวิสาหกิจชุมชน สัมมาชีพ Social transition journeyImage plus Communication
 
กระแสการตื่นตัวของฐานรากของโลก
กระแสการตื่นตัวของฐานรากของโลกกระแสการตื่นตัวของฐานรากของโลก
กระแสการตื่นตัวของฐานรากของโลกImage plus Communication
 
1. หลักสูตร "การจัดการกิจการเพื่อสังคมเชิงกลยุทธ์" รุ่น 2
1. หลักสูตร "การจัดการกิจการเพื่อสังคมเชิงกลยุทธ์" รุ่น 21. หลักสูตร "การจัดการกิจการเพื่อสังคมเชิงกลยุทธ์" รุ่น 2
1. หลักสูตร "การจัดการกิจการเพื่อสังคมเชิงกลยุทธ์" รุ่น 2Image plus Communication
 
ก้าวสำคัญ - ก้าวที่ร่วมสร้างสัมมาชีพเต็มพื้นที
ก้าวสำคัญ - ก้าวที่ร่วมสร้างสัมมาชีพเต็มพื้นทีก้าวสำคัญ - ก้าวที่ร่วมสร้างสัมมาชีพเต็มพื้นที
ก้าวสำคัญ - ก้าวที่ร่วมสร้างสัมมาชีพเต็มพื้นทีImage plus Communication
 
Internet based & anti – corruption movements
Internet based & anti – corruption movementsInternet based & anti – corruption movements
Internet based & anti – corruption movementsImage plus Communication
 
โอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่น
โอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่นโอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่น
โอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่นImage plus Communication
 
จากรั้วโรงงานสู่ประตู่บ้าน ชุมชน
จากรั้วโรงงานสู่ประตู่บ้าน ชุมชนจากรั้วโรงงานสู่ประตู่บ้าน ชุมชน
จากรั้วโรงงานสู่ประตู่บ้าน ชุมชนImage plus Communication
 

More from Image plus Communication (18)

สานพลังประชารัฐ
สานพลังประชารัฐสานพลังประชารัฐ
สานพลังประชารัฐ
 
โครงสร้างศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคม
โครงสร้างศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคมโครงสร้างศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคม
โครงสร้างศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคม
 
Introductiion #2
Introductiion #2Introductiion #2
Introductiion #2
 
Introduction #1
Introduction #1 Introduction #1
Introduction #1
 
ตารางเรียน Rsu se-รุ่น3
ตารางเรียน Rsu se-รุ่น3ตารางเรียน Rsu se-รุ่น3
ตารางเรียน Rsu se-รุ่น3
 
ตารางเรียน หลักสูตรอบรมนักบริหารวิสาหกิจเพื่อสังคม รุ่น3
ตารางเรียน หลักสูตรอบรมนักบริหารวิสาหกิจเพื่อสังคม รุ่น3ตารางเรียน หลักสูตรอบรมนักบริหารวิสาหกิจเพื่อสังคม รุ่น3
ตารางเรียน หลักสูตรอบรมนักบริหารวิสาหกิจเพื่อสังคม รุ่น3
 
RSU-SE3 PR #1
RSU-SE3 PR #1RSU-SE3 PR #1
RSU-SE3 PR #1
 
โครงสร้างศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคม
โครงสร้างศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคมโครงสร้างศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคม
โครงสร้างศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคม
 
About
AboutAbout
About
 
ประสบการณ์เก็บตกจากงานรางวัลวิสาหกิจชุมชน สัมมาชีพ Social transition journey
ประสบการณ์เก็บตกจากงานรางวัลวิสาหกิจชุมชน สัมมาชีพ Social transition journeyประสบการณ์เก็บตกจากงานรางวัลวิสาหกิจชุมชน สัมมาชีพ Social transition journey
ประสบการณ์เก็บตกจากงานรางวัลวิสาหกิจชุมชน สัมมาชีพ Social transition journey
 
กระแสการตื่นตัวของฐานรากของโลก
กระแสการตื่นตัวของฐานรากของโลกกระแสการตื่นตัวของฐานรากของโลก
กระแสการตื่นตัวของฐานรากของโลก
 
1. หลักสูตร "การจัดการกิจการเพื่อสังคมเชิงกลยุทธ์" รุ่น 2
1. หลักสูตร "การจัดการกิจการเพื่อสังคมเชิงกลยุทธ์" รุ่น 21. หลักสูตร "การจัดการกิจการเพื่อสังคมเชิงกลยุทธ์" รุ่น 2
1. หลักสูตร "การจัดการกิจการเพื่อสังคมเชิงกลยุทธ์" รุ่น 2
 
ก้าวสำคัญ - ก้าวที่ร่วมสร้างสัมมาชีพเต็มพื้นที
ก้าวสำคัญ - ก้าวที่ร่วมสร้างสัมมาชีพเต็มพื้นทีก้าวสำคัญ - ก้าวที่ร่วมสร้างสัมมาชีพเต็มพื้นที
ก้าวสำคัญ - ก้าวที่ร่วมสร้างสัมมาชีพเต็มพื้นที
 
Internet based & anti – corruption movements
Internet based & anti – corruption movementsInternet based & anti – corruption movements
Internet based & anti – corruption movements
 
Thepower ofcommunication
Thepower ofcommunicationThepower ofcommunication
Thepower ofcommunication
 
โอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่น
โอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่นโอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่น
โอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่น
 
จากรั้วโรงงานสู่ประตู่บ้าน ชุมชน
จากรั้วโรงงานสู่ประตู่บ้าน ชุมชนจากรั้วโรงงานสู่ประตู่บ้าน ชุมชน
จากรั้วโรงงานสู่ประตู่บ้าน ชุมชน
 
7 strategic communication in public sphere
7 strategic communication in public sphere7 strategic communication in public sphere
7 strategic communication in public sphere
 

RSU-SE3

  • 2. คณะผู้ริเริ่มจัดตั้งศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคม แห่งมหาวิทยาลัยรังสิต 1. รศ.ดร.สังศิต พิริยะรังสรรค์ คณบดี วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต (ที่ปรึกษา) 2. ดร.สุริยะใส กตะศิลา รองคณบดี วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต 3. ผศ.ดร.ฐิติพร ศิริพันธ์ พันธเสน รองคณบดี วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต 4. ดร.ดวงพร อาภาศิลป์ อดีตรองคณบดี วิทยาลัยนวัตกรรม สังคม มหาวิทยาลัยรังสิต 5. ดร.ศักดิสิน ปัจจักขะภัติ สถาบันพัฒนาการบริหารทรัพย์สิน และอสังหาริมทรัพย์ 6. ดร.วัฒนา โอภานนท์อมตะ บริษัท บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) 7. ดร.สุวัฒน์ ทองธนากุล หนังสือพิมพ์ผู้จัดการ 8. ดร.นัชชา เทียมพิทักษ์ บริษัท ซีพี ออลล์ จากัด (มหาชน) 9. ดร.สมฤดี ศรีจรรยา สถาบันการตลาดเพื่อสังคม 10. ดร.ณัฐพงษ์ จารุวรรณพงศ์ สานักงานส่งเสริมกิจการเพื่อสังคม 11. ดร.พิพัฒน์ ยอดพฤติการ สถาบันไทยพัฒน์ 12. ดร.สุนทร คุณชัยมัง มูลนิธิสัมมาชีพ ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 1. รศ.ดร.สังศิต พิริยะรังสรรค์ คณบดี วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม 2. ผศ.ดร.ฐิติพร ศิริพันธ์ พันธเสน รองคณบดี วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม 3. ดร.สุริยะใส กตะศิลา รองคณบดี วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม 4. ดร.สุนทร คุณชัยมัง ผู้อานวยการหลักสูตร
  • 3. สารบัญ หน้า หลักการและเหตุผล 1 วัตถุประสงค์ 5 กลุ่มเป้ าหมาย 5 การดาเนินงาน 6 หลักสูตร “การจัดการกิจการเพื่อสังคมเชิงกลยุทธ์” 8 สถานที่ติดต่อ 15
  • 4. หลักการและเหตุผล ในระยะ 20 ปีที่ผ่านมา กระแสความตื่นตัวให้ความสนใจต่อการ พัฒนาเศรษฐกิจฐานรากในระดับชุมชน การส่งเสริมการประกอบการ การสนับสนุนในกิจการขนาดกลางและขนาดย่อม1 เพื่อต่อยอด เศรษฐกิจใหม่ๆ ให้กับระบบเศรษฐกิจของประเทศไทยนั้นได้ เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและมีความเข้มข้นขึ้นตามลาดับควบคู่ไปกับ การยกระดับการให้ความสาคัญต่อสิทธิการมีส่วนร่วมของภาคสังคม การมีส่วนร่วมของประชาชนผู้มีส่วนได้เสีย รวมทั้งสอดรับไปกับ การกระจายอานาจการปกครองจากส่วนกลางไปยังภูมิภาค ซึ่งกล่าว อีกนัยหนึ่งได้ว่าการสร้างกลไกสนับสนุนเศรษฐกิจรายย่อยต่างๆ ข้างต้น ก็เปรียบเสมือนการกระจายความสามารถในการเข้าถึง แหล่งทุนและโอกาสทางเศรษฐกิจจากส่วนกลางไปยังท้องถิ่นจาก เมืองไปยังชนบท จากระดับของคนในส่วนผู้นาของสังคมไปยัง ระดับชุมชน ยิ่งไปกว่านั้น ในห้วงระยะเวลาเดียวกันนี้ ในประเทศ ไทย ยังให้ความสนใจต่อการรณรงค์ให้กิจการเอกชนเข้ามาร่วม รับผิดชอบต่อการจัดการแก้ไขปัญหาของสังคมหรือที่รู้จักกัน โดยทั่วไปว่า “ความรับผิดชอบต่อสังคม” (Corporate Social Responsibility : CSR) ซึ่งจะมีประเด็นการสนับสนุนเศรษฐกิจใน ระดับชุมชนรวม อยู่ด้วย ซึ่งขึ้ นอยู่กับการพิจารณาของ ผู้ประกอบการกับผู้มีส่วนได้เสียจะให้ความสาคัญ 1 สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) จัดตั้งขึ้นในปี 2543 ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME Development Bank) จัดตั้งขึ้น ในปี 2545
  • 5. สาหรับ “วิสาหกิจเพื่อสังคม” (Social Enterprise : SE) ในกรณี ของไทย นับได้ว่าเป็นกระแสที่เกิดขึ้นตามหลังจากเรื่องต่างๆ ข้างต้น รัฐบาลไทยโดยมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ.2553 ได้จัดตั้ง “สานักงานสร้างเสริมกิจการเพื่อสังคมแห่งชาติ” (สกส.) ขึ้นตามระเบียบกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ2 ตามแผน แม่บทว่าด้วยการสร้างเสริมกิจการเพื่อสังคม พ.ศ.2553-2557 โดย สกส. มีเป้ าหมายสาคัญที่จะกระตุ้น สนับสนุน ประสานความ ร่วมมือเพื่อให้เกิดกิจการเพื่อสังคมและพัฒนาเป็นเครือข่ายตอบสนอง ต่อปั ญหาทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ครอบคลุมการประกอบการจากบุคคลโดยทั่วไปที่ดาเนินธุรกิจด้วย การคานึงถึงผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม อนึ่ง กรอบภารกิจ ของ สกส. ที่รวมไปถึงการประกอบการโดยบุคคลที่ดาเนินธุรกิจด้วย การคานึงถึงผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม นั้นย่อม หมายความว่า ได้ขยายความเกี่ยวข้องในการดาเนินงานไปยัง “การ ประกอบการเพื่อสังคม” (Social Entrepreneurship) อีกมิติหนึ่ง ด้วย รัฐบาลของ พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้เห็นชอบที่จะพัฒนา เศรษฐกิจของประเทศเพื่อก้าวข้ามกับดักการเป็นประเทศที่มีรายได้ ปานกลาง กับดักความเหลื่อมล้าของความมั่งคั่งและกับดักความ ไม่สมดุลของการพัฒนา ด้วยการพัฒนาประเทศให้เศรษฐกิจ 2 ต่อมารัฐบาลโดยสานักนายกรัฐมนตรี ได้อาศัยอานาจตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบ บริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 รองรับการดาเนินงานของ สกส. เรียกว่า ระเบียบ สานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย การส่งเสริมกิจการเพื่อสังคมแห่งชาติ พ.ศ.2554 โดยมี นายกรัฐมนตรี เป็นประธานคณะกรรมการสร้างเสริมกิจการเพื่อสังคมแห่งชาติ (คกส.)
  • 6. กระแสหลัก พัฒนาด้วยนวัตกรรมเป็ นพลังขับเคลื่อนเป็ น Innovation-Driven Industry เพื่อปรับเปลี่ยนประเทศให้ก้าวไปตาม “ประเทศไทย 4.0” ในขณะเดียวกัน ก็ผลักดันนโยบาย “ประชา รัฐ” ให้นาเอาความสามารถในด้านต่างๆ ของกิจการเอกชน ไป ร่วมกับกลไกของภาครัฐ เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจในระดับฐานราก รวมทั้งการดาเนินงานในด้านต่างๆ โดยมีคณะทางานว่าด้วยประชา รัฐ 13 คณะ มีการจัดตั้ง “บริษัทประชารัฐรักสามัคคีจังหวัด จากัด” และนาเอาแนวคิดว่าด้วยวิสาหกิจเพื่อสังคม มาเป็ น แนวทางในการดาเนินงานชักชวนเอกชนให้มาร่วมลงทุนกับชุมชน (โดยจากัดสิทธิและการปันผลของการลงทุนภาคเอกชน-มุ่งให้ ความสาคัญต่อการจัดการโดยชุมชนเป็นหลัก) และออกพระราช กฤษฎีกาเพื่อยกเว้นภาษีแก่ธุรกิจที่ประกอบกิจการตามกรอบ เกณฑ์ที่กาหนดขึ้นเป็น “วิสาหกิจเพื่อสังคม”3 (เป็นธุรกิจที่ดาเนิน กิจการเพื่อสังคม และนาเอากาไรที่ได้จากการประกอบกิจการไม่ น้อยกว่า 70% ไปใช้ในการลงทุนเพื่อสังคมต่อไปอีก) อย่างไรก็ตาม ปรากฏว่า ในขณะที่รัฐบาลเร่งรัดพัฒนาเศรษฐกิจ ฐานรากตามแนวทางประชารัฐนั้น สกส. ซึ่งเป็นองค์กรที่รณรงค์ แนวคิดว่าด้วยวิสาหกิจเพื่อสังคมมาก่อนหน้านี้ ต้องยุติตัวเองลง เป็นการชั่วคราว เนื่องจากต้องรอการตราพระราชบัญญัติจัดตั้ง องค์กร จึงทาให้การดาเนินกิจการวิสาหกิจเพื่อสังคมตามนโยบายของ 3 พระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 621) พ.ศ.2559 ประกาศกิจจานุเบกษา 30 สิงหาคม 2559
  • 7. รัฐบาล ขาดองค์กรสนับสนุน (Supporting Organization) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านวิชาการและการจัดการความรู้ สถานการณ์แวดล้อมที่ได้กล่าวมาข้างต้น จึงเป็นที่มาของการจัดทา ข้อเสนอให้จัดตั้ง “ศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่ อสังคม แห่งมหาวิทยาลัยรังสิต” เรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า Social Enterprise Studies and Development Center of Rangsit University เรียก โดยย่อว่า RSU-SE Center เพื่อทาหน้าที่ศึกษา ค้นคว้า และจัดให้ มีการสนับสนุนต่อผู้ปฏิบัติงานของภาคส่วนต่างๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม ตลอดจนเยาวชนคนรุ่นใหม่ที่เพิ่งจบ การศึกษาหรือ ที่เริ่มทางานใน 1-3 ปีแรกที่สนใจจะเปลี่ยนงาน ไปสร้างวิสาหกิจหรือกิจการเพื่อสังคม ในเบื้ องต้นนี้ RSU-SE Center ขอเสนอให้มีการดาเนินงานในหลักสูตร “นักบริหาร วิสาหกิจเพื่อสังคม”
  • 8. วัตถุประสงค์ 1. เป็นการเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ และความเชี่ยวชาญในการ จัดการวิสาหกิจและการประกอบการเพื่อสังคมสาหรับผู้นา ในภาครัฐ เอกชน และประชาสังคม 2. เป็ นการพัฒนาความรู้ด้านการบริหารจัดการกับการ ดาเนินงานวิสาหกิจและการประกอบการเพื่อสังคม 3. เป็นส่วนหนึ่งของกิจการเพื่อสังคมด้านงานวิชาการในนาม ของมหาวิทยาลัยรังสิต กลุ่มเป้ าหมาย 1. ผู้บริหารวิสาหกิจเพื่อสังคมขององค์กรภาครัฐทั้งส่วนกลาง และท้องถิ่น 2. ผู้บริหารที่เกี่ยวข้องกับงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ในองค์กรภาคเอกชน 3. ผู้นาชุมชน และเจ้าหน้าที่ขององค์กรชุมชนที่ดาเนินงาน ด้านวิสาหกิจชุมชน 4. ผู้บริหารขององค์กรสนับสนุนในกิจการชุมชน
  • 9. การดาเนินงาน 1. ลักษณะของหลักสูตร เป็นหลักสูตรอบรมแบบระยะสั้น โดยมีระยะเวลาเรียนและทา กิจกรรมในชั้นเรียนร่วมกันเพียง 3 วัน เน้นสร้างความรู้พื้นฐาน (Concept) และเครื่องมือ (Tools) ที่จาเป็นสาหรับการดาเนินงาน ให้บรรลุตามเป้ าหมายและพร้อมกับการรู้จักสรุปรวบยอดและตั้ง เป็นข้อสังเกตหรือตั้งเป็นสมมติฐานสาหรับการค้นคว้าและพัฒนา ต่อยอด ซึ่งเป็นไปตามลักษณะเฉพาะของการเรียนรู้ที่เกิดจากงาน ภาคสนาม หรือ Field-based learning 2. หมวดวิชา 2.1 การจัดการกิจการเพื่อสังคมเชิงกลยุทธ์ เป็นวิชาที่มุ่งหวังให้ผู้เข้าอบรมมีหลักที่จะพิจารณา ความสาคัญของประเด็นปัญหาของสังคมกับความเหมาะสมของ กิจการและการทางานของฝ่ายกิจการเพื่อสังคม ยกระดับความรู้ เกี่ยวกับรูปแบบ ขั้นตอน และเทคนิคการพัฒนางานความร่วมมือ รวมทั้งการปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์ในระดับองค์กร 2.2 การจัดการกิจการชุมชนเชิงกลยุทธ์ เป็นวิชาที่มุ่งหวังให้ผู้เข้าอบรมมีหลักคิดหรือเครื่องมือ เบื้องต้นที่จะประเมินการดาเนินธุรกิจของชุมชน รวมทั้งมีแนวทาง สาหรับการจัดการเร่งด่วน การสร้างเครื่องมือ Checklist และการ
  • 10. พัฒนาองค์กรในระยะกลาง รวมทั้งการอธิบายผลลัพธ์ต่อสังคมซึ่ง จะเป็นไปทั้งความสามารถในการสร้างเศรษฐกิจใหม่จากภาคส่วน ของผู้ประกอบการที่ไม่ใช่รัฐและเอกชน และเป็นการริเริ่มจัดการ เศรษฐกิจไปจากระดับฐานรากของสังคมที่จะไปเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจ กระแสหลัก 3. การจัดอบรม รุ่นที่ 3 เดือนมกราคม พ.ศ. 2561 - วันศุกร์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2561 (เวลา 18.00 - 21.00 น.) - วันเสาร์ที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2561 (เวลา 09.00 – 16.00 น.) - วันอาทิตย์ที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2561 (เวลา 09.00 – 16.00 น.) 4. อัตราค่าอบรม 15,000 บาท/คน 5. สถานที่ มหาวิทยาลัยรังสิต หมู่บ้านเมืองเอก 6. จานวน 30 คนต่อรุ่น ผู้ที่ผ่านการอบรมหลักสูตร “นักบริหารวิสาหกิจเพื่อสังคม” และประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาโท มหาวิทยาลัยรังสิต สามารถนาไปเทียบโอนผลการเรียนในรายวิชา CSI 636 จรรยาบรรณและความรับผิดชอบต่อสังคม (Ethics and Social Responsibility) CSI 640 ธุรกิจเพื่อสังคมและวิสาหกิจชุมชน (Social Enterprise and Community Business)
  • 12. Goals มุ่งหวังที่จะให้ผู้เข้าอบรมมีหลักที่จะพิจารณาความสาคัญของ ประเด็นปัญหาของสังคมกับความเหมาะสมของกิจการและการ ทางานของฝ่ายกิจการเพื่อสังคม ยกระดับความรู้เกี่ยวกับรูปแบบ ขั้นตอน และเทคนิคการพัฒนางานความร่วมมือ รวมทั้งการ ปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์ในระดับองค์กร Sustainability Management สาระสาคัญของวิชานี้ จะเกี่ยวข้องกับ ประเด็นท้าทายของเศรษฐกิจ และสังคมของโลกทั้งในอดีต ปัจจุบัน และอนาคตกับวิวัฒนาการ ของแนวคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน การแปรผลสู่การปฏิบัติตาม มาตรการต่างๆ ทั้งด้านสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม ทั้งที่ เป็นไปตามนโยบายของรัฐ และมาตรการการสร้างมาตรฐานสากล (Standardization) จะอธิบายถึงการนาเอาแนวคิดว่าด้วยการพัฒนาอย่างยั่งยืนไปใช้ เป็นยุทธศาสตร์การจัดการเศรษฐกิจทั้งในระดับมหภาคและจุลภาค ที่นาเอาประเด็นของสังคมที่ไม่ได้รับการแก้ไขตามกลไกปกติไปนับ รวมเป็นโจทย์สาคัญ รวมทั้งมุ่งอธิบายถึงแนวคิดใหม่ๆ ที่รองรับต่อ การดาเนินตามยุทธศาสตร์นี้ เช่น Inclusive growth, Linked Economy, Social Enterprise (SE), Social Business (SB) and Creating Shared Value (CSV) นอกจากนี้ ยังจะอธิบายถึงลักษณะ
  • 13. และความหมายของผลลัพธ์ (Result-based) เพื่อทาความเข้าใจต่อ ผลลัพธ์ที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงสังคม (Social impact) Collaborative Governance สาระสาคัญของวิชานี้ จะเกี่ยวข้องกับ การบริหารจัดการในรูปแบบใหม่ ที่ก้าวหน้าล้าไปกว่าการมีส่วนร่วม (Participatory management) ที่เป็นเพียงแค่การรับฟังความคิดเห็นหรือเสียงสะท้อนกลับจาก สาธารณะ ซึ่งเป็นขั้นตอนในเบื้ องต้น แต่ก็ไม่ใช่การทางานแบบ จัดตั้งองค์กรร่วมขึ้นมาดาเนินการแทนตามรูปแบบของการจัดการ โดย Single organization จะอธิบายถึงการจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กร การยกระดับ การจัดงานฐานความสัมพันธ์ที่องค์กรดาเนินงานไว้แล้ว (Relationship- Based) ไปสู่งานที่มีลักษณะของการแปรผลไปสู่การทางานร่วมกัน แบบตั้งอยู่บนฐานของพันธะสัญญาตามความร่วมมือที่สร้างสรรค์ขึ้น รวมทั้งยังคงไว้ซึ่งประสิทธิภาพของการบริหาร เช่น Collaboration, Participatory Budgeting, Collective Impact, Mass Collaboration and Collaborative Governing Strategic Corporate Social Responsibility สาระสาคัญของวิชานี้ จะเกี่ยวข้องกับ การบริหารจัดการเปลี่ยนแปลง ในระดับวิสัยทัศน์ กรอบพันธกิจ และโครงสร้างขององค์กร จะนาเอากรณีศึกษาขององค์กรขนาดใหญ่ในประเภทต่างๆ มาเป็น ตัวอย่างของการศึกษาของการเปลี่ยนแปลงในระดับยุทธศาสตร์
  • 14. องค์กร ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก เช่น การจัดตั้งองค์กร ใหม่ๆ ของ UN การจัดประชุม World Economic Forum การบริหาร ยุทธศาสตร์การเปลี่ยนแปลงโดยรัฐ (State-led policy) การเปลี่ยน ทิศทางของธุรกิจสู่ประเด็นทางสังคมของ Shell, Nestle’, Unilever การเกิดองค์กรใหม่ๆ แบบเครือข่ายของ Shared Value Initiative และการจัดการข้อมูลความรู้แบบ Non-peer review ของ Stanford Social Innovation Review
  • 16. Goals มุ่งหวังที่จะให้ผู้เข้าอบรมมีหลักคิดหรือเครื่องมือเบื้ องต้นที่จะ ประเมินการดาเนินธุรกิจของชุมชน รวมทั้งมีแนวทางสาหรับการ จัดการเร่งด่วน การสร้างเครื่องมือ Checklist และการพัฒนาองค์กร ในระยะกลาง รวมทั้งการอธิบายผลลัพธ์ต่อสังคม ซึ่งจะเป็นไปทั้ง ความสามารถในการสร้างเศรษฐกิจใหม่จากภาคส่วนของ ผู้ประกอบการที่ไม่ใช่รัฐและเอกชน และเป็ นการริเริ่มจัดการ เศรษฐกิจไปจากระดับฐานรากของสังคม ที่จะไปเชื่อมโยงกับ เศรษฐกิจกระแสหลัก Community Capital สาระสาคัญของวิชานี้ จะเกี่ยวข้องกับ การทาความเข้าใจต่อการทา ธุรกิจหรือการประกอบการของชุมชน (Community Entrepreneurs) ซึ่งในหลักการแล้วจะเป็นการปรับเปลี่ยน Mode of production จากการผลิตแบบเกษตรไปสู่การจัดการแบบค้าขายและ อุตสาหกรรม ที่ผู้ประกอบการในระดับชุมชนจะต้องปรับเปลี่ยน ตาม จะอธิบายถึง Best practice ของกิจการในระดับวิสาหกิจชุมชนที่ ประสบความสาเร็จ จะมีองค์ประกอบของ “ทุนสามก้อน” ซึ่งเป็น การรวมกันระหว่าง “ทุนการรวมกลุ่มชุมชน” “ทุนสนับสนุนจาก ภายนอก” และ “ทุนความรู้และการสร้างสรรค์” ประกอบกับ บุคลิกลักษณะของการจัดการการมีส่วนร่วมแบบก้าวหน้า เป็นการใช้ ความสามารถจากองค์กรภาคส่วนอื่น โดยเฉพาะภาคธุรกิจเอกชน
  • 17. มาช่วยแก้ไขปัญหาความสามารถทางธุรกิจซึ่งเป็นจุดอ่อนของชุมชน นอกจากนี้ ยังจะอธิบายถึงลักษณะและความหมายของผลลัพธ์ (Result-based) เพื่อทาความเข้าใจต่อผลลัพธ์ที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง สังคม (Social impact) Scaling Up สาระสาคัญของวิชานี้ จะเกี่ยวข้องกับ การยกระดับจากกิจกรรมเล็ก ในระดับชุมชนไปสู่การเป็นส่วนหนึ่งของห่วงโซ่อุปทานในระบบ เศรษฐกิจ ซึ่งเป็นข้อต่อของการพัฒนาของผู้ประกอบการในระดับ ชุมชน และเป็นไปจุดอ่อนของ Social Enterprise โดยทั่วไป จะอธิบายถึง Best practice ของกิจการในระดับวิสาหกิจชุมชน ประสบความสาเร็จ ซึ่งจะต้องมีแผนงานการจัดการองค์กร
  • 18. การพัฒนาความรู้ความสามารถบุคลากร การวางแผนงาน การจัดการ ทรัพยากรมนุษย์ การประสานงานและการสร้างพันธมิตรธุรกิจ- กรณีตัวอย่างของการศึกษาในญี่ปุ่นและอเมริกาซึ่งเป็นประเทศที่มี การสร้างระบบแวดล้อมหรือที่เรียกว่า Ecosystem สนับสนุน รวมทั้งการปรับเปลี่ยนไปสู่กิจการของคนรุ่นใหม่-กรณีของการ จัดตั้งบริษัท DripTech เพื่อบริการระบบน้าหยดในอินเดีย Linked Economy สาระสาคัญของวิชานี้ จะเกี่ยวข้องกับ ความสามารถใหม่หรือ นวัตกรรมทางสังคมที่เกิดขึ้นจากการสร้างสรรค์เศรษฐกิจโดยการ มีส่วนร่วมของผู้ประกอบการในระดับชุมชน ซึ่งเป็ นการแก้ไข ประเด็นการกระจายเศรษฐกิจจากส่วนกลางไปยังภูมิภาคหรือการ กระจายความมั่งคั่งออกไปจากการรวมศูนย์ของกิจการขนาดใหญ่ เป็นการบวกรวมเศรษฐกิจกระแสหลักกับกระแสรองเข้าด้วยกันโดย บทบาทของ “กระแสรอง” จะอธิบายถึง Best practice ของกิจการในระดับวิสาหกิจชุมชนและ การจัดการเศรษฐกิจระดับท้องถิ่นที่ประสบความสาเร็จของกรณี โออิตะ (ผลิตภัณฑ์วัฒนธรรมหมู่บ้านและการท่องเที่ยว) กรณีการ สนับสนุน Open Innovation Center ของเกาหลีใต้ และกรณีการ จัดตั้ง Social Enterprise Center ของรัฐบาลอังกฤษ ฯลฯ
  • 19. ที่ตั้ง : ศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคม แห่งมหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 หมู่บ้านเมืองเอก ตึก 3 ชั้น 1 ห้อง 116 ถ.พหลโยธิน ต.หลักหก อ.เมือง จ.ปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ : 0-2617-5854-8 โทรสาร : 0-2617-5859 เว็บไซต์ : https://rsusecenter.wordpress.com/ https://www.facebook.com/RSUSEcenter/ ผู้ประสานงาน : พิมพ์ชฎา ธนกุลดารง โทรศัพท์ : 081-623-3544 ทัศนีย์ ขัดสืบ โทรศัพท์ : 086-428-6775