SlideShare a Scribd company logo
1 of 47
มหาวิทยาลัยในกากับ :
พรบ. และการเตรียมความพร้อม
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง :
อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัย
แห่งประเทศไทย (ปอมท.)
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
กิติกรรมประกาศ
มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.)
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
ร่างพระราชบัญญัติ
คณะรัฐมนตรี
ไม่รับหลักการ
เห็นชอบ
รับหลักการ
วาระที่ ๓ ไม่เห็นชอบ
วาระที่ ๑
สภานิติบัญญัติ
วาระที่ ๒ตั้งกรรมาธิการพิจารณา
เสนอโปรดเกล้าฯ
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
สนช.
ตารางเปรียบเทียบ ร่าง พรบ. (ยังมิใช่ ฉบับจริง)
เชียงใหม่ มจพ. มหิดล ทักษิณ บูรพา
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้
เรียกว า
“พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม
พ.ศ. ........”
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้
เรียกว่า “พระราชบัญญัติ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ
จอมเกล้าพระนครเหนือ
พ.ศ. ....”
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้
เรียกว่า “พระราชบัญญัติ
มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ.
....”
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้
เรียกว่า “พระราชบัญญัติ
ม ห า วิ ท ย า ลั ย ทั ก ษิ ณ
พ.ศ. ….”
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้
เรียกว่า “พระราชบัญญัติ
ม ห า วิ ท ย า ลั ย บู ร พ า
พ.ศ. ……………”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัติ
นี้ให ใช บังคับตั้งแต วัน
ถัดจากวันประกาศในราช
กิจจานุเบกษา เป็นต้นไป
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้
ให้ใช้บังคับตั้งแต่ วันถัด
จากวันประกาศในราชกิจจา
นุเบกษา เป็นต้นไป
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้
ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจาก
วันประกาศในราชกิจจา
นุเบกษา เป็นต้นไป
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้
ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจาก
วันประกาศในราชกิจจา
นุเบกษา เป็นต้นไป
มาตรา ๒ พระราชบัญญัติ
นี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่ วันถัด
จากวันประกาศในราชกิจจา
นุเบกษา เป็นต้นไป
มาตรา ๓ ให ยกเลิก
(๑ ) พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม
พ.ศ. ๒๕๓๐
(๒) พระราชบัญญัติ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ.
๒๕๔๑
มา ต รา ๓ ให้ ย กเ ลิก
พระราชบัญญัติสถาบัน
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้า
....... พ.ศ. ๒๕๒๘
เฉพาะที่เกี่ยวกับสถาบัน
เทคโนโลยีพระจอมเกล้า
พระนครเหนือ
มาตรา ๓ ให้ยกเลิก
(1)พระราชบัญญัติมหา
วิทยลัยมหิดลพ.ศ. ๒๕๓๐
(2)พระราชบัญญัติมหา
วิทยลัยมหิดล (ฉบับที่๒)
พ.ศ. ๒๕๔๑
ม า ต ร า ๓ ใ ห้ ย ก เ ลิ ก
พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ
มหาวิทยาลัยทักษิณ พ.ศ.
๒๕๓๙
มาตรา ๓ ให้ยกเลิก
(๑) พระราชบัญญัติ
ม ห า วิ ท ย า ลั ย บู ร พ
พ.ศ. ๒๕๓๓
(๒) พระราชบัญญัติ
ม ห า วิ ท ย า ลั ย บู ร พ า
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๑
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
เกณฑ์กลางร่าง พรบ.ในกากับของรัฐ
มติคณะรัฐมนตรีในคราวประชุม ๑๙ ส.ค. ๔๖ และ ๒ พ.ย. ๔๗
(๑) มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐมีสถานภาพเป็ นหน่วยงานของรัฐและ
เป็ นนิติบุคคลที่ไม่เป็ นส่วนราชการและไม่เป็ นรัฐวิสาหกิจ อยู่ภายใต้
การกากับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการและยังคงได้รับ
การจัดสรรงบประมาณตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณในจานวน
ที่เพียงพอที่จาเป็ นต่อการประกันคุณภาพการศึกษา
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
เกณฑ์กลางร่าง พรบ.ในกากับของรัฐ
(๒) การดาเนินงานของมหาวิทยาลัยทั้งการผลิตบัณฑิตการวิจัย
การบริหารวิชาการ และการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ต ้องมี
ประสิทธิภาพสอดคล ้องกับความต ้องการของสังคม นโยบายของ
รัฐบาล และแผนการพัฒนาประเทศ ทั้งนี้ การผลิตบัณฑิตต ้องให ้
โอกาสทางการศึกษาแก่ประชาชนโดยไม่เลือกปฏิบัติ
(๓) ความคล่องตัวของมหาวิทยาลัย ให ้เป็นไปตามกลไกของ
สภามหาวิทยาลัยที่จะกาหนดระเบียบ ข ้อบังคับในการบริหาร
จัดการในเรื่องต่างๆ ได ้เองภายใต ้กรอบแห่งพระราชบัญญัติของ
มหาวิทยาลัยแต่ละแห่ง
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
เกณฑ์กลางร่าง พรบ.ในกากับของรัฐ
(๔) สภามหาวิทยาลัยและผู้บริหารมหาวิทยาลัย กาหนดให ้
องค์ประกอบของสภามหาวิทยาลัยจะต้องมาจากบุคคล
ภายนอกมากกว่าบุคคลภายใน และกรรมการสภา
มหาวิทยาลัยที่มาจากบุคคลภายนอก ๑ คน ซึ่งจะต้องสรร
หาจากรายชื่อที่คณะกรรมการการอุดมศึกษาเสนอโดยการ
บริหารมหาวิทยาลัยให ้อธิการบดีเป็นผู้บริหารสูงสุด มีหน้าที่
บริหารมหาวิทยาลัยภายใต ้
การกากับดูแลของสภามหาวิทยาลัย
การได ้มาซึ่งนายกสภามหาวิทยาลัย กรรมการสภา
มหาวิทยาลัยและอธิการบดีต ้องเป็นกระบวนการที่โปร่งใสไม่ใช ้วิธี
การเลือกตั้งแต่ให ้ใช ้วิธีการสรรหาตามข ้อบังคับของมหาวิทยาลัย
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
เกณฑ์กลางร่าง พรบ.ในกากับของรัฐ
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
(๕) การบริหารมหาวิทยาลัยให ้ใช ้หลักบริหารจัดการที่ดี
(Good Governance) ในการออกระเบียบ ข ้อบังคับและ
แนวทางในการดาเนินกิจการทั่วไปของมหาวิทยาลัย
หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม
หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม
หลักความรับผิดชอบ หลักความคุ้มค่า
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
เกณฑ์กลางร่าง พรบ.ในกากับของรัฐ
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
(๖) การบริหารงานบุคคล เมื่อเปลี่ยนสถานภาพไปเป็น
มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐแล ้ว ข ้าราชการและลูกจ ้างประจาของ
มหาวิทยาลัยสามารถเลือกสถานภาพได้ตามความสมัครใจ
หากสมัครใจเปลี่ยนสถานภาพภายหลังกฎหมายใช้บังคับก็
จะมีสถานภาพเป็ นพนักงาน มหาวิทยาลัย และให้คงสิทธิการ
เป็ นสมาชิกกองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการและสิทธิ
ประโยชน์อื่นตามที่รัฐกาหนด ซึ่งการบริหารงานบุคคลให ้ตรา
เป็นข ้อบังคับ โดยมีองค์กรบริหารงานบุคคลที่บุคลากรมีส่วนร่วม
ยึดหลักการบริหารในระบบ คุณธรรม (Merit System) มีระบบการ
ประเมินผลการทางานของบุคลากรที่โปร่งใส และสถานภาพของ
บุคลากร
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
เกณฑ์กลางร่าง พรบ.ในกากับของรัฐ
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
(๗) งบประมาณและทรัพย์สิน ให ้รัฐบาลจัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไป
ให ้แก่มหาวิทยาลัยเป็นจานวนที่เพียงพอ เพื่อดาเนินการตาม
นโยบายของรัฐบาลและการประกันคุณภาพการศึกษา โดยให้ถือ
ว่าเป็ นเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย กรณีรายได ้ไม่เพียงพอกับ
รายจ่ายและมหาวิทยาลัยไม่สามารถหาเงินสนับสนุนจากแหล่งอื่น
ได ้รัฐพึงจัดสรรงบประมาณให ้แก่มหาวิทยาลัยเท่าที่จาเป็ น ทั้งนี้
รายได้ของมหาวิทยาลัยไม่ต้องนาส่งกระทรวงการคลัง
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
เกณฑ์กลางร่าง พรบ.ในกากับของรัฐ
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
(๘) มหาวิทยาลัย สามารถถือกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ได ้
รวมทั้งอสังหาริมทรัพย์ที่มีผู้อุทิศให ้หรือได ้มาโดยการซื้อด ้วยเงิน
รายได ้ของมหาวิทยาลัยไม่ถือเป็นที่ราชพัสดุ และให ้เป็น
กรรมสิทธิ์ของมหาวิทยาลัย โดยให ้มหาวิทยาลัยมีอานาจ
ปกครอง ดูแล บารุงรักษา ใช ้จัดหาประโยชน์จากที่ราชพัสดุ
ได ้ และรายได ้ที่เกิดขึ้นให ้ถือเป็นรายได ้ของมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
เกณฑ์กลางร่าง พรบ.ในกากับของรัฐ
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
(๙) มหาวิทยาลัย ต ้องมีระบบบริหารการเงินและระบบบัญชีที่
มีประสิทธิภาพ โดยไม่ขัดแย ้งกับมาตรฐานและนโยบายการบัญชี
ที่รัฐกาหนด การจ่ายเงินต ้องทาเป็นงบประมาณรายจ่ายประจาปี
โดยการอนุมัติของสภา มหาวิทยาลัย และมีกลไกตรวจสอบ
การใช้จ่ายเงินภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย
มี กมธ. บางท่านเสนอให ้มีการนาเสนอบัญชีผลประกอบการรายเดือน
แบบเดียวกับองค์กรธุรกิจ แต่คณะ กมธ. ส่วนใหญ่ไม่เห็นด ้วย
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
เกณฑ์กลางร่าง พรบ.ในกากับของรัฐ
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
(๑๐) การใช ้ทรัพยากรให ้เกิดประโยชน์สูงสุด ให ้สภา
มหาวิทยาลัยมีหน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุนให ้มีการใช ้ทรัพยากร
ร่วมกันระหว่างส่วนงานภายในมหาวิทยาลัย และระหว่าง
สถาบันการศึกษา ชุมชน สถานประกอบการ และหน่วยงานทั้ง
ภาครัฐและเอกชน
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
เกณฑ์กลางร่าง พรบ.ในกากับของรัฐ
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
(๑๑) การบริหารงานวิชาการของมหาวิทยาลัย ให ้
เป็นไปตามหลักเสรีภาพทางวิชาการ โดยให ้การดาเนินการเสร็จ
สิ้นที่สภามหาวิทยาลัยมากที่สุด ทั้งนี้ จะต ้องสอดคล ้องกับ
นโยบายและมาตรฐานทางวิชาการที่รัฐกาหนด โดยให ้สภา
มหาวิทยาลัยและผู้บริหารมหาวิทยาลัยมีหน้าที่ส่งเสริมและ
สนับสนุนให ้มีการทาวิจัย และนาผลงานวิจัยไปใช ้ให ้เกิด
ประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และประเทศชาติ
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
เกณฑ์กลางร่าง พรบ.ในกากับของรัฐ
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
(๑๒) การกากับ ตรวจสอบ ให้มีการกากับ ตรวจสอบ
โดยกลไกภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย
การกากับ ตรวจสอบภายใน ให้ สภามหาวิทยาลัยวาง
ระเบียบและกลไกเพื่อควบคุม ติดตาม ตรวจสอบ และ
ประเมินผลการดาเนินงานของมหาวิทยาลัย โดยให้
ประชาคมในมหาวิทยาลัยมีส่วนร่วม
การกากับ ตรวจสอบภายนอก ให้กระทาโดยสานักงาน
การตรวจเงินแผ่นดิน กลไกงบประมาณ นโยบายของ
รัฐบาล และระบบการรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศึกษา
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
เกณฑ์กลางร่าง พรบ.ในกากับของรัฐ
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
รัฐมนตรี มีอานาจและหน้าที่กากับดูแล
โดยทั่วไปซึ่งกิจการของมหาวิทยาลัย
ให ้เป็นไปตามวัตถุประสงค์สอดคล ้องกับ
นโยบายรัฐบาลหรือมติคณะรัฐมนตรีที่
เกี่ยวกับมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
พระราชบัญญัติของการเป็ นมหาวิทยาลัยในกากับทุกฉบับมี
ทั้งหมดอยู่ 8 หมวด และหนึ่งบทเฉพาะกาล
เริ่มจาก
•หมวดที่ 1 บททั่วไป
•หมวดที่ 2 การดาเนินการ
•หมวดที่ 3 การประกันคุณภาพและการประเมิน
•หมวดที่ 4 การบัญชีและการตรวจสอบ
•หมวดที่ 5 การกากับดูแล
•หมวดที่ 6 ตาแห่งทางวิชาการ
•หมวดที่ 7 ปริญญาและเครื่องหมายวิทยฐานะ
•หมวดที่ 8 บทกาหนดโทษ และ
•บทสุดท ้าย บทเฉพาะกาล
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
มีมาตราที่มีบทบัญญัติว่า“กิจการมหาวิทยาลัยไม่อยู่ภายใต ้
บังคับแห่งกฎหมายว่าด ้วย การคุ้มครองแรงงานและกฎหมายว่า
ด ้วยแรงงานสัมพันธ์” (มาตรา 13 พ.ร.บ.มข.2558)
ซึ่งจะทาให ้สิทธิบางอย่างตามกฎหมายแรงงานหายไป
มีเพียง พระราชบัญญัติของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเท่านั้นที่มี
บทต่อท ้ายที่น่าสนใจคือ “ แต่พนักงานมหาวิทยาลัยต ้องได ้รับ
การคุ้มครองและประโยชน์ตอบแทนไม่น้อยกว่าที่กาหนดไว ้ใน
กฎหมายว่าด ้วยการคุ้มครองแรงงาน”
(มาตรา 12 พ.ร.บ.จุฬาฯ2551) จากบทบัญญัตินี้ทาให้มี
การเพิ่มสวัสดิการแก่พนักงานที่เปลี่ยนสถานภาพจาก
ข้าราชการในเรื่องของ การได้รับค่าชดเชย เป็ นต้น
(มาตรา 118 ของกฎหมายแรงงาน)
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
จากความเข ้าใจของประชาชนที่ว่าการเปลี่ยนเป็นมหาวิทยาลัย
ในกากับแล ้ว จะเก็บค่าเรียนสูงขึ้น เป็นการปิดโอกาสทางการศึกษา
สาหรับผู้ที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจ จึงมีบทบัญญัติในพระราชบัญญัติฯ
ทุกมหาวิทยาลัยคือ
“มหาวิทยาลัยต ้องส่งเสริมและสนับสนุนผู้ที่มหาวิทยาลัยรับเข ้าศึกษา
ในมหาวิทยาลัยและนิสิตที่ขาดแคลนทุนทรัพย์อย่างแท ้จริง ให ้มีโอกาส
เรียนจนสาเร็จปริญญาตรี หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาว่าผู้ใดขาด
แคลนทุนทรัพย์อย่างแท ้จริง ให ้เป็นไปตามระเบียบที่สภามหาวิทยาลัย
กาหนด”
มาตรานี้เป็นมาตราที่ทางสมาชิกวุฒิสภา ในสมัยที่มีการพิจารณาร่าง
พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยในกากับ ปี 2548 มีความกังวลมาก และ
ขอให ้ทุกมหาวิทยาลัยบรรจุไว ้เป็นหลักประกันทุกฉบับ
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
องค์ประกอบของสภามหาวิทยาลัย
กฎเกณฑ์กลางกาหนดให้ต้องมีบุคคลภายนอกมากกว่าบุคคลภายใน และ
กรรมการสภามหาวิทยาลัยที่มาจากบุคคลภายนอกหนึ่งคนต้องสรรหามา
จากรายชื่อที่คณะกรรมการการอุดมศึกษาเสนอ
อัตราส่วนระหว่างบุคคลภายนอกต่อบุคคลภายใน :-
•จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ มหาวิทยาลัยมหิดล
เหมือนกัน (17:13)
•มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (16:8)
•มหาวิทยาลัยบูรพา (16:5)
•มหาวิทยาลัยทักษิณ(14:5)
•มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (18:9)
•และ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร
ลาดกระบัง (14:4)
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
องค์ประกอบของสภามหาวิทยาลัย
ประเด็นการกาหนดวาระของนายกสภามหาวิทยาลัย
ส่วนใหญ่กาหนด วาระละสามปี และไม่มีจานวนวาระ
มีเพียง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กาหนดไม่เกินสองวาระ
และมหาวิทยาลัยทักษิณ กาหนดไม่เกินสามวาระ
ปัญหาของนายกสภามหาวิทยาลัยอีกเรื่องหนึ่งที่ถูกหยิบยก
มาพิจารณาในคราวสมัยการพิจารณาเมื่อปี 2548 คือ
จานวนมหาวิทยาลัยที่นายกสภามหาวิทยาลัยดารงตาแหน่ง
ต่อหนึ่งท่าน ซึ่งในที่ประชุมพิจารณาครั้งนั้นได้กาหนดให้ไม่
เกิน ๒ แห่ง
มีหลายมหาวิทยาลัยเริ่มให้มีกรรมการสภามหาวิทยาลัยที่มาจากสายสนับสนุน
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
สาหรับองค์กรที่เป็ นองค์ประกอบหลักที่กาหนดใน
พระราชบัญญัติมีสามสภาได้แก่ สภามหาวิทยาลัย
สภาวิชาการ สภาพนักงาน และ สามคณะกรรมการฯ
ได้แก่ คณะกรรมการบริหารงานบุคคล คณะกรรมการ
อุทธรณ์และร้องทุกข์และพิทักษ์ระบบคุณธรรมฯ
คณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย องค์ประกอบ
ขององค์กรที่กล่าวมานี้มีความสาคัญต่อการบริหารงานใน
มหาวิทยาลัย แต่ในพระราชบัญญัติของมหาวิทยาลัยใน
กากับทั้งเจ็ดแห่ง บางแห่งก็มีไม่ครบ ขึ้นกับบริบทของแต่
ละมหาวิทยาลัย แต่ทั้งนี้ถ้ามีองค์ประกอบเหล่านี้ครบน่าจะ
ดีกว่าสาหรับการบริหารมหาวิทยาลัยในกากับ
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
สาหรับอธิการบดีที่กาหนดในพระราชบัญญัติฯ
มีการกาหนดคุณสมบัติที่กว้างพร้อมที่ให้บุคคลภายนอก
ที่มีความสามารถมาบริหารมหาวิทยาลัยได้
ปัญหาอย่างหนึ่งเกี่ยวกับอธิการบดีในอดีตที่มีการพิจารณา
คือการนับวาระของอธิการบดีว่าจะต้องนับต่อเนื่อง
ของเก่าด้วยหรือไม่ เนื่องจากการผลักดันอย่าง
เต็มที่ของฝ่ ายบริหารทาให้บุคลากรในมหาวิทยาลัยเข้าใจว่า
ผู้บริหารต้องการ นับวาระหนึ่งใหม่เพื่อต่ออานาจ สาหรับผู้ที่
ใกล้ครบวาระที่สอง
สมัยที่ ศ.ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน เป็ น รมว. ศธ. ได้เพิ่มกฎเกณฑ์กลางให้นับ
รวมวาระการดารงตาแหน่งเดิมด้วย รวมถึงปัจจุบัน
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
ประเด็นที่ควรได้รับความสนใจ
• อธิการบดีเป็นผู้บริหารที่เป็นผู้ดารงตาแหน่ง ระดับสูง
ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด ้วย
การป้องกันและปราบปรามการทุจริตด ้วย
• การประเมินอธิการบดี
• ผู้บริหารตั้งแต่ระดับใดที่ต ้องเปลี่ยนสถานภาพเป็นพนักงาน
• การกาหนดเปลี่ยนเป็นพนักงานของข ้าราชการทั่วไปมีการ
เปลี่ยนเป็นสามช่วง
• จานวนวันที่กาหนดให ้เปลี่ยน
• เวลากับการร่างข ้อบังคับต่างๆ ที่จะมารองรับพระราชบัญญัติฯ
• ระยะเวลาของการทาสัญญาจ ้างให ้เป็นพนักงานถาวร
• กลุ่มอาจารย์ที่ต ้องการต่ออายุราชการหลัง 60 ปี
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
“การเตรียมการยกร่าง ข้อบังคับมหาวิทยาลัยฯ”
แต่งตั้งคณะทางานเฉพาะกิจเพื่อดาเนินการ
1. คณะทางานด ้านบริหารงานบุคคล
มีอานาจหน้าที่ดังนี้
1. พิจารณาวางแนวทางการวางระบบการบริหารงานบุคคล
ค่าจ ้างและค่าตอบแทน สิทธิและสวัสดิการ
2. พิจารณาร่างข ้อบังคับเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล และ
ร่างข ้อบังคับเกี่ยวกับสิทธิและสวัสดิการ พนักงาน
มหาวิทยาลัย เพื่อนาเสนอสภามหาวิทยาลัยพิจารณา
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
“การเตรียมการยกร่าง ข้อบังคับมหาวิทยาลัยฯ”
2. คณะทางานด ้านประชาสัมพันธ์
มี ประธานสภาอาจารย์ เป็นประธานคณะทางาน
ผู้อานวยการกองกลาง เป็นเลขานุการ ให ้คณะทางานมีอานาจ
หน้าที่เผยแพร่ข ้อมูลข่าวสาร ชี้แจง ทาความเข ้าใจเกี่ยวกับร่าง
พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย และการปรับเปลี่ยนสถานภาพไปสู่
การเป็นมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ การปรับเปลี่ยนสถานภาพ
ของข ้าราชการ และลูกจ ้างไปเป็นพนักงานของมหาวิทยาลัย
ตลอดจนเผยแพร่ข่าวสารความเคลื่อนไหวของคณะทางานชุด
ต่างๆ โดยผ่านสื่อนานาชนิด เพื่อให ้บุคลากรของมหาวิทยาลัย
ทุกระดับเกิดความเข ้าใจที่ถูกต ้องตรงกัน
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
“การเตรียมการยกร่าง ข้อบังคับมหาวิทยาลัยฯ”
3. คณะทางานด ้านวิชาการ
มีอานาจหน้าที่ดังนี้
1. พิจารณาวางแนวทางการบริหารงานวิชาการ การ
พัฒนาคุณภพาการศึกษา การกากับดูแลมาตรฐานหลักสูตร การ
เรียนการสอน ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา
2. พิจารณาร่างข ้อบังคับเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการและ
การประกันคุณภาพการ ศึกษาเพื่อนาเสนอ สภามหาวิทยาลัย
พิจารณา
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
“การเตรียมการยกร่าง ข้อบังคับมหาวิทยาลัยฯ”
4. คณะทางานด ้านโครงสร ้างองค์กร
มีอานาจหน้าที่ดังนี้
1. พิจารณา วางแนวทางการจัดโครงสร ้างองค์กรของ
มหาวิทยาลัยและการแบ่งส่วนงาน
2. พิจารณาร่างข ้อบังคับเกี่ยวกับส่วนงาน หัวหน้าส่วนงาน
และการบริหารส่วนงาน เพื่อนาเสนอสภามหาวิทยาลัย
พิจารณา
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
“การเตรียมการยกร่าง ข้อบังคับมหาวิทยาลัยฯ”
5. คณะทางานด ้านการเงินและงบประมาณ
มีอานาจหน้าที่ดังนี้
1. พิจารณาหลักการและแนวทางการบริหารการเงินและ
งบประมาณ และแนวทางการจัดการทรัพย์สินของ
มหาวิทยาลัยให ้มีประสิทธิภาพสูงสุด
2. พิจารณาร่างข ้อบังคับที่เกี่ยวกับการบริหารการเงินและ
งบประมาณ และร่างข ้อบังคับเกี่ยวกับบริหารการเงิน และ
ทรัพย์สิน เพื่อนาเสนอสภามหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
“การเตรียมการยกร่าง ข้อบังคับมหาวิทยาลัยฯ”
6. คณะทางานด ้านโครงสร ้างสานักงานสภามหาวิทยาลัย สานักงาน
มหาวิทยาลัย และคณะกรรมการส่งเสริมมหาวิทยาลัย
มี อธิการบดี เป็นประธานคณะทางาน ให ้คณะทางานมี
อานาจหน้าที่ดังนี้
1. พิจารณาการกาหนดโครงสร ้างของสานักงานสภา
มหาวิทยาลัย สานักงานมหาวิทยาลัย และคณะกรรมการ
ส่งเสริมมหาวิทยาลัย เพื่อให ้เกิดประสิทธิภาพในการ
บริหารงานขององค์กร
2. พิจารณาร่างข ้อบังคับเกี่ยวกับการบริหารงานของ
สานักงานสภามหาวิทยาลัย สานักงานมหาวิทยาลัย และ
คณะกรรมการส่งเสริมมหาวิทยาลัย เพื่อนาเสนอ
สภามหาวิทยาลัยพิจารณา
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
“การเตรียมการยกร่าง ข้อบังคับมหาวิทยาลัยฯ”
7. คณะทางานประมวลภาพรวมของ
การบริหารมหาวิทยาลัยในกากับ
มี กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ เป็นประธาน
คณะทางาน รองอธิการบดีฝ่ ายวิจัย เป็นเลขานุการ ให ้
คณะทางานมีอานาจหน้าที่พิจารณาประมวลภาพรวมของการ
บริหารมหาวิทยาลัยใน กากับ และประมวลข ้อบังคับในเรื่องต่างๆ
ให ้มีความสอดคล ้องกัน เพื่อนาเสนอสภามหาวิทยาลัยพิจารณา
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
ประเด็นที่ต้องเตรียมความพร้ อมมากที่สุด
ได้แก่ ประเด็นบุคลากร และสิทธิประโยชน์ของบุคลากร
1.1 เงินเดือน x 1.4 (ปี 2554+0.2 สวัสดิการ)
1.2 บวกอื่นๆได้แก่
(1) เงินประจาตาแหน่งวิชาการ
และบริหาร(มช.X2)
(2) ค่าตอบแทนรายเดือน
(3) ค่าตอบแทนผู้ปฎิบัติการ
งานบริการสาธารณสุข (พตส.)
และอื่นๆที่มีอยู่เดิม
วงเงินที่ได้จากรัฐของมหาวิทยาลัยในกากับ
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
สวัสดิการของพนักงานมหาวิทยาลัย
แบ่งแยกตามกลุ่มดังนี้
1. ผู้ที่มาจากข้าราชการและรับบานาญ ไม่ต่อ ก.บ.ข.
2. ผู้ที่มาจากข้าราชการและ ต่อ ก.บ.ข.
3. ผู้ที่มาจากข้าราชการ / ลูกจ้างประจา ที่รับ
บาเหน็จ
4. ผู้ที่มาจากพนักงานมหาวิทยาลัย
(งบประมาณแผ่นดิน) เดิม
5. ผู้ที่มาจากพนักงานมหาวิทยาลัย
(เงินรายได้ของส่วนงาน) เดิม
6. ผู้ที่บรรจุใหม่ ( งบประมาณแผ่นดิน )
7. ผู้ที่บรรจุใหม่ ( เงินรายได้ของส่วนงาน )
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
การเปลี่ยนจากข ้าราชการไปเป็นพนักงานมหาวิทยาลัย
ในกากับให ้ถือว่าเป็นการออกจากราชการเลิกหรือยุบ
ตาแหน่ง ตามกฎหมายว่าด ้วยบาเหน็จบานาญข ้าราชการ
หรือกฎหมายว่าด ้วยกองทุนบาเหน็จบานาญข ้าราชการ
แล ้วแต่กรณี ซึ่งการออกเพราะทางราชการเลิกหรือยุบ
ตาแหน่งนี้ ทาให ้ข ้าราชการที่เปลี่ยนเป็นพนักงานได ้เป็น
ข ้าราชการบานาญได ้ถ ้าทางานราชการไม่น้อยกว่า 10 ปี
(9 ปี 6 เดือน) และสามารถได ้รับเงินบานาญต่าสุดที่ 6,000
บาท (หกพันบาทถ ้วน) ตามพระราชกฤษฎีกา เงินช่วยค่า
ครองชีพผู้รับเบี้ยหวัดบานาญ (ฉบับที่ 13) พ.ศ.2552
การรับเงินบานาญของผู้เปลี่ยนสถานภาพ
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
สาหรับผู้ปฏิบัติงานต้องมีการกาหนดตาแหน่งงาน คุณสมบัติ
การประเมิน และเกณฑ์การจ้างงานที่เป็นมาตรฐานชัดเจน
คุณสมบัติของพนักงาน
- เป็ นผู้เลื่อมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตย
- อายุไม่เกิน 60 ปี ( ก.บ.อาจพิจารณาต่อเป็ นรายๆ )
- ไม่เคยถูกลงโทษให้ออก ปลดออกหรือไล่ออก
จากราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ
- ไม่เป็ นผู้อยู่ระหว่างถูกพักงาน พักราชการหรือสั่งให้
หยุดงานเป็ นการชั่วคราวในลักษณะเดียวกับถูกพักงาน
หรือพักราชการ
- มีคุณสมบัติอื่นตามที่กาหนด
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
เงินเดือนและค่าตอบแทน
ได้รับตามบัญชีเงินเดือนที่มหาวิทยาลัยกาหนด
ได้รับเงินเดือนพื้นฐานตามคุณวุฒิ และอาจได้รับเงิน
ค่าตอบแทน ( Allowance ) หรือเงินเพิ่มพิเศษตาม
ผลงาน ( Performance pay scale )
* ได้รับการขึ้นเงินเดือนประจาปี ไม่เกินอัตราสูงสุด
ของตาแหน่ง และสัดส่วนที่มหาวิทยาลัยกาหนด
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
เงินเดือนและค่าตอบแทน
ผลงานดีเด่น
เบี้ยประชุม
ค่าตอบแทนเกินภาระงาน
Allowance
ค่าตอบแทนทางวิชาชีพที่ขาดแคลน
ค่าตอบแทนตาแหน่งทางวิชาการ
ค่าตอบแทนตาแหน่งบริหาร
Basic Salary
คุณวุฒิ
+
ประสบการณ์
Performance
Payscale
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
เงินเดือนและค่าตอบแทน
เงินเดือน
พื้นฐาน
(Basic Salary)
เงินเดือนที่บุคลากรพึงได ้รับ
จากการปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่
ได ้รับมอบหมาย ตาม
คุณสมบัติเฉพาะตาแหน่ง
คุณวุฒิ + ประสบการณ์
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
เงินเดือนและค่าตอบแทน
เงิน
ค่าตอบแทน
(Allowance)
เงินที่ได้รับเพิ่มขึ้นเนื่องจากมีการปฏิบัติงานเกินกว่า
หน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย หรือมีภาระงานเพิ่มขึ้น
นอกเหนือจากหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายตาม
คุณสมบัติเฉพาะตาแหน่ง หรือดารงตาแหน่งทาง
บริหาร
1) ค่าตอบแทนทางการบริหาร หมายถึง เงินค่าตอบแทนที่
จ่ายให้แก่ผู้ดารงตาแหน่งทางการบริหารในมหาวิทยาลัย
2) ค่าตอบแทนทางวิชาการ หมายถึง เงินค่าตอบแทนที่จ่าย
ให้แก่ผู้ที่ได้รับตาแหน่งทางวิชาการ
3) ค่าตอบแทนวิชาชีพขาดแคลน หมายถึง เงินค่าตอบแทน
ที่จ่ายให้แก่บุคลากรเพื่อชดเชยค่าเสียโอกาสจากการ
ประกอบอาชีพอื่น และเป็ นค่าตอบแทนในวิชาชีพที่มีความ
ขาดแคลนในตลาดแรงงาน เพื่อเพิ่มแรงจูงใจให้แก่บุคลากร
4) เงินเพิ่มพิเศษตามตาแหน่งที่มีเหตุพิเศษ หมายถึง เงิน
ค่าตอบแทนที่จ่ายให้แก่บุคลากร ที่ปฏิบัติงานกรณีมีความ
เสี่ยง เงินเพิ่มพิเศษผู้ปฏิบัติงานโครงการเฉพาะกิจที่ได้รับ
มอบหมายเป็ นพิเศษ
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
เงินเดือนและค่าตอบแทน
เงินเพิ่มพิเศษตาม
ผลงาน
(Performance
Payscale)
ค่าตอบแทนพิเศษนอกเหนือจาก
เงินเดือนพื้นฐานที่จ่ายให้แก่
บุคลากรที่มีผลงานดีเด่น มี
สมรรถนะสูง สามารถปฏิบัติงาน
ได้บรรลุผลสาเร็จตามตัวชี้วัดที่
กาหนด หรือปฏิบัตินอกเหนือจาก
งานประจา โดยค่าตอบแทนนี้มี
ความสัมพันธ์โดยตรงต่อการ
ปฏิบัติงาน เช่น เงินค่าตอบแทนที่
ปฏิบัติงานเกินภาระงานขั้นต่า
เงินปฏิบัติงานนอกเวลา เบี้ย
ประชุม เงินโบนัส ค่าตอบแทน
จากผลงานดีเด่น เป็ นต้น
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
การประกันคุณภาพโดยพิจารณาจากค่า FTES
เปรียบเทียบการนาค่า FTES มาใช้ในการพิจารณา
สัดส่วนอาจารย์ : นักศึกษาเต็มเวลา (FTES)
รายการ
หลักเกณฑ์ / วิธีการ
ของสานัก
งบประมาณ
ของ สกอ. เพื่อประกันคุณภาพ
วัตถุประสงค์ของ
การนาไปใช้
ใช้เพื่อ
ประกอบการ
จัดสรร
งบประมาณ
สาหรับอัตรา
เพิ่มใหม่
ใช้เพื่อประกอบการพิจารณาตัว
บ่งชี้ คุณภาพ (Indicator) โดย
ให้คะแนนจากร้อยละของความ
แตกต่างระหว่าง จานวน FTES
ต่ออาจารย์ประจาของ
มหาวิทยาลัยกับเกณฑ์มาตรฐาน
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
การประกันคุณภาพโดยพิจารณาจากค่า FTES
เปรียบเทียบการนาค่า FTES มาใช้ในการพิจารณาสัดส่วนอาจารย์ : นักศึกษาเต็มเวลา (FTES)
รายการ
หลักเกณฑ์ / วิธีการ
ของสานัก
งบประมาณ
ของ สกอ. เพื่อประกัน
คุณภาพ
เกณฑ์มาตรฐานในระดับ
ปริญญาตรี สัดส่วนอาจารย์
: นักศึกษาเต็มเวลา
• วิทยาศาสตร์สุขภาพ 1 : 6 1 : 8
• วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 : 15 1 : 20
• วิศวกรรมศาสตร์ 1 : 15 1 : 20
• สถาปัตยกรรมศาสตร์
และการผังเมือง
1 : 6 1 : 8
• เกษตร ป่ าไม้ และประมง 1 : 15 1 : 20
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
การประกันคุณภาพโดยพิจารณาจากค่า FTES
เปรียบเทียบการนาค่า FTES มาใช้ในการพิจารณาสัดส่วนอาจารย์ : นักศึกษาเต็มเวลา (FTES)
รายการ
หลักเกณฑ์ / วิธีการ
ของสานัก
งบประมาณ
ของ สกอ. เพื่อประกัน
คุณภาพ
• บริหารธุรกิจ
พาณิชยศาสตร์ บัญชี การ
จัดการ การท่องเที่ยว
เศรษฐศาสตร์
1 : 25 1 : 25
• ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ 1 : 25 1 : 25
• ศิลปกรรมศาสตร์ วิจิตร
ศิลป์ และประยุกต์ศิลป์
1 : 12 1 : 8
• สังคมศาสตร์/
มนุษยศาสตร์
1 : 25 1 : 25
มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
ความพร้อมที่แท้จริง
อยู่ที่
ธรรมาภิบาลใน
มหาวิทยาลัยหมายเหตุ ธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัย เป็นหลักการ ที่ยังผันแปรไปตามวัฒนธรรมองค์กรได้

More Related Content

More from Surapol Sriboonsong

สารสมอง ปฐมฤกษ์
สารสมอง ปฐมฤกษ์ สารสมอง ปฐมฤกษ์
สารสมอง ปฐมฤกษ์
Surapol Sriboonsong
 

More from Surapol Sriboonsong (8)

ความเสี่ยงในการเจาะเลือด
ความเสี่ยงในการเจาะเลือดความเสี่ยงในการเจาะเลือด
ความเสี่ยงในการเจาะเลือด
 
01 มหาวิทยาลัยในกำกับ ความเป็นมา
01 มหาวิทยาลัยในกำกับ  ความเป็นมา01 มหาวิทยาลัยในกำกับ  ความเป็นมา
01 มหาวิทยาลัยในกำกับ ความเป็นมา
 
มหาวิทยาลัยสู่อาเซียน
มหาวิทยาลัยสู่อาเซียนมหาวิทยาลัยสู่อาเซียน
มหาวิทยาลัยสู่อาเซียน
 
ภาวะผู้นำของสภามหาวิทยาลัย
ภาวะผู้นำของสภามหาวิทยาลัยภาวะผู้นำของสภามหาวิทยาลัย
ภาวะผู้นำของสภามหาวิทยาลัย
 
ความร่วมมือช่วยมหาวิทยาลัยไต่อันดับ (2)
ความร่วมมือช่วยมหาวิทยาลัยไต่อันดับ (2)ความร่วมมือช่วยมหาวิทยาลัยไต่อันดับ (2)
ความร่วมมือช่วยมหาวิทยาลัยไต่อันดับ (2)
 
ความร่วมมือช่วยมหาวิทยาลัยไต่อันดับ (1)
ความร่วมมือช่วยมหาวิทยาลัยไต่อันดับ (1)ความร่วมมือช่วยมหาวิทยาลัยไต่อันดับ (1)
ความร่วมมือช่วยมหาวิทยาลัยไต่อันดับ (1)
 
กรรมการสภามหาวิทยาลัยกับการปฏิรูปการศึกษา
กรรมการสภามหาวิทยาลัยกับการปฏิรูปการศึกษากรรมการสภามหาวิทยาลัยกับการปฏิรูปการศึกษา
กรรมการสภามหาวิทยาลัยกับการปฏิรูปการศึกษา
 
สารสมอง ปฐมฤกษ์
สารสมอง ปฐมฤกษ์ สารสมอง ปฐมฤกษ์
สารสมอง ปฐมฤกษ์
 

02 มหาวิทยาลัยในกำกับ พรบ และการเตรียมความพร้อม

  • 1. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัย แห่งประเทศไทย (ปอมท.)
  • 2. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) กิติกรรมประกาศ
  • 4.
  • 5. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม
  • 6. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.) มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม ร่างพระราชบัญญัติ คณะรัฐมนตรี ไม่รับหลักการ เห็นชอบ รับหลักการ วาระที่ ๓ ไม่เห็นชอบ วาระที่ ๑ สภานิติบัญญัติ วาระที่ ๒ตั้งกรรมาธิการพิจารณา เสนอโปรดเกล้าฯ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา สนช.
  • 7. ตารางเปรียบเทียบ ร่าง พรบ. (ยังมิใช่ ฉบับจริง) เชียงใหม่ มจพ. มหิดล ทักษิณ บูรพา มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้ เรียกว า “พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ มหาวิทยาลัยเชียงใหม พ.ศ. ........” มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้ เรียกว่า “พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ จอมเกล้าพระนครเหนือ พ.ศ. ....” มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้ เรียกว่า “พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. ....” มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้ เรียกว่า “พระราชบัญญัติ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ทั ก ษิ ณ พ.ศ. ….” มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้ เรียกว่า “พระราชบัญญัติ ม ห า วิ ท ย า ลั ย บู ร พ า พ.ศ. ……………” มาตรา ๒ พระราชบัญญัติ นี้ให ใช บังคับตั้งแต วัน ถัดจากวันประกาศในราช กิจจานุเบกษา เป็นต้นไป มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ ให้ใช้บังคับตั้งแต่ วันถัด จากวันประกาศในราชกิจจา นุเบกษา เป็นต้นไป มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจาก วันประกาศในราชกิจจา นุเบกษา เป็นต้นไป มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจาก วันประกาศในราชกิจจา นุเบกษา เป็นต้นไป มาตรา ๒ พระราชบัญญัติ นี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่ วันถัด จากวันประกาศในราชกิจจา นุเบกษา เป็นต้นไป มาตรา ๓ ให ยกเลิก (๑ ) พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ มหาวิทยาลัยเชียงใหม พ.ศ. ๒๕๓๐ (๒) พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยเชียงใหม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๑ มา ต รา ๓ ให้ ย กเ ลิก พระราชบัญญัติสถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้า ....... พ.ศ. ๒๕๒๘ เฉพาะที่เกี่ยวกับสถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ มาตรา ๓ ให้ยกเลิก (1)พระราชบัญญัติมหา วิทยลัยมหิดลพ.ศ. ๒๕๓๐ (2)พระราชบัญญัติมหา วิทยลัยมหิดล (ฉบับที่๒) พ.ศ. ๒๕๔๑ ม า ต ร า ๓ ใ ห้ ย ก เ ลิ ก พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ มหาวิทยาลัยทักษิณ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓ ให้ยกเลิก (๑) พระราชบัญญัติ ม ห า วิ ท ย า ลั ย บู ร พ พ.ศ. ๒๕๓๓ (๒) พระราชบัญญัติ ม ห า วิ ท ย า ลั ย บู ร พ า (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๑
  • 8. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม เกณฑ์กลางร่าง พรบ.ในกากับของรัฐ มติคณะรัฐมนตรีในคราวประชุม ๑๙ ส.ค. ๔๖ และ ๒ พ.ย. ๔๗ (๑) มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐมีสถานภาพเป็ นหน่วยงานของรัฐและ เป็ นนิติบุคคลที่ไม่เป็ นส่วนราชการและไม่เป็ นรัฐวิสาหกิจ อยู่ภายใต้ การกากับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการและยังคงได้รับ การจัดสรรงบประมาณตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณในจานวน ที่เพียงพอที่จาเป็ นต่อการประกันคุณภาพการศึกษา รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
  • 9. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม เกณฑ์กลางร่าง พรบ.ในกากับของรัฐ (๒) การดาเนินงานของมหาวิทยาลัยทั้งการผลิตบัณฑิตการวิจัย การบริหารวิชาการ และการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ต ้องมี ประสิทธิภาพสอดคล ้องกับความต ้องการของสังคม นโยบายของ รัฐบาล และแผนการพัฒนาประเทศ ทั้งนี้ การผลิตบัณฑิตต ้องให ้ โอกาสทางการศึกษาแก่ประชาชนโดยไม่เลือกปฏิบัติ (๓) ความคล่องตัวของมหาวิทยาลัย ให ้เป็นไปตามกลไกของ สภามหาวิทยาลัยที่จะกาหนดระเบียบ ข ้อบังคับในการบริหาร จัดการในเรื่องต่างๆ ได ้เองภายใต ้กรอบแห่งพระราชบัญญัติของ มหาวิทยาลัยแต่ละแห่ง รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
  • 10. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม เกณฑ์กลางร่าง พรบ.ในกากับของรัฐ (๔) สภามหาวิทยาลัยและผู้บริหารมหาวิทยาลัย กาหนดให ้ องค์ประกอบของสภามหาวิทยาลัยจะต้องมาจากบุคคล ภายนอกมากกว่าบุคคลภายใน และกรรมการสภา มหาวิทยาลัยที่มาจากบุคคลภายนอก ๑ คน ซึ่งจะต้องสรร หาจากรายชื่อที่คณะกรรมการการอุดมศึกษาเสนอโดยการ บริหารมหาวิทยาลัยให ้อธิการบดีเป็นผู้บริหารสูงสุด มีหน้าที่ บริหารมหาวิทยาลัยภายใต ้ การกากับดูแลของสภามหาวิทยาลัย การได ้มาซึ่งนายกสภามหาวิทยาลัย กรรมการสภา มหาวิทยาลัยและอธิการบดีต ้องเป็นกระบวนการที่โปร่งใสไม่ใช ้วิธี การเลือกตั้งแต่ให ้ใช ้วิธีการสรรหาตามข ้อบังคับของมหาวิทยาลัย รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
  • 11. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม เกณฑ์กลางร่าง พรบ.ในกากับของรัฐ รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) (๕) การบริหารมหาวิทยาลัยให ้ใช ้หลักบริหารจัดการที่ดี (Good Governance) ในการออกระเบียบ ข ้อบังคับและ แนวทางในการดาเนินกิจการทั่วไปของมหาวิทยาลัย หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ หลักความคุ้มค่า
  • 12. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม เกณฑ์กลางร่าง พรบ.ในกากับของรัฐ รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) (๖) การบริหารงานบุคคล เมื่อเปลี่ยนสถานภาพไปเป็น มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐแล ้ว ข ้าราชการและลูกจ ้างประจาของ มหาวิทยาลัยสามารถเลือกสถานภาพได้ตามความสมัครใจ หากสมัครใจเปลี่ยนสถานภาพภายหลังกฎหมายใช้บังคับก็ จะมีสถานภาพเป็ นพนักงาน มหาวิทยาลัย และให้คงสิทธิการ เป็ นสมาชิกกองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการและสิทธิ ประโยชน์อื่นตามที่รัฐกาหนด ซึ่งการบริหารงานบุคคลให ้ตรา เป็นข ้อบังคับ โดยมีองค์กรบริหารงานบุคคลที่บุคลากรมีส่วนร่วม ยึดหลักการบริหารในระบบ คุณธรรม (Merit System) มีระบบการ ประเมินผลการทางานของบุคลากรที่โปร่งใส และสถานภาพของ บุคลากร
  • 13. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม เกณฑ์กลางร่าง พรบ.ในกากับของรัฐ รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) (๗) งบประมาณและทรัพย์สิน ให ้รัฐบาลจัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไป ให ้แก่มหาวิทยาลัยเป็นจานวนที่เพียงพอ เพื่อดาเนินการตาม นโยบายของรัฐบาลและการประกันคุณภาพการศึกษา โดยให้ถือ ว่าเป็ นเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย กรณีรายได ้ไม่เพียงพอกับ รายจ่ายและมหาวิทยาลัยไม่สามารถหาเงินสนับสนุนจากแหล่งอื่น ได ้รัฐพึงจัดสรรงบประมาณให ้แก่มหาวิทยาลัยเท่าที่จาเป็ น ทั้งนี้ รายได้ของมหาวิทยาลัยไม่ต้องนาส่งกระทรวงการคลัง
  • 14. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม เกณฑ์กลางร่าง พรบ.ในกากับของรัฐ รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) (๘) มหาวิทยาลัย สามารถถือกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ได ้ รวมทั้งอสังหาริมทรัพย์ที่มีผู้อุทิศให ้หรือได ้มาโดยการซื้อด ้วยเงิน รายได ้ของมหาวิทยาลัยไม่ถือเป็นที่ราชพัสดุ และให ้เป็น กรรมสิทธิ์ของมหาวิทยาลัย โดยให ้มหาวิทยาลัยมีอานาจ ปกครอง ดูแล บารุงรักษา ใช ้จัดหาประโยชน์จากที่ราชพัสดุ ได ้ และรายได ้ที่เกิดขึ้นให ้ถือเป็นรายได ้ของมหาวิทยาลัย
  • 15. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม เกณฑ์กลางร่าง พรบ.ในกากับของรัฐ รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) (๙) มหาวิทยาลัย ต ้องมีระบบบริหารการเงินและระบบบัญชีที่ มีประสิทธิภาพ โดยไม่ขัดแย ้งกับมาตรฐานและนโยบายการบัญชี ที่รัฐกาหนด การจ่ายเงินต ้องทาเป็นงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยการอนุมัติของสภา มหาวิทยาลัย และมีกลไกตรวจสอบ การใช้จ่ายเงินภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย มี กมธ. บางท่านเสนอให ้มีการนาเสนอบัญชีผลประกอบการรายเดือน แบบเดียวกับองค์กรธุรกิจ แต่คณะ กมธ. ส่วนใหญ่ไม่เห็นด ้วย
  • 16. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม เกณฑ์กลางร่าง พรบ.ในกากับของรัฐ รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) (๑๐) การใช ้ทรัพยากรให ้เกิดประโยชน์สูงสุด ให ้สภา มหาวิทยาลัยมีหน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุนให ้มีการใช ้ทรัพยากร ร่วมกันระหว่างส่วนงานภายในมหาวิทยาลัย และระหว่าง สถาบันการศึกษา ชุมชน สถานประกอบการ และหน่วยงานทั้ง ภาครัฐและเอกชน
  • 17. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม เกณฑ์กลางร่าง พรบ.ในกากับของรัฐ รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) (๑๑) การบริหารงานวิชาการของมหาวิทยาลัย ให ้ เป็นไปตามหลักเสรีภาพทางวิชาการ โดยให ้การดาเนินการเสร็จ สิ้นที่สภามหาวิทยาลัยมากที่สุด ทั้งนี้ จะต ้องสอดคล ้องกับ นโยบายและมาตรฐานทางวิชาการที่รัฐกาหนด โดยให ้สภา มหาวิทยาลัยและผู้บริหารมหาวิทยาลัยมีหน้าที่ส่งเสริมและ สนับสนุนให ้มีการทาวิจัย และนาผลงานวิจัยไปใช ้ให ้เกิด ประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และประเทศชาติ
  • 18. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม เกณฑ์กลางร่าง พรบ.ในกากับของรัฐ รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) (๑๒) การกากับ ตรวจสอบ ให้มีการกากับ ตรวจสอบ โดยกลไกภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย การกากับ ตรวจสอบภายใน ให้ สภามหาวิทยาลัยวาง ระเบียบและกลไกเพื่อควบคุม ติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมินผลการดาเนินงานของมหาวิทยาลัย โดยให้ ประชาคมในมหาวิทยาลัยมีส่วนร่วม การกากับ ตรวจสอบภายนอก ให้กระทาโดยสานักงาน การตรวจเงินแผ่นดิน กลไกงบประมาณ นโยบายของ รัฐบาล และระบบการรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษา
  • 19. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม เกณฑ์กลางร่าง พรบ.ในกากับของรัฐ รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) รัฐมนตรี มีอานาจและหน้าที่กากับดูแล โดยทั่วไปซึ่งกิจการของมหาวิทยาลัย ให ้เป็นไปตามวัตถุประสงค์สอดคล ้องกับ นโยบายรัฐบาลหรือมติคณะรัฐมนตรีที่ เกี่ยวกับมหาวิทยาลัย
  • 20. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) พระราชบัญญัติของการเป็ นมหาวิทยาลัยในกากับทุกฉบับมี ทั้งหมดอยู่ 8 หมวด และหนึ่งบทเฉพาะกาล เริ่มจาก •หมวดที่ 1 บททั่วไป •หมวดที่ 2 การดาเนินการ •หมวดที่ 3 การประกันคุณภาพและการประเมิน •หมวดที่ 4 การบัญชีและการตรวจสอบ •หมวดที่ 5 การกากับดูแล •หมวดที่ 6 ตาแห่งทางวิชาการ •หมวดที่ 7 ปริญญาและเครื่องหมายวิทยฐานะ •หมวดที่ 8 บทกาหนดโทษ และ •บทสุดท ้าย บทเฉพาะกาล
  • 21. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) มีมาตราที่มีบทบัญญัติว่า“กิจการมหาวิทยาลัยไม่อยู่ภายใต ้ บังคับแห่งกฎหมายว่าด ้วย การคุ้มครองแรงงานและกฎหมายว่า ด ้วยแรงงานสัมพันธ์” (มาตรา 13 พ.ร.บ.มข.2558) ซึ่งจะทาให ้สิทธิบางอย่างตามกฎหมายแรงงานหายไป มีเพียง พระราชบัญญัติของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเท่านั้นที่มี บทต่อท ้ายที่น่าสนใจคือ “ แต่พนักงานมหาวิทยาลัยต ้องได ้รับ การคุ้มครองและประโยชน์ตอบแทนไม่น้อยกว่าที่กาหนดไว ้ใน กฎหมายว่าด ้วยการคุ้มครองแรงงาน” (มาตรา 12 พ.ร.บ.จุฬาฯ2551) จากบทบัญญัตินี้ทาให้มี การเพิ่มสวัสดิการแก่พนักงานที่เปลี่ยนสถานภาพจาก ข้าราชการในเรื่องของ การได้รับค่าชดเชย เป็ นต้น (มาตรา 118 ของกฎหมายแรงงาน)
  • 22. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) จากความเข ้าใจของประชาชนที่ว่าการเปลี่ยนเป็นมหาวิทยาลัย ในกากับแล ้ว จะเก็บค่าเรียนสูงขึ้น เป็นการปิดโอกาสทางการศึกษา สาหรับผู้ที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจ จึงมีบทบัญญัติในพระราชบัญญัติฯ ทุกมหาวิทยาลัยคือ “มหาวิทยาลัยต ้องส่งเสริมและสนับสนุนผู้ที่มหาวิทยาลัยรับเข ้าศึกษา ในมหาวิทยาลัยและนิสิตที่ขาดแคลนทุนทรัพย์อย่างแท ้จริง ให ้มีโอกาส เรียนจนสาเร็จปริญญาตรี หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาว่าผู้ใดขาด แคลนทุนทรัพย์อย่างแท ้จริง ให ้เป็นไปตามระเบียบที่สภามหาวิทยาลัย กาหนด” มาตรานี้เป็นมาตราที่ทางสมาชิกวุฒิสภา ในสมัยที่มีการพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยในกากับ ปี 2548 มีความกังวลมาก และ ขอให ้ทุกมหาวิทยาลัยบรรจุไว ้เป็นหลักประกันทุกฉบับ
  • 23. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) องค์ประกอบของสภามหาวิทยาลัย กฎเกณฑ์กลางกาหนดให้ต้องมีบุคคลภายนอกมากกว่าบุคคลภายใน และ กรรมการสภามหาวิทยาลัยที่มาจากบุคคลภายนอกหนึ่งคนต้องสรรหามา จากรายชื่อที่คณะกรรมการการอุดมศึกษาเสนอ อัตราส่วนระหว่างบุคคลภายนอกต่อบุคคลภายใน :- •จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ มหาวิทยาลัยมหิดล เหมือนกัน (17:13) •มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (16:8) •มหาวิทยาลัยบูรพา (16:5) •มหาวิทยาลัยทักษิณ(14:5) •มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (18:9) •และ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง (14:4)
  • 24. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) องค์ประกอบของสภามหาวิทยาลัย ประเด็นการกาหนดวาระของนายกสภามหาวิทยาลัย ส่วนใหญ่กาหนด วาระละสามปี และไม่มีจานวนวาระ มีเพียง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กาหนดไม่เกินสองวาระ และมหาวิทยาลัยทักษิณ กาหนดไม่เกินสามวาระ ปัญหาของนายกสภามหาวิทยาลัยอีกเรื่องหนึ่งที่ถูกหยิบยก มาพิจารณาในคราวสมัยการพิจารณาเมื่อปี 2548 คือ จานวนมหาวิทยาลัยที่นายกสภามหาวิทยาลัยดารงตาแหน่ง ต่อหนึ่งท่าน ซึ่งในที่ประชุมพิจารณาครั้งนั้นได้กาหนดให้ไม่ เกิน ๒ แห่ง มีหลายมหาวิทยาลัยเริ่มให้มีกรรมการสภามหาวิทยาลัยที่มาจากสายสนับสนุน
  • 25. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) สาหรับองค์กรที่เป็ นองค์ประกอบหลักที่กาหนดใน พระราชบัญญัติมีสามสภาได้แก่ สภามหาวิทยาลัย สภาวิชาการ สภาพนักงาน และ สามคณะกรรมการฯ ได้แก่ คณะกรรมการบริหารงานบุคคล คณะกรรมการ อุทธรณ์และร้องทุกข์และพิทักษ์ระบบคุณธรรมฯ คณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย องค์ประกอบ ขององค์กรที่กล่าวมานี้มีความสาคัญต่อการบริหารงานใน มหาวิทยาลัย แต่ในพระราชบัญญัติของมหาวิทยาลัยใน กากับทั้งเจ็ดแห่ง บางแห่งก็มีไม่ครบ ขึ้นกับบริบทของแต่ ละมหาวิทยาลัย แต่ทั้งนี้ถ้ามีองค์ประกอบเหล่านี้ครบน่าจะ ดีกว่าสาหรับการบริหารมหาวิทยาลัยในกากับ
  • 26. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) สาหรับอธิการบดีที่กาหนดในพระราชบัญญัติฯ มีการกาหนดคุณสมบัติที่กว้างพร้อมที่ให้บุคคลภายนอก ที่มีความสามารถมาบริหารมหาวิทยาลัยได้ ปัญหาอย่างหนึ่งเกี่ยวกับอธิการบดีในอดีตที่มีการพิจารณา คือการนับวาระของอธิการบดีว่าจะต้องนับต่อเนื่อง ของเก่าด้วยหรือไม่ เนื่องจากการผลักดันอย่าง เต็มที่ของฝ่ ายบริหารทาให้บุคลากรในมหาวิทยาลัยเข้าใจว่า ผู้บริหารต้องการ นับวาระหนึ่งใหม่เพื่อต่ออานาจ สาหรับผู้ที่ ใกล้ครบวาระที่สอง สมัยที่ ศ.ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน เป็ น รมว. ศธ. ได้เพิ่มกฎเกณฑ์กลางให้นับ รวมวาระการดารงตาแหน่งเดิมด้วย รวมถึงปัจจุบัน
  • 27. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) ประเด็นที่ควรได้รับความสนใจ • อธิการบดีเป็นผู้บริหารที่เป็นผู้ดารงตาแหน่ง ระดับสูง ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด ้วย การป้องกันและปราบปรามการทุจริตด ้วย • การประเมินอธิการบดี • ผู้บริหารตั้งแต่ระดับใดที่ต ้องเปลี่ยนสถานภาพเป็นพนักงาน • การกาหนดเปลี่ยนเป็นพนักงานของข ้าราชการทั่วไปมีการ เปลี่ยนเป็นสามช่วง • จานวนวันที่กาหนดให ้เปลี่ยน • เวลากับการร่างข ้อบังคับต่างๆ ที่จะมารองรับพระราชบัญญัติฯ • ระยะเวลาของการทาสัญญาจ ้างให ้เป็นพนักงานถาวร • กลุ่มอาจารย์ที่ต ้องการต่ออายุราชการหลัง 60 ปี
  • 28. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) “การเตรียมการยกร่าง ข้อบังคับมหาวิทยาลัยฯ” แต่งตั้งคณะทางานเฉพาะกิจเพื่อดาเนินการ 1. คณะทางานด ้านบริหารงานบุคคล มีอานาจหน้าที่ดังนี้ 1. พิจารณาวางแนวทางการวางระบบการบริหารงานบุคคล ค่าจ ้างและค่าตอบแทน สิทธิและสวัสดิการ 2. พิจารณาร่างข ้อบังคับเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล และ ร่างข ้อบังคับเกี่ยวกับสิทธิและสวัสดิการ พนักงาน มหาวิทยาลัย เพื่อนาเสนอสภามหาวิทยาลัยพิจารณา
  • 29. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) “การเตรียมการยกร่าง ข้อบังคับมหาวิทยาลัยฯ” 2. คณะทางานด ้านประชาสัมพันธ์ มี ประธานสภาอาจารย์ เป็นประธานคณะทางาน ผู้อานวยการกองกลาง เป็นเลขานุการ ให ้คณะทางานมีอานาจ หน้าที่เผยแพร่ข ้อมูลข่าวสาร ชี้แจง ทาความเข ้าใจเกี่ยวกับร่าง พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย และการปรับเปลี่ยนสถานภาพไปสู่ การเป็นมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ การปรับเปลี่ยนสถานภาพ ของข ้าราชการ และลูกจ ้างไปเป็นพนักงานของมหาวิทยาลัย ตลอดจนเผยแพร่ข่าวสารความเคลื่อนไหวของคณะทางานชุด ต่างๆ โดยผ่านสื่อนานาชนิด เพื่อให ้บุคลากรของมหาวิทยาลัย ทุกระดับเกิดความเข ้าใจที่ถูกต ้องตรงกัน
  • 30. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) “การเตรียมการยกร่าง ข้อบังคับมหาวิทยาลัยฯ” 3. คณะทางานด ้านวิชาการ มีอานาจหน้าที่ดังนี้ 1. พิจารณาวางแนวทางการบริหารงานวิชาการ การ พัฒนาคุณภพาการศึกษา การกากับดูแลมาตรฐานหลักสูตร การ เรียนการสอน ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา 2. พิจารณาร่างข ้อบังคับเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการและ การประกันคุณภาพการ ศึกษาเพื่อนาเสนอ สภามหาวิทยาลัย พิจารณา
  • 31. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) “การเตรียมการยกร่าง ข้อบังคับมหาวิทยาลัยฯ” 4. คณะทางานด ้านโครงสร ้างองค์กร มีอานาจหน้าที่ดังนี้ 1. พิจารณา วางแนวทางการจัดโครงสร ้างองค์กรของ มหาวิทยาลัยและการแบ่งส่วนงาน 2. พิจารณาร่างข ้อบังคับเกี่ยวกับส่วนงาน หัวหน้าส่วนงาน และการบริหารส่วนงาน เพื่อนาเสนอสภามหาวิทยาลัย พิจารณา
  • 32. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) “การเตรียมการยกร่าง ข้อบังคับมหาวิทยาลัยฯ” 5. คณะทางานด ้านการเงินและงบประมาณ มีอานาจหน้าที่ดังนี้ 1. พิจารณาหลักการและแนวทางการบริหารการเงินและ งบประมาณ และแนวทางการจัดการทรัพย์สินของ มหาวิทยาลัยให ้มีประสิทธิภาพสูงสุด 2. พิจารณาร่างข ้อบังคับที่เกี่ยวกับการบริหารการเงินและ งบประมาณ และร่างข ้อบังคับเกี่ยวกับบริหารการเงิน และ ทรัพย์สิน เพื่อนาเสนอสภามหาวิทยาลัย
  • 33. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) “การเตรียมการยกร่าง ข้อบังคับมหาวิทยาลัยฯ” 6. คณะทางานด ้านโครงสร ้างสานักงานสภามหาวิทยาลัย สานักงาน มหาวิทยาลัย และคณะกรรมการส่งเสริมมหาวิทยาลัย มี อธิการบดี เป็นประธานคณะทางาน ให ้คณะทางานมี อานาจหน้าที่ดังนี้ 1. พิจารณาการกาหนดโครงสร ้างของสานักงานสภา มหาวิทยาลัย สานักงานมหาวิทยาลัย และคณะกรรมการ ส่งเสริมมหาวิทยาลัย เพื่อให ้เกิดประสิทธิภาพในการ บริหารงานขององค์กร 2. พิจารณาร่างข ้อบังคับเกี่ยวกับการบริหารงานของ สานักงานสภามหาวิทยาลัย สานักงานมหาวิทยาลัย และ คณะกรรมการส่งเสริมมหาวิทยาลัย เพื่อนาเสนอ สภามหาวิทยาลัยพิจารณา
  • 34. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) “การเตรียมการยกร่าง ข้อบังคับมหาวิทยาลัยฯ” 7. คณะทางานประมวลภาพรวมของ การบริหารมหาวิทยาลัยในกากับ มี กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ เป็นประธาน คณะทางาน รองอธิการบดีฝ่ ายวิจัย เป็นเลขานุการ ให ้ คณะทางานมีอานาจหน้าที่พิจารณาประมวลภาพรวมของการ บริหารมหาวิทยาลัยใน กากับ และประมวลข ้อบังคับในเรื่องต่างๆ ให ้มีความสอดคล ้องกัน เพื่อนาเสนอสภามหาวิทยาลัยพิจารณา
  • 35. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) ประเด็นที่ต้องเตรียมความพร้ อมมากที่สุด ได้แก่ ประเด็นบุคลากร และสิทธิประโยชน์ของบุคลากร 1.1 เงินเดือน x 1.4 (ปี 2554+0.2 สวัสดิการ) 1.2 บวกอื่นๆได้แก่ (1) เงินประจาตาแหน่งวิชาการ และบริหาร(มช.X2) (2) ค่าตอบแทนรายเดือน (3) ค่าตอบแทนผู้ปฎิบัติการ งานบริการสาธารณสุข (พตส.) และอื่นๆที่มีอยู่เดิม วงเงินที่ได้จากรัฐของมหาวิทยาลัยในกากับ
  • 36. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) สวัสดิการของพนักงานมหาวิทยาลัย แบ่งแยกตามกลุ่มดังนี้ 1. ผู้ที่มาจากข้าราชการและรับบานาญ ไม่ต่อ ก.บ.ข. 2. ผู้ที่มาจากข้าราชการและ ต่อ ก.บ.ข. 3. ผู้ที่มาจากข้าราชการ / ลูกจ้างประจา ที่รับ บาเหน็จ 4. ผู้ที่มาจากพนักงานมหาวิทยาลัย (งบประมาณแผ่นดิน) เดิม 5. ผู้ที่มาจากพนักงานมหาวิทยาลัย (เงินรายได้ของส่วนงาน) เดิม 6. ผู้ที่บรรจุใหม่ ( งบประมาณแผ่นดิน ) 7. ผู้ที่บรรจุใหม่ ( เงินรายได้ของส่วนงาน )
  • 37. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) การเปลี่ยนจากข ้าราชการไปเป็นพนักงานมหาวิทยาลัย ในกากับให ้ถือว่าเป็นการออกจากราชการเลิกหรือยุบ ตาแหน่ง ตามกฎหมายว่าด ้วยบาเหน็จบานาญข ้าราชการ หรือกฎหมายว่าด ้วยกองทุนบาเหน็จบานาญข ้าราชการ แล ้วแต่กรณี ซึ่งการออกเพราะทางราชการเลิกหรือยุบ ตาแหน่งนี้ ทาให ้ข ้าราชการที่เปลี่ยนเป็นพนักงานได ้เป็น ข ้าราชการบานาญได ้ถ ้าทางานราชการไม่น้อยกว่า 10 ปี (9 ปี 6 เดือน) และสามารถได ้รับเงินบานาญต่าสุดที่ 6,000 บาท (หกพันบาทถ ้วน) ตามพระราชกฤษฎีกา เงินช่วยค่า ครองชีพผู้รับเบี้ยหวัดบานาญ (ฉบับที่ 13) พ.ศ.2552 การรับเงินบานาญของผู้เปลี่ยนสถานภาพ
  • 38. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) สาหรับผู้ปฏิบัติงานต้องมีการกาหนดตาแหน่งงาน คุณสมบัติ การประเมิน และเกณฑ์การจ้างงานที่เป็นมาตรฐานชัดเจน คุณสมบัติของพนักงาน - เป็ นผู้เลื่อมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตย - อายุไม่เกิน 60 ปี ( ก.บ.อาจพิจารณาต่อเป็ นรายๆ ) - ไม่เคยถูกลงโทษให้ออก ปลดออกหรือไล่ออก จากราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ - ไม่เป็ นผู้อยู่ระหว่างถูกพักงาน พักราชการหรือสั่งให้ หยุดงานเป็ นการชั่วคราวในลักษณะเดียวกับถูกพักงาน หรือพักราชการ - มีคุณสมบัติอื่นตามที่กาหนด
  • 39. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) เงินเดือนและค่าตอบแทน ได้รับตามบัญชีเงินเดือนที่มหาวิทยาลัยกาหนด ได้รับเงินเดือนพื้นฐานตามคุณวุฒิ และอาจได้รับเงิน ค่าตอบแทน ( Allowance ) หรือเงินเพิ่มพิเศษตาม ผลงาน ( Performance pay scale ) * ได้รับการขึ้นเงินเดือนประจาปี ไม่เกินอัตราสูงสุด ของตาแหน่ง และสัดส่วนที่มหาวิทยาลัยกาหนด
  • 40. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) เงินเดือนและค่าตอบแทน ผลงานดีเด่น เบี้ยประชุม ค่าตอบแทนเกินภาระงาน Allowance ค่าตอบแทนทางวิชาชีพที่ขาดแคลน ค่าตอบแทนตาแหน่งทางวิชาการ ค่าตอบแทนตาแหน่งบริหาร Basic Salary คุณวุฒิ + ประสบการณ์ Performance Payscale
  • 41. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) เงินเดือนและค่าตอบแทน เงินเดือน พื้นฐาน (Basic Salary) เงินเดือนที่บุคลากรพึงได ้รับ จากการปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่ ได ้รับมอบหมาย ตาม คุณสมบัติเฉพาะตาแหน่ง คุณวุฒิ + ประสบการณ์
  • 42. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม เงินเดือนและค่าตอบแทน เงิน ค่าตอบแทน (Allowance) เงินที่ได้รับเพิ่มขึ้นเนื่องจากมีการปฏิบัติงานเกินกว่า หน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย หรือมีภาระงานเพิ่มขึ้น นอกเหนือจากหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายตาม คุณสมบัติเฉพาะตาแหน่ง หรือดารงตาแหน่งทาง บริหาร 1) ค่าตอบแทนทางการบริหาร หมายถึง เงินค่าตอบแทนที่ จ่ายให้แก่ผู้ดารงตาแหน่งทางการบริหารในมหาวิทยาลัย 2) ค่าตอบแทนทางวิชาการ หมายถึง เงินค่าตอบแทนที่จ่าย ให้แก่ผู้ที่ได้รับตาแหน่งทางวิชาการ 3) ค่าตอบแทนวิชาชีพขาดแคลน หมายถึง เงินค่าตอบแทน ที่จ่ายให้แก่บุคลากรเพื่อชดเชยค่าเสียโอกาสจากการ ประกอบอาชีพอื่น และเป็ นค่าตอบแทนในวิชาชีพที่มีความ ขาดแคลนในตลาดแรงงาน เพื่อเพิ่มแรงจูงใจให้แก่บุคลากร 4) เงินเพิ่มพิเศษตามตาแหน่งที่มีเหตุพิเศษ หมายถึง เงิน ค่าตอบแทนที่จ่ายให้แก่บุคลากร ที่ปฏิบัติงานกรณีมีความ เสี่ยง เงินเพิ่มพิเศษผู้ปฏิบัติงานโครงการเฉพาะกิจที่ได้รับ มอบหมายเป็ นพิเศษ
  • 43. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) เงินเดือนและค่าตอบแทน เงินเพิ่มพิเศษตาม ผลงาน (Performance Payscale) ค่าตอบแทนพิเศษนอกเหนือจาก เงินเดือนพื้นฐานที่จ่ายให้แก่ บุคลากรที่มีผลงานดีเด่น มี สมรรถนะสูง สามารถปฏิบัติงาน ได้บรรลุผลสาเร็จตามตัวชี้วัดที่ กาหนด หรือปฏิบัตินอกเหนือจาก งานประจา โดยค่าตอบแทนนี้มี ความสัมพันธ์โดยตรงต่อการ ปฏิบัติงาน เช่น เงินค่าตอบแทนที่ ปฏิบัติงานเกินภาระงานขั้นต่า เงินปฏิบัติงานนอกเวลา เบี้ย ประชุม เงินโบนัส ค่าตอบแทน จากผลงานดีเด่น เป็ นต้น
  • 44. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) การประกันคุณภาพโดยพิจารณาจากค่า FTES เปรียบเทียบการนาค่า FTES มาใช้ในการพิจารณา สัดส่วนอาจารย์ : นักศึกษาเต็มเวลา (FTES) รายการ หลักเกณฑ์ / วิธีการ ของสานัก งบประมาณ ของ สกอ. เพื่อประกันคุณภาพ วัตถุประสงค์ของ การนาไปใช้ ใช้เพื่อ ประกอบการ จัดสรร งบประมาณ สาหรับอัตรา เพิ่มใหม่ ใช้เพื่อประกอบการพิจารณาตัว บ่งชี้ คุณภาพ (Indicator) โดย ให้คะแนนจากร้อยละของความ แตกต่างระหว่าง จานวน FTES ต่ออาจารย์ประจาของ มหาวิทยาลัยกับเกณฑ์มาตรฐาน
  • 45. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม การประกันคุณภาพโดยพิจารณาจากค่า FTES เปรียบเทียบการนาค่า FTES มาใช้ในการพิจารณาสัดส่วนอาจารย์ : นักศึกษาเต็มเวลา (FTES) รายการ หลักเกณฑ์ / วิธีการ ของสานัก งบประมาณ ของ สกอ. เพื่อประกัน คุณภาพ เกณฑ์มาตรฐานในระดับ ปริญญาตรี สัดส่วนอาจารย์ : นักศึกษาเต็มเวลา • วิทยาศาสตร์สุขภาพ 1 : 6 1 : 8 • วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 : 15 1 : 20 • วิศวกรรมศาสตร์ 1 : 15 1 : 20 • สถาปัตยกรรมศาสตร์ และการผังเมือง 1 : 6 1 : 8 • เกษตร ป่ าไม้ และประมง 1 : 15 1 : 20
  • 46. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม การประกันคุณภาพโดยพิจารณาจากค่า FTES เปรียบเทียบการนาค่า FTES มาใช้ในการพิจารณาสัดส่วนอาจารย์ : นักศึกษาเต็มเวลา (FTES) รายการ หลักเกณฑ์ / วิธีการ ของสานัก งบประมาณ ของ สกอ. เพื่อประกัน คุณภาพ • บริหารธุรกิจ พาณิชยศาสตร์ บัญชี การ จัดการ การท่องเที่ยว เศรษฐศาสตร์ 1 : 25 1 : 25 • ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ 1 : 25 1 : 25 • ศิลปกรรมศาสตร์ วิจิตร ศิลป์ และประยุกต์ศิลป์ 1 : 12 1 : 8 • สังคมศาสตร์/ มนุษยศาสตร์ 1 : 25 1 : 25
  • 47. มหาวิทยาลัยในกากับ : พรบ. และการเตรียมความพร้อม รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) ความพร้อมที่แท้จริง อยู่ที่ ธรรมาภิบาลใน มหาวิทยาลัยหมายเหตุ ธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัย เป็นหลักการ ที่ยังผันแปรไปตามวัฒนธรรมองค์กรได้