SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
นักเทคโนโลยีทางการศึกษา

ชื่ออาชีพ

นักเทคโนโลยีทางการศึกษา
Education Technologist


รหัสอาชีพ


2351.40 (TSCO)


นิยามอาชีพ

      วางแผน       จัดหาเทคโนโลยี และเทคนิคที่เหมาะสมตอการทําสื่อการสอน
จัดทําและเตรียมวัสดุอุปกรณและเครืองมือ ตลอดจนใหคําแนะนําและใหบริการดาน
                                  ่
สื่อการสอน สื่อกิจกรรม : ศึกษาคนควาเพือหาเทคโนโลยีหรือเทคนิคที่เหมาะสมกับ
                                        ่
การทําสื่อการเรียนการสอนเฉพาะวิชาหรือโดยทั่วไปใหทันสมัยและใชเทคโนโลยีที่
เหมาะสม ใหบริการอบรมการใชสื่อตาง ๆ เชน เครื่องมือโสตทัศนูปกรณ เครืองฉาย
                                                                       ่
วีดีโอขนาดใหญ โทรทัศนวงจรปด วีดีโอคอนฟเรนซ อินเตอรเน็ต เปนตน
ประสานงานดานการบริการสื่อการสอน ดูแล เก็บบํารุงรักษาอุปกรณและเครื่องมือ
ตาง ๆ ใหอยูในสภาพพรอมใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ
2




ลักษณะของงานที่ทา
                ํ

   1. ศึกษาคนควาเพื่อหาเทคโนโลยี หรือเทคนิคที่เหมาะสมกับการทําสื่อการเรียน
การสอนเฉพาะวิชาหรือโดยทั่วไป
   2. วางแผนการจัดทําสื่อการเรียนการสอน เพื่อใหเปนไปตามวัตถุประสงค
เฉพาะเรื่อง หรือโดยทั่วไป
   3. จัดหาวัสดุ อุปกรณ และเครื่องมือ เพื่อจัดทําสือการเรียนการสอนหรือจัด
                                                    ่
หาสื่อการสอน วัสดุการสอน รวมทังตําราเรียน เอกสารประกอบการสอนให
                              ้
เหมาะสมกับวิชาการนันๆ และใหทันสมัยอยูเสมอ
                   ้
   4. ผลิตนวัตกรรมในการใชสื่อจากวัตถุดิบในประเทศโดยใชเทคโนโลยีที่
เหมาะสม
   5. เปนศูนยกลางใหบริการการอบรมทางวิชาการโดยผาน หรือใชเครืองมือ
                                                                ่
โสตทัศนูปกรณ และหรือเครื่องฉายวิดีโอขนาดใหญ โทรทัศนวงจรปด วิดีโอคอน
ฟเรนซ และอินเตอรเน็ต
   6. เปนศูนยกลางประสานงานดานการบริการสื่อการสอนที่ตองใชเทคนิค และ
                                                       
เครื่องมือตางๆ ใหกับทุกคณะ
   7. อาจประสานงานกับศูนยสารสนเทศเพื่อการจัดการ และศูนยสนเทศเพื่อการ
ศึกษาของมหาวิทยาลัย หรือสถาบันการศึกษาอื่นๆ
   8. จัดทําโฮมเพจ และปรับปรุงใหทันสมัยอยูเสมอ เพื่อใหเขาถึงขอมูลได
สะดวก
   9. ดูแล บริการ เก็บบํารุงรักษา อุปกรณ และเครื่องมือตางๆ ใหอยูในสภาพที่
ใชงานไดดี และพรอมในการใชงานไดเสมอ
3




สภาพการจางงาน

      ผูปฏิบัติงานอาชีพนี้ปฏิบัติงานอยูในมหาวิทยาลัย และสถาบันการศึกษาของ
ทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน ถาปฏิบตงานอยูในมหาวิทยาลัย หรือสถาบันการศึกษา
                              ั ิ
ของรัฐจะไดรับคาตอบแทนการทํางานเปนเงินเดือนตามวุฒิการศึกษา และ
ประสบการณ ตามอัตราที่ไดกําหนดไวพรอมดวยสวัสดิการและผลประโยชนอยางอืน
                                                                        ่
ตามระเบียบของทางราชการ           สวนมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาภาคเอกชน
อาจไดรับเดือนละประมาณ 7,000 - 8,000 บาท มีสวัสดิการ และผลประโยชนพิเศษ
อยางอื่นตามระเบียบทีกําหนดขึ้นโดยมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษา
                     ่
นั้นๆ ผูปฏิบัติงานอาชีพนี้ทํางานสัปดาหละ 40 ชั่วโมง ถาทํางานลวงเวลาจะไดรับ
คาตอบแทนเปนเงินคาลวงเวลาตามอัตราที่กําหนด


สภาพการทํางาน

      ผูที่ปฏิบัติงานอาชีพนี้   ปฏิบัติงานอยูในศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา และ
อาจตองบริหารงานในสํานักงานหลายแหงในหนึ่งองคกรที่ใชบริหารการจัดสง
สัญญาณผานอินเตอรเน็ตในการสอน หรืออบรมทางวิชาการระบบทางไกลไปยัง
มหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาในตางจังหวัด หรือแพรภาพและเสียงทาง
โทรทัศน และวิทยุ หรือไปตางประเทศ เชน การสัมมนา แบบเทเลคอนเฟอเรนซ
และอาจตองดูแลหองประชุมที่สามารถจัดฉายวิดีโอขนาดจอภาพใหญที่จผูชมไดมาก
                                                              ุ
4




คุณสมบัติของผูประกอบอาชีพ

ผูประกอบอาชีพนี้ ควรมีคุณสมบัติดังนี้
   1. สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร สาขา
      เทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร ระบบสารสนเทศ
      เพื่อการจัดการ
   2. มีความสามารถจัดหาไมโครคอมพิวเตอร ฮารดแวร และซอฟทแวร
      ตลอดจนสามารถควบคุม และเขาใจการติดตั้งโปรแกรมระบบเครืองได
                                                           ่
   3. มีความรูเกี่ยวกับการใชเทคโนโลยีชวยสื่อสารในการสอน เชน การติดตั้งใช
      อินเตอรเน็ตได
   4. มีความรู และทักษะในการผลิต และการใชอุปกรณสื่อการสอน
   5. มีความรูและทักษะในการใชอุปกรณมัลติพรีเซนเทชั่น การใชดีวีดี วิดีโอ และ
      การใชจอแอลซีดีขนาดใหญ รวมทั้งโสตทัศนูปกรณแบบตางๆ ได
   6. มีมนุษยสัมพันธที่ดี มีความสามารถในการทํางานเปนทีม
   7. มีความเขาใจในภาษาอังกฤษ
   8. มีความสนใจ และติดตามในเรื่องของการใชเทคโนโลยีใหมๆ อยูเสมอ


      ผูที่จะประกอบอาชีพนี้ ควรเตรียมความพรอมดังนีคือ : เปนผูจบ
                                                    ้
การศึกษาชันมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6)สายวิทย-คณิต หรือศิลปคํานวณตามหลักสูตร
          ้
ของกระทรวงศึกษาธิการ (บางมหาวิทยาลัยอาจไมรับผูจบปวช. ปวท. และปวส.) และ
ตองมีผลลการเรียนภาษาอังกฤษไมตากวา 6-12 หนวยกิต จึงจะสมัครสอบคัดเลือกเขา
                               ่ํ
ศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระดับปริญญาตรีในคณะวิทยาศาสตร สาขาวิชาการ
5


คอมพิวเตอรสาขาวิชาการสารสนเทศ (วิทย) สํานักวิชาสารสนเทศศาสตร สาขาระบบ
สารสนเทศ หรือการจัดการ


โอกาสในการมีงานทํา

       ปจจุบนนวัตกรรมทางเทคโนโลยีทําใหโลกแคบเขา และเล็กลง โดยเฉพาะอยาง
             ั
ยิ่งมีบทบาทมากในการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย หรืออุดมศึกษา เพราะผูเรียนในระดับ
นี้ที่อยูในประเทศไทยสามารถรวมฟง ติดตอสอบถาม         หรือแลกเปลี่ยนความรูกับ
                                                                            
อาจารยมหาวิทยาลัยในตางประเทศที่มีการใหความรวมมือชวยเหลือกันทางดาน
การศึกษา และแลกเปลี่ยนการเรียนการสอน กับมหาวิทยาลัยที่ตนเองเขารับการศึกษา
ดังนั้น มหาวิทยาลัย และสถาบันการศึกษาตางก็ตระหนักในความสําคัญของการ
จัดตั้งศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา (Center of      Educational Technology) เพื่อทํา
หนาที่เปนศูนยกลางบริการใหแกนกเรียน
                                 ั            นักศึกษาทุกระดับ และอาจเปดกวาง
ใหกับนักศึกษาทั้งในและนอกประเทศรวมทั้งอาจารย ไดรับขอมูลขาวสารอันจําเปนใน
ดานการศึกษา เพื่อการศึกษาคนควาเอกสาร เพื่อประกอบการเรียนการสอน และการ
จัดทําตําราเรียนโดยการเชื่อมตอกับเครือขายศูนยบริการเทคโนโลยี
สารสนเทศ หรือระบบสารสนเทศของมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษานั้นๆ ทําให
การเขาถึงความรูตางๆทัวโลก เปนไปดวยความสะดวกรวดเร็ว
                      ่

       ดังนั้นนักเทคโนโลยีทางการศึกษา จึงเปนที่ตองการของตลาดแรงงานในระดับ
                                                 
ปานกลางถึงมาก
6


โอกาสความกาวหนาในอาชีพ

      ผูปฏิบัติงานอาชีพนี้ในมหาวิทยาลัยหรือสถานศึกษาภาครัฐ จะไดรับการ
เลื่อนขั้น เลื่อนชั้นและเลื่อนตําแหนง ตามความสามารถ และการศึกษาเพิ่มเติม
อาจไดรับเลื่อนตําแหนงถึงระดับรองผูอํานวยการ สําหรับในมหาวิทยาลัยหรือ
สถาบันการศึกษาภาคเอกชนอาจไดรับการเลื่อนชั้นเลื่อนตําแหนงตามโครงสราง
ขององคกรขึ้นอยูกับความสามารถและวุฒิการศึกษาเชนกัน


อาชีพที่เกี่ยวเนื่อง

      ครู-อาจารยพิเศษ วิศวกรโทรคมนาคม วิศวกรคอมพิวเตอร ผูจัดการ
สารสนเทศ ผูประกอบธุรกิจสวนตัวเกี่ยวกับการใหบริการการอบรมในการใช
เทคโนโลยีที่ทันสมัยในการทําสื่อการเรียนการสอนหรือเปนตัวแทนการขาย
เทคโนโลยีสื่อการสอน


แหลงขอมูลอื่นๆ

      หนังสือพิมพ เว็บไซตบริการจัดหางาน
      เว็บไซตของทบวงมหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษา
      การจัดประเภทมาตรฐานอาชีพ (ประเทศไทย)

More Related Content

What's hot

NSTDA Educational Technology : R&D
NSTDA Educational Technology : R&DNSTDA Educational Technology : R&D
NSTDA Educational Technology : R&DBoonlert Aroonpiboon
 
Chapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for educationChapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for educationChangnoi Etc
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6oraya-s
 
ท พวรรณ
ท พวรรณท พวรรณ
ท พวรรณSchool
 
ไตร่ตรองงานวิจัยของฉัน
ไตร่ตรองงานวิจัยของฉันไตร่ตรองงานวิจัยของฉัน
ไตร่ตรองงานวิจัยของฉันKhunkrunuch
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5oraya-s
 
04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learning
04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learning04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learning
04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learningPrachoom Rangkasikorn
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Kanatip Sriwarom
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)pimmeesri
 
นำเสนอ Aec
นำเสนอ Aecนำเสนอ Aec
นำเสนอ Aeccomputerta
 
LearnSquare Administrator
LearnSquare AdministratorLearnSquare Administrator
LearnSquare AdministratorNECTEC, NSTDA
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารKanlayanee Thongthab
 

What's hot (19)

NSTDA Educational Technology : R&D
NSTDA Educational Technology : R&DNSTDA Educational Technology : R&D
NSTDA Educational Technology : R&D
 
Chapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for educationChapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for education
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6
 
ท พวรรณ
ท พวรรณท พวรรณ
ท พวรรณ
 
Learnsquare manual
Learnsquare manualLearnsquare manual
Learnsquare manual
 
ไตร่ตรองงานวิจัยของฉัน
ไตร่ตรองงานวิจัยของฉันไตร่ตรองงานวิจัยของฉัน
ไตร่ตรองงานวิจัยของฉัน
 
Present สล
Present สลPresent สล
Present สล
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 7ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 7
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
 
04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learning
04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learning04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learning
04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learning
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
ICT for Education
ICT for EducationICT for Education
ICT for Education
 
Ch5 e-learning
Ch5 e-learningCh5 e-learning
Ch5 e-learning
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
 
นำเสนอ Aec
นำเสนอ Aecนำเสนอ Aec
นำเสนอ Aec
 
LearnSquare Administrator
LearnSquare AdministratorLearnSquare Administrator
LearnSquare Administrator
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
 
3
33
3
 

Similar to 17[1]

สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์jeabjeabloei
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานMintra Pudprom
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานKaRn Tik Tok
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานSoldic Kalayanee
 
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาNatnicha Nuanlaong
 
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาNatnicha Nuanlaong
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”Justice MengKing
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
ใบความรู้แผนที่ 2
ใบความรู้แผนที่  2ใบความรู้แผนที่  2
ใบความรู้แผนที่ 2Warakon Phommanee
 
ใบงาน 2 คอม
ใบงาน 2 คอมใบงาน 2 คอม
ใบงาน 2 คอมNaCk Wanasanan
 
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2Singto Theethat
 

Similar to 17[1] (20)

Email system
Email systemEmail system
Email system
 
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
 
07
0707
07
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
 
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
จุดเน้นที่ 6
จุดเน้นที่ 6จุดเน้นที่ 6
จุดเน้นที่ 6
 
ใบความรู้แผนที่ 2
ใบความรู้แผนที่  2ใบความรู้แผนที่  2
ใบความรู้แผนที่ 2
 
ใบงาน 2 คอม
ใบงาน 2 คอมใบงาน 2 คอม
ใบงาน 2 คอม
 
07
0707
07
 
07
0707
07
 
20141105 social-edu
20141105 social-edu20141105 social-edu
20141105 social-edu
 
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
07
0707
07
 
K2
K2K2
K2
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 

17[1]

  • 1. นักเทคโนโลยีทางการศึกษา ชื่ออาชีพ นักเทคโนโลยีทางการศึกษา Education Technologist รหัสอาชีพ 2351.40 (TSCO) นิยามอาชีพ วางแผน จัดหาเทคโนโลยี และเทคนิคที่เหมาะสมตอการทําสื่อการสอน จัดทําและเตรียมวัสดุอุปกรณและเครืองมือ ตลอดจนใหคําแนะนําและใหบริการดาน ่ สื่อการสอน สื่อกิจกรรม : ศึกษาคนควาเพือหาเทคโนโลยีหรือเทคนิคที่เหมาะสมกับ ่ การทําสื่อการเรียนการสอนเฉพาะวิชาหรือโดยทั่วไปใหทันสมัยและใชเทคโนโลยีที่ เหมาะสม ใหบริการอบรมการใชสื่อตาง ๆ เชน เครื่องมือโสตทัศนูปกรณ เครืองฉาย ่ วีดีโอขนาดใหญ โทรทัศนวงจรปด วีดีโอคอนฟเรนซ อินเตอรเน็ต เปนตน ประสานงานดานการบริการสื่อการสอน ดูแล เก็บบํารุงรักษาอุปกรณและเครื่องมือ ตาง ๆ ใหอยูในสภาพพรอมใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ
  • 2. 2 ลักษณะของงานที่ทา ํ 1. ศึกษาคนควาเพื่อหาเทคโนโลยี หรือเทคนิคที่เหมาะสมกับการทําสื่อการเรียน การสอนเฉพาะวิชาหรือโดยทั่วไป 2. วางแผนการจัดทําสื่อการเรียนการสอน เพื่อใหเปนไปตามวัตถุประสงค เฉพาะเรื่อง หรือโดยทั่วไป 3. จัดหาวัสดุ อุปกรณ และเครื่องมือ เพื่อจัดทําสือการเรียนการสอนหรือจัด ่ หาสื่อการสอน วัสดุการสอน รวมทังตําราเรียน เอกสารประกอบการสอนให ้ เหมาะสมกับวิชาการนันๆ และใหทันสมัยอยูเสมอ ้ 4. ผลิตนวัตกรรมในการใชสื่อจากวัตถุดิบในประเทศโดยใชเทคโนโลยีที่ เหมาะสม 5. เปนศูนยกลางใหบริการการอบรมทางวิชาการโดยผาน หรือใชเครืองมือ ่ โสตทัศนูปกรณ และหรือเครื่องฉายวิดีโอขนาดใหญ โทรทัศนวงจรปด วิดีโอคอน ฟเรนซ และอินเตอรเน็ต 6. เปนศูนยกลางประสานงานดานการบริการสื่อการสอนที่ตองใชเทคนิค และ  เครื่องมือตางๆ ใหกับทุกคณะ 7. อาจประสานงานกับศูนยสารสนเทศเพื่อการจัดการ และศูนยสนเทศเพื่อการ ศึกษาของมหาวิทยาลัย หรือสถาบันการศึกษาอื่นๆ 8. จัดทําโฮมเพจ และปรับปรุงใหทันสมัยอยูเสมอ เพื่อใหเขาถึงขอมูลได สะดวก 9. ดูแล บริการ เก็บบํารุงรักษา อุปกรณ และเครื่องมือตางๆ ใหอยูในสภาพที่ ใชงานไดดี และพรอมในการใชงานไดเสมอ
  • 3. 3 สภาพการจางงาน ผูปฏิบัติงานอาชีพนี้ปฏิบัติงานอยูในมหาวิทยาลัย และสถาบันการศึกษาของ ทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน ถาปฏิบตงานอยูในมหาวิทยาลัย หรือสถาบันการศึกษา ั ิ ของรัฐจะไดรับคาตอบแทนการทํางานเปนเงินเดือนตามวุฒิการศึกษา และ ประสบการณ ตามอัตราที่ไดกําหนดไวพรอมดวยสวัสดิการและผลประโยชนอยางอืน ่ ตามระเบียบของทางราชการ สวนมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาภาคเอกชน อาจไดรับเดือนละประมาณ 7,000 - 8,000 บาท มีสวัสดิการ และผลประโยชนพิเศษ อยางอื่นตามระเบียบทีกําหนดขึ้นโดยมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษา ่ นั้นๆ ผูปฏิบัติงานอาชีพนี้ทํางานสัปดาหละ 40 ชั่วโมง ถาทํางานลวงเวลาจะไดรับ คาตอบแทนเปนเงินคาลวงเวลาตามอัตราที่กําหนด สภาพการทํางาน ผูที่ปฏิบัติงานอาชีพนี้ ปฏิบัติงานอยูในศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา และ อาจตองบริหารงานในสํานักงานหลายแหงในหนึ่งองคกรที่ใชบริหารการจัดสง สัญญาณผานอินเตอรเน็ตในการสอน หรืออบรมทางวิชาการระบบทางไกลไปยัง มหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาในตางจังหวัด หรือแพรภาพและเสียงทาง โทรทัศน และวิทยุ หรือไปตางประเทศ เชน การสัมมนา แบบเทเลคอนเฟอเรนซ และอาจตองดูแลหองประชุมที่สามารถจัดฉายวิดีโอขนาดจอภาพใหญที่จผูชมไดมาก ุ
  • 4. 4 คุณสมบัติของผูประกอบอาชีพ ผูประกอบอาชีพนี้ ควรมีคุณสมบัติดังนี้ 1. สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร สาขา เทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ 2. มีความสามารถจัดหาไมโครคอมพิวเตอร ฮารดแวร และซอฟทแวร ตลอดจนสามารถควบคุม และเขาใจการติดตั้งโปรแกรมระบบเครืองได ่ 3. มีความรูเกี่ยวกับการใชเทคโนโลยีชวยสื่อสารในการสอน เชน การติดตั้งใช อินเตอรเน็ตได 4. มีความรู และทักษะในการผลิต และการใชอุปกรณสื่อการสอน 5. มีความรูและทักษะในการใชอุปกรณมัลติพรีเซนเทชั่น การใชดีวีดี วิดีโอ และ การใชจอแอลซีดีขนาดใหญ รวมทั้งโสตทัศนูปกรณแบบตางๆ ได 6. มีมนุษยสัมพันธที่ดี มีความสามารถในการทํางานเปนทีม 7. มีความเขาใจในภาษาอังกฤษ 8. มีความสนใจ และติดตามในเรื่องของการใชเทคโนโลยีใหมๆ อยูเสมอ ผูที่จะประกอบอาชีพนี้ ควรเตรียมความพรอมดังนีคือ : เปนผูจบ ้ การศึกษาชันมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6)สายวิทย-คณิต หรือศิลปคํานวณตามหลักสูตร ้ ของกระทรวงศึกษาธิการ (บางมหาวิทยาลัยอาจไมรับผูจบปวช. ปวท. และปวส.) และ ตองมีผลลการเรียนภาษาอังกฤษไมตากวา 6-12 หนวยกิต จึงจะสมัครสอบคัดเลือกเขา ่ํ ศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระดับปริญญาตรีในคณะวิทยาศาสตร สาขาวิชาการ
  • 5. 5 คอมพิวเตอรสาขาวิชาการสารสนเทศ (วิทย) สํานักวิชาสารสนเทศศาสตร สาขาระบบ สารสนเทศ หรือการจัดการ โอกาสในการมีงานทํา ปจจุบนนวัตกรรมทางเทคโนโลยีทําใหโลกแคบเขา และเล็กลง โดยเฉพาะอยาง ั ยิ่งมีบทบาทมากในการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย หรืออุดมศึกษา เพราะผูเรียนในระดับ นี้ที่อยูในประเทศไทยสามารถรวมฟง ติดตอสอบถาม หรือแลกเปลี่ยนความรูกับ  อาจารยมหาวิทยาลัยในตางประเทศที่มีการใหความรวมมือชวยเหลือกันทางดาน การศึกษา และแลกเปลี่ยนการเรียนการสอน กับมหาวิทยาลัยที่ตนเองเขารับการศึกษา ดังนั้น มหาวิทยาลัย และสถาบันการศึกษาตางก็ตระหนักในความสําคัญของการ จัดตั้งศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา (Center of Educational Technology) เพื่อทํา หนาที่เปนศูนยกลางบริการใหแกนกเรียน ั นักศึกษาทุกระดับ และอาจเปดกวาง ใหกับนักศึกษาทั้งในและนอกประเทศรวมทั้งอาจารย ไดรับขอมูลขาวสารอันจําเปนใน ดานการศึกษา เพื่อการศึกษาคนควาเอกสาร เพื่อประกอบการเรียนการสอน และการ จัดทําตําราเรียนโดยการเชื่อมตอกับเครือขายศูนยบริการเทคโนโลยี สารสนเทศ หรือระบบสารสนเทศของมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษานั้นๆ ทําให การเขาถึงความรูตางๆทัวโลก เปนไปดวยความสะดวกรวดเร็ว  ่ ดังนั้นนักเทคโนโลยีทางการศึกษา จึงเปนที่ตองการของตลาดแรงงานในระดับ  ปานกลางถึงมาก
  • 6. 6 โอกาสความกาวหนาในอาชีพ ผูปฏิบัติงานอาชีพนี้ในมหาวิทยาลัยหรือสถานศึกษาภาครัฐ จะไดรับการ เลื่อนขั้น เลื่อนชั้นและเลื่อนตําแหนง ตามความสามารถ และการศึกษาเพิ่มเติม อาจไดรับเลื่อนตําแหนงถึงระดับรองผูอํานวยการ สําหรับในมหาวิทยาลัยหรือ สถาบันการศึกษาภาคเอกชนอาจไดรับการเลื่อนชั้นเลื่อนตําแหนงตามโครงสราง ขององคกรขึ้นอยูกับความสามารถและวุฒิการศึกษาเชนกัน อาชีพที่เกี่ยวเนื่อง ครู-อาจารยพิเศษ วิศวกรโทรคมนาคม วิศวกรคอมพิวเตอร ผูจัดการ สารสนเทศ ผูประกอบธุรกิจสวนตัวเกี่ยวกับการใหบริการการอบรมในการใช เทคโนโลยีที่ทันสมัยในการทําสื่อการเรียนการสอนหรือเปนตัวแทนการขาย เทคโนโลยีสื่อการสอน แหลงขอมูลอื่นๆ หนังสือพิมพ เว็บไซตบริการจัดหางาน เว็บไซตของทบวงมหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษา การจัดประเภทมาตรฐานอาชีพ (ประเทศไทย)