SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสาคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ 
---------------------------------------------------------------------------- 
ให้นัก เรีย น เปิ ด เค รื่อ ง ค อ ม พิว เต อ ร์ แ ล้ว ค้น ห า ค ว า ม ห ม า ย แ ล ะ ค ว า ม ส า คัญ 
ของโครงงานจากแหล่งข้อมูล (ห้องสมุด / อินเทอร์เน็ต) แล้วบันทึกลงกระดาษขนาด A4 
ที่เตรียมมาพร้อมเขียน แหล่งที่มา หรือ Address ของ website ที่นักเรียนค้นหาข้อมูลเหล่านั้นด้วย 
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ 
ความหมายของโครงงาน : โครงงาน (Project Approach) คือ กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ 
ผู้เรียนได้ทาการศึกษาค้นคว้าและฝึกปฏิบัติด้วยตนเองตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจ 
โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หรือกระบวนการอื่นๆ ไปใช้ในการศึกษาหาคาตอบ 
โ ด ย มีค รูผู้ส อ น ค อ ย ก ร ะ ตุ้น แ น ะ น า แ ล ะ ใ ห้ค า ป รึก ษ า แ ก่ผู้เรีย น อ ย่า ง ใ ก ล้ชิด 
ตั้ง แ ต่ก า ร เ ลือ ก หัว ข้อ ที่จ ะ ศึก ษ า ค้น ค ว้า ด า เ นิน ง า น ต า ม แ ผ น 
กา หนดขั้นตอนการดา เนินงานและการนา เสนอผลงาน ซึ่งอาจทา เป็นบุคคลหรือเป็นกลุ่มโครงงาน คือ 
ก าร ศึก ษ าค้น ค ว้าเกี่ย ว กับ สิ่ง ใ ด สิ่งห นึ่ง ห รือ ห ล าย ๆ สิ่งที่อ ย าก รู้ค า ต อ บ ให้ลึก ซึ้ง 
หรือเรียนรู้ในเรื่องนั้นๆให้มากขึ้น โดยใช้กระบวนการ วิธีการที่ศึกษาอย่างมีระบบ เป็นขั้นตอน 
มีก า ร ว า ง แ ผ น ใ น ก า ร ศึก ษ า อ ย่า ง ล ะ เอีย ด ป ฏิบัติง า น ต า ม แ ผ น ที่ว า ง ไ ว้ 
จนได้ข้อสรุปหรือผลสรุปที่เป็นคา ตอบในเรื่องนั้นๆ 
โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนสนใ 
จ โดยนักเรียนจะต้องวางแผนการดาเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง 
โ ด ย ใ ช้ ค ว า ม รู้ ก ร ะ บ ว น ก า ร ท า ง วิ ศ ว ก ร ร ม ซ อ ฟ ต์ แ ว ร์ 
เค รื่อ งค อ มพิวเต อ ร์แ ล ะวัส ดุอุป ก รณ์ต ล อด จน ทักษ ะพื้น ฐ าน ใน การพัฒ น าโค รงงาน 
เรื่อ ง ที่นัก เ รีย น ส น ใ จ แ ล ะ คิด จ ะ ท า โ ค ร ง ง า น ซึ่ง อ า จ มีผู้ศึก ษ า ม า ก่อ น 
ห รื อ เ ป็ น เ รื่ อ ง ที่ นั ก พั ฒ น า โ ป ร แ ก ร ม ไ ด้เ ค ย ค้น ค ว้า แ ล ะ พั ฒ น า แ ล้ว 
นักเรียน สาม ารถทาโครงงาน เรื่องดังกล่าวได้ แต่ต้องคิดดัดแปลงแนวทางใน การศึกษ า 
การวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนาโปรแกรม หรือศึกษาเพิ่มเติมจากผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้ 
จุดมุ่งหมายสา คัญของการทา โครงงานเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงในการใช้ร 
ะ บ บ ค อ ม พิว เต อ ร์แ ก้ปัญ ห า ป ร ะ ดิษ ฐ์คิด ค้น ห รือ ค้น ค ว้า ห า ค ว า ม รู้ต่า ง ๆ 
ใช้คอมพิวเตอร์ในการพัฒ นาสื่อการเรียนรู้เพื่อการศึกษา ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์
หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ตลอดจนการพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ 
เพื่อฝึกให้นักเรียนเป็นบุคคลที่ใฝ่เรียนใฝ่รู้ การพัฒนาความคิดใหม่ๆ ความมีคุณธรรมจริยธรรม 
เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ให้กับเพื่อนมนุษย์ และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีผลกระทบต่อความเจริญก้าวหน้าของทุก ๆ สังคมในโลกปัจจุบันนี้ 
เ ท ค โ น โ ล ยีด้า น นี้มีก า ร เ ป ลี่ย น แ ป ล ง อ ย่า ง ร ว ด เ ร็ว 
จึงเป็น เรื่อ งยากที่ป ร ะช าช น จ ะ ค อ ย ติด ต าม ค ว าม ก้าวห น้าอ ยู่ต ล อ ด เว ล าแ ล ะ เป็น สิ่ง 
ที่ ไ ม่ เ กิ ด ป ร ะ โ ย ช น์ คุ้ ม ค่ า อี ก ด้ ว ย 
ดังนั้นการศึกษาเทคโนโลยีของคอมพิวเตอร์จึงต้องศึกษาหลักการและเนื้อหาพื้น ฐานเป็นสาคัญ 
การศึกษาด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์เป็นสิ่งจาเป็นเสมือนกับการศึกษาวิทยา ศาสตร์ธรรมชาติ 
คอมพิวเตอร์ได้เปลี่ยนแปลงโลกของเราในด้านต่าง ๆ มากมายได้แก่ 
- สังคมโดยส่วนใหญ่เปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมเป็นสังคมสารสนเทศ 
- การตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ มักขึ้นอยู่กับข้อมูลซึ่งได้จากระบบคอมพิวเตอร์ 
- คอมพิวเตอร์กลายเป็นเครื่องมือที่สาคัญแทนเครื่องมืออื่น ๆ ในอดีต เช่น เครื่องพิมพ์ดีด 
เครื่องคิดเลข เป็นต้น 
- คอมพิวเตอร์ถูกใช้ในการออกแบบสถานการณ์หรือปัญหาที่ซับซ้อนต่าง ๆ 
- คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์หลักที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารของโลกปัจจุบัน 
ส รุ ป ค ว า ม ห ม า ย ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ : 
โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนสนใจ 
โดยนักเรียนจะต้องวางแผนการดาเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องหรือ 
กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ ผู้เรียนได้ทาการศึกษาค้นคว้าและฝึกปฏิบัติด้วยตนเองตามความสามารถ 
ความถนัด และความสนใจ โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ 
ปัจจุบันเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีผลกระทบต่อความเจริญก้าวหน้าของทุก ๆ สังคมในโลกปัจจุบันนี้ 
เ ท ค โ น โ ล ยีด้า น นี้มีก า ร เ ป ลี่ย น แ ป ล ง อ ย่า ง ร ว ด เ ร็ว 
จึงเป็น เรื่อ งยากที่ป ร ะ ช าช น จ ะ ค อ ยติด ต าม ค ว าม ก้าวห น้าอ ยู่ต ล อ ด เว ล าแ ล ะ เป็น สิ่ง 
ที่ ไ ม่ เ กิ ด ป ร ะ โ ย ช น์ คุ้ ม ค่ า 
ดังนั้นการศึกษาเทคโนโลยีของคอมพิวเตอร์จึงต้องศึกษาหลักการและเนื้อหาพื้น ฐานเป็นสา คัญ
ค ว า ม ส า คัญ ข อ ง ก า ร ท า โ ค ร ง ง า น ค อ ม พิว เต อ ร์ : โ ค ร ง ง า น ค อ ม พิว เต อ ร์ คือ 
ผลงานที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าตามความสนใจ ความถนัดและความสามารถของผู้เรียน 
โดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ โครงงานจึงเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีการเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 
โ ด ย ผู้เรีย น จ ะ ห า หัว ข้อ โ ค ร ง ง าน ที่ต น เอ ง ส น ใ จ ร ว ม ทั้ง เชื่อ ม โ ย ง ค ว า ม รู้ต่า ง ๆ 
แ ล ะ ค ว า ม รู้ ด้ า น ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ 
เ พื่ อ ส ร้ า ง ผ ล ง า น ต า ม ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ไ ด้ อ ย่ า ง เ ห ม า ะ ส ม 
โดยมีครูเป็นที่ปรึกษาและให้คา แนะนา ความสามารถที่เกิดจากการทา โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานค 
อมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่ทาให้ผู้เรียนเกิดความสามารถในด้านต่าง ๆ ที่สาคัญ 5 ประการ 
ดังนี้ 
1.ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถที่เกิดจากการที่นักเรียนเป็นผู้ทา โครงงานต้องนา เส 
นอผลงานให้ ครูและเพื่อนนักเรียนให้เข้าใจโครงงานคอม พิวเตอร์ได้อย่างชัดเจน ดังนั้น 
ผู้ทาโครงงานต้องสื่อสารความคิดในการสร้างสรรค์โครงงานด้วยการเขียน หรือด้วยปากเปล่า 
รว ม ทั้งเลือ ก ใช้รูป แบ บ ข อ งสื่อ อ ย่างมีป ร ะสิท ธิภ าพ เพื่อน าเส น อ แ น วคิด ใน ก าร จัด 
โครงงานให้ผู้อื่นได้เข้าใจ 
2.ความสามารถในการคิด ซึ่งผู้เรียนจะมีการคิดในลักษณะต่าง ๆ ดังนี้ 
- การคิดวิเคราะห์ เกิดจากการที่ผู้เรียนต้องวิเคราะห์ปัญหาและแยกแยะสาเหตุว่าเกิดเนื่องจากอะไร 
- ก า ร คิด สัง เค ร า ะ ห์ เกิด จ า ก ก า ร ที่ผู้เรีย น ต้อ ง น า ค ว า ม รู้ต่า ง ๆ ที่เรีย น ม า 
รวมทั้งความรู้จากการค้นหาข้อมูล เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาหรือการสร้างสรรค์โครงงาน 
- การคิดอย่างสร้างสรรค์ เกิดจากการที่ผู้เรียนนา ความรู้มาสร้างสรรค์ผลงานใหม่ ๆ 
- 
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ เกิดจากการที่ผู้เรียนได้มีการคิดไตร่ตรองว่าควรทา โครงงานใดและไม่ควรทา 
โค รง งาน ใด เนื่อ งจ าก โค รงงาน ที่ส ร้างขึ้น อ าจส่งผ ล ก ระท บ ต่อสังค ม โด ยรวม เช่น 
โครงงานระบบคานวณเลขหวย สาหรับหาเลขที่คาดว่าสลากกินแบ่งรัฐบาลจะออกในแต่ละงวด 
อาจส่งผลกระทบต่อสังคม ทา ให้คนในสังคมเกิดความหมกมุ่นในกับการใช้เงินเล่นหวยมากขึ้น 
- ก า ร คิด อ ย่า ง เป็น ร ะ บ บ เกิด จ า ก ก า ร ที่ผู้เรีย น คิด แ ก้ปัญ ห า อ ย่า ง เป็น ขั้น ต อ น 
โดยใช้ขั้นตอนในการพัฒนาโครงงาน คือ ผู้เรียนเป็นผู้วางแผนในการศึกษา ค้นคว้า เก็บรวบรวมข้อมูล 
พัฒนา หรือประดิษฐ์คิดค้นผลงาน รวมทั้งการสรุปผลและการนา เสนอผลการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง 
โดยมีผู้สอนและผู้ทรงคุณวุฒิเป็นผู้ให้คา ปรึกษา
3.ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร แ ก้ปัญ ห า เกิด จ า ก ก า ร ที่ผู้เรีย น วิเค ร า ะ ห์ปัญ ห า เข้า ใ จ 
แ ล ะ อ ธิบ า ย ปั ญ ห า ท า ง ด้า น ค อ ม พิว เต อ ร์ ร ว ม ทั้ง ป ร ะ ยุก ต์ค ว า ม รู้ ทัก ษ ะ 
และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา 
4.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เกิดจากการที่ผู้เรียนได้นาความรู้และกระบวนการต่าง ๆ 
ไปใช้ใน การพัฒ น าโครงงาน และนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ได้อย่างเหมาะสม 
รวมถึงการพัฒนาโครงงาน ก่อให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง อันนา ไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต 
5.ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เกิดจากการที่ผู้เรียนสามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใน 
การแก้ปัญหาได้ อย่างถูกต้องเหมาะสม และมีคุณธรรม 
พัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ตามขั้นตอนต่อไปนี้ 
คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ 
โดยทั่วไปเรื่องที่จะนามาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากปัญหา คาถาม 
หรือความสนใจในเรื่องต่างๆ จากการสังเกตสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ 
รอบตัว ปัญหาที่จะนา มาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ได้จากแหล่งต่างๆ กัน ดังนี้ 
1. การอ่านค้นคว้าจากหนังสือ เอกสาร หนังสือพิมพ์ หรือวารสารต่างๆ 
2. การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ 
3. การฟังบรรยายทางวิชาการ รายการวิทยุและโทรทัศน์ 
รวมทั้งการสนทนาอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างเพื่อนนักเรียนหรือกับบุคคลอื่นๆ 
4. กิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน 
5. งานอดิเรกของนักเรียน 
6. การเข้าชมงานนิทรรศการหรืองานประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์ 
ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนา มาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ควรพิจารณาองค์ประกอบสา คัญ 
ดังนี้
1. ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา 
2. สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องได้ 
3. มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคา ปรึกษา 
4. มีเวลาเพียงพอ 
5. มีงบประมาณเพียงพอ 
6. มีความปลอดภัย 
ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล 
การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอคา ปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 
จะช่วยให้นักเรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกา หนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น 
รวมทั้งได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดา เนินการทา โครงงานนั้ 
นได้อย่างเหมาะสม ในการศึกษาจะต้องได้คา ตอบว่า 
1. จะทา อะไร 
2. ทา ไมต้องทา 
3. ต้องการให้เกิดอะไร 
4. ทา อย่างไร 
5. ใช้ทรัพยากรอะไร 
6. ทา กับใคร 
7. เสนอผลอย่างไร 
องค์ประกอบของเค้าโครงของโครงงาน 
รายงาน รายละเอียดที่ต้องระบุ 
ชื่อโครงงาน ทา อะไร กับใคร เพื่ออะไร 
ประเภทโครงงาน วิเคราะห์จากลักษณะของประโยชน์หรือผลงานที่ได้ 
ชื่อผู้จัดทา โครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน อาจเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มก็ได้ 
ครูที่ปรึกษาโครงงาน ครู-อาจารย์ผู้ทา หน้าที่เป็นที่ปรึกษา
และควบคุมการทา โครงงานของนักเรียน 
ครูที่ปรึกษาร่วม 
ครู-อาจารย์ผู้ทา หน้าที่เป็นที่ปรึกษาร่วม 
ให้คา แนะนา ในการทา โครงงานของนักเรียน 
ระยะเวลาดา เนินงาน 
ระยะเวลาการดา เนินงานโครงงาน ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด กา หนดเป็นวัน 
หรือ เดือนก็ได้ 
แนวคิด ที่มา 
และความสาคัญ 
สภาพปัจจุบันที่เป็นความต้องการและความคาดหวังที่จะเกิดผล 
วัตถุประสงค์ 
สิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดโครงงานทั้งในเชิงกระบวนการ 
และผลผลิต 
หลักการและทฤษฎี หลักการและทฤษฎีที่นา มาใช้ในการพัฒนาโครงงาน 
วิธีดา เนินงาน 
กิจกรรมหรือขั้นตอนการดา เนินงาน เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ งบประมาณ 
และผู้รับผิดชอบ 
ขั้นตอนการปฏิบัติ วัน เวลา และกิจกรรมดา เนินการต่างๆ ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด 
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 
สภาพของผลที่ต้องการให้เกิด ทั้งที่เป็นผลผลิต กระบวนการ 
และผลกระทบ 
เอกสารอ้างอิง สื่อเอกสาร ข้อมูลที่ได้จากแหล่งต่างๆ ที่นา มาใช้ในการดา เนินงาน 
การลงมือทาโครงงาน 
เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว 
ก็เสมือนว่าการจัดทา โครงงานได้ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่าครึ่ง 
ขั้นตอนต่อไปจะเป็นการลงมือพัฒนาตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ ดังนี้ 
4.1 การเตรียมการ 
ก า ร เต รีย ม ก า ร ต้อ ง เต รีย ม เค รื่ อ ง ค อ ม พิว เต อ ร์ ซ อ ฟ ต์แ ว ร์ แ ล ะ วัส ดุอื่น ๆ 
ที่ จ ะ ใ ช้ ใ น ก า ร พั ฒ น า ใ ห้ พ ร้ อ ม ด้ ว ย 
แ ล ะ ค ว ร เต รียม ส มุด บัน ทึก ห รือ บัน ทึก เป็น แ ฟ้ ม ข้อ ค ว าม ไ ว้ใน ร ะ บ บ ค อ ม พิว เต อ ร์
สาหรับบันทึกการทากิจกรรมต่างๆ ระหว่างทาโครงงาน ได้แก่ ได้ปฏิบัติอย่างไร ได้ผลอย่างไร 
มีปัญหาและแก้ไขได้หรือไม่อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่างๆ ที่พบ 
4.2 การลงมือพัฒนา 
1. ปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ในเค้าโครง 
แต่อาจเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมได้ถ้าพบว่าจะช่วยทา ให้ผลงานดีขึ้น 
2. จัดระบบการทา งานโดยทา ส่วนที่เป็นหลักสา คัญๆ ให้แล้วเสร็จก่อน จึงค่อยทา 
ส่วนที่เป็นส่วนประกอบหรือส่วนเสริมเพื่อให้โครงงานมีความสมบูรณ์มากขึ้น 
และถ้ามีการแบ่งงานกันทา ให้ตกลงรายละเอียดในการต่อเชื่อมชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย 
3. พัฒนาระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบ และบันทึกข้อมูลไว้อย่างเป็นระบบและครบถ้วน 
4.3 การทดสอบผลงานและแก้ไข 
การตรวจสอบความถูกต้องของผลงาน 
เป็นความจา เป็นเพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้นทา งานได้ถูกต้องตรงกับความต้องการ 
ที่ระบุไว้ในเป้าหมายและทา ด้วยประสิทธิภาพสูงด้วย 
4.4 การอภิปรายและข้อเสนอแนะ 
เมื่อพัฒนาผลงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทา สรุปด้วยข้อความที่สั้นกะทัดรัดอย่างครอบคลุม 
เพื่อช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงสิ่งที่ค้นพบจากการทา โครงงาน และทา การอภิปรายผลด้วย 
เพื่อพิจารณาข้อมูลและผลที่ได้ พร้อมกับนา ไปหาความสัมพันธ์กับหลักการ ทฤษฎี 
หรือผลงานที่ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว ทั้งนี้ยังรวมถึงการนา หลักการ ทฤษฎี 
หรือผลงานของผู้อื่นมาใช้ประกอบการอภิปรายผลที่ได้ด้วย 
4.5 แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ 
เมื่อทา โครงงานเสร็จสิ้นลงแล้ว นักเรียนอาจพบข้อสังเกต ประเด็นที่สา คัญ หรือปัญหา 
ซึ่งสามารถเขียนเป็นข้อเสนอแนะและสิ่งที่ควรจะศึกษาและหรือใช้ประโยชน์ต่อไปได้ 
การเขียนรายงาน
ก า ร เขีย น ร า ย ง า น เป็ น วิธีก า ร สื่ อ ค ว า ม ห ม า ย เพื่อ ใ ห้ผู้อื่น ไ ด้เข้า ใ จ แ น ว คิด 
วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับโครงงานนั้น 
ใน การเขียน รายงาน นักเรียน ควรใช้ภ าษ าที่อ่าน ง่าย ชัดเจน กระชับ และตรงไป ตรงม า 
ให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆเหล่านี้ 
5.1 ส่วนนา 
ส่วนนา เป็นการให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานนั้นซึ่งประกอบด้วย 
1. ชื่อโครงงาน 
2. ชื่อผู้ทา โครงงาน 
3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 
4. คา ขอบคุณ เป็นคา กล่าวขอบคุณบุคคลหรือหน่วยงาน ที่มีส่วนช่วยทา ให้โครงงานสา เร็จ 
5. บทคัดย่อ อธิบายถึงที่มา ความสา คัญ วัตถุประสงค์ วิธีดา เนินการ และผลที่ได้โดยย่อ 
5.2 บทนา 
บทนา เป็นส่วนรายละเอียดของเนื้อหาของโครงงานซึ่งประกอบด้วย 
1. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 
2. เป้าหมายของการศึกษาค้นคว้า 
3. ขอบเขตของโครงงาน 
5.3 หลักการและทฤษฎี 
หลักการและทฤษฎี เป็นส่วนสรุปข้อมูลที่ได้จากการศึกษาหาข้อมูลหรือหลักการ ทฤษฎี 
หรือวิธีการที่จะนา มาใช้ในการพัฒนาโครงงาน 
ซึ่งรวมถึงการระบุผลงานของผู้อื่นที่นักเรียนนา มาเปรียบเทียบหรือพัฒนาเพิ่มเติมด้วย 
5.4 วิธีดาเนินการ 
วิธีดา เนินการ อธิบายขั้นตอนการดา เนินงานโดยละเอียด 
พร้อมทั้งระบุปัญหาหรืออุปสรรคที่พบพร้อมทั้งวิธีการที่ใช้แก้ไข 
พร้อมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการทา งาน
5.5 ผลการศึกษา 
ผลการศึกษา นา เสนอข้อมูลหรือระบบที่พัฒนาได้ โดยอาจแสดงเป็นตาราง หรือ กราฟ 
หรือข้อความ ทั้งนี้ให้คา นึงถึงความเข้าใจของผู้อ่านเป็นหลัก 
5.6 สรุปผลและข้อเสนอแนะ 
สรุปผลและข้อเสนอแนะ อธิบายผลสรุปที่ได้จากการทา งาน 
ถ้ามีการตั้งสมมติฐานควรระบุด้วยว่าข้อมูลที่ได้สนับสนุนหรือคัดค้านสมมติฐานที่ตั้งไว้หรือยังสรุปไม่ 
ได้ นอกจากนั้นยังควรกล่าวถึงการนา ผลการทดลองหรือพัฒนาไปใช้ประโยชน์ 
อุปสรรคของการทา โครงงาน หรือข้อสังเกตที่สา คัญ หรือข้อผิดพลาดบางประการที่เกิดขึ้นจากการทา 
โครงงานนี้ 
รวมทั้งข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขหากจะมีผู้ศึกษาค้นคว้าในเรื่องทา นองนี้ต่อไปในอนาคตด้วย 
5.7 ประโยชน์ 
ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน ระบุประโยชน์ที่นักเรียนได้รับจากการพัฒนาโครงงานนั้น 
และประโยชน์ที่ผู้ใช้จะได้รับจากการนา ผลงานของโครงงานไปใช้ด้วย 
5.8 บรรณานุกรม 
บรรณานุกรม รวบรวมรายชื่อหนังสือ วารสาร เอกสาร หรือเว็บไซด์ต่างๆ ที่ผู้ทา 
โครงงานใช้ค้นคว้า หรืออ่านเพื่อศึกษาข้อมูลและรายละเอียดต่างๆ ที่นา มาใช้ประโยชน์ในการทา 
โครงงานนี้การเขียนเอกสารบรรณานุกรมต้องให้ถูกต้องตามหลักการเขียนด้วย 
5.9 การจัดทา คู่มือการใช้งาน 
หาโครงงานที่นักเรียนจัดทา เป็นการพัฒนาระบบใหม่ขึ้นมา 
ให้นักเรียนจัดทา คู่มืออธิบายวิธีการใช้ผลงานนั้นโดยละเอียด ซึ่งประกอบด้วย 
1. ชื่อผลงาน 
2. ความต้องการของระบบคอมพิวเตอร์ 
ระบุรายละเอียดของคอมพิวเตอร์ที่ต้องมีเพื่อจะใช้ผลงานนั้นได้ 
3. ความต้องการของซอฟต์แวร์ ระบุรายชื่อซอฟต์แวร์ที่ต้องมีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ 
เพื่อจะให้ผลงานนั้นทา งานได้อย่างสมบูรณ์
4. คุณลักษณะของผลงาน อธิบายว่าผลงานนั้นทา หน้าที่อะไรบ้าง 
รับอะไรเป็นข้อมูลขาเข้าและส่วนอะไรออกมาเป็นข้อมูลขาออก 
5. วิธีการใช้งานของแต่ละฟังก์ชัน อธิบายว่าจะต้องกดคา สั่งใด หรือกดปุ่มใด 
เพื่อให้ผลงานทา งานในฟังก์ชันหนึ่งๆ 
การนาเสนอและแสดงโครงงาน 
การนา เสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สา คัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทา โครงงาน 
เพื่อแสดงออกถึงผลิตผลความคิด ความพยายามในการทา งานที่ผู้ทา โครงงานได้ทุ่มเท 
และเป็นวิธีทา ให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้น การเสนอผลงานอาจทา ได้ในหลายรูปแบบต่างๆ 
กัน เช่น การแสดงผลงานโดยไม่มีการอธิบายประกอบการรายงานด้วยคา พูดในที่ประชุม 
การจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์และอธิบายด้วยคา พูด เป็นต้น 
โดยผลงานที่นา มาเสนอหรือจัดแสดงควรประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้ 
1. ชื่อโครงงาน 
2. ชื่อผู้จัดทา โครงงาน 
3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 
4. คา อธิบายถึงที่มาและความสา คัญของโครงงาน 
5. วิธีการดา เนินการที่สา คัญ 
6. การสาธิตผลงาน 
7. ผลการสังเกตและข้อสรุปสา คัญที่ได้จากการทา โครงงาน 
แหล่งที่มา : 
http://pnamboay.wordpress.com/category/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E 
0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E 
0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0 
%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E/ 
http://krudarin.wordpress.com/%E0%B8%95%E0%B8%81%E0%B9%81%E0%B8%95%E0%B9%88 
%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B9%87%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%9E%
E0%B8%88%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E 
0%B8%B2%E0%B8%9F%E0%B8%B4/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E 
0%B8%AA%E0%B8%B3%E0%B8%84%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%82%E0%B8%AD%E 
0%B8%87%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0 
%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1/ 
http://www.acr.ac.th/acr/ACR_E-Learning/ 
CAREER_COMPUTER/COMPUTER/M4/ComputerProject/content2.html 
จัดทาโดย 
นายพบพล สิริพรคุณ เลขที่ 10 
นายอนัส ดีหมัด เลขที่ 
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/9

More Related Content

What's hot

ครงงานคอมพิวเตอร์
ครงงานคอมพิวเตอร์ครงงานคอมพิวเตอร์
ครงงานคอมพิวเตอร์Mookmanee Paiopree
 
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาNatnicha Nuanlaong
 
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 

What's hot (8)

ครงงานคอมพิวเตอร์
ครงงานคอมพิวเตอร์ครงงานคอมพิวเตอร์
ครงงานคอมพิวเตอร์
 
K02
K02K02
K02
 
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
 
K2
K2K2
K2
 
ใบงาน 2
ใบงาน 2ใบงาน 2
ใบงาน 2
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

Viewers also liked

Activity 1 servio martin cuaical 181
Activity 1 servio martin cuaical  181Activity 1 servio martin cuaical  181
Activity 1 servio martin cuaical 181Servio Martin Cuaical
 
Powerpoint nop thi
Powerpoint nop thiPowerpoint nop thi
Powerpoint nop thichiasetl
 
Bare land condominiums - a legal perspective
Bare land condominiums - a legal perspectiveBare land condominiums - a legal perspective
Bare land condominiums - a legal perspectiveMarc Kelly
 
Changes to the Condominium Property Act and Regulations in Saskatchewan
Changes to the Condominium Property Act and Regulations in SaskatchewanChanges to the Condominium Property Act and Regulations in Saskatchewan
Changes to the Condominium Property Act and Regulations in SaskatchewanMarc Kelly
 
Entrevista familiar para diseñar una vivienda
Entrevista familiar para diseñar una viviendaEntrevista familiar para diseñar una vivienda
Entrevista familiar para diseñar una viviendaObed Cardenas Ortega
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงานSeew' Pobpon
 
National community presentation
National community presentationNational community presentation
National community presentationfamiliesusa
 
History of psy
History of psyHistory of psy
History of psykbolinsky
 

Viewers also liked (16)

Marketing mngmt
Marketing mngmtMarketing mngmt
Marketing mngmt
 
Activity 1 servio martin cuaical 181
Activity 1 servio martin cuaical  181Activity 1 servio martin cuaical  181
Activity 1 servio martin cuaical 181
 
K4
K4K4
K4
 
K4
K4K4
K4
 
Powerpoint nop thi
Powerpoint nop thiPowerpoint nop thi
Powerpoint nop thi
 
K3
K3K3
K3
 
K2
K2K2
K2
 
K3
K3K3
K3
 
K3
K3K3
K3
 
Bare land condominiums - a legal perspective
Bare land condominiums - a legal perspectiveBare land condominiums - a legal perspective
Bare land condominiums - a legal perspective
 
Changes to the Condominium Property Act and Regulations in Saskatchewan
Changes to the Condominium Property Act and Regulations in SaskatchewanChanges to the Condominium Property Act and Regulations in Saskatchewan
Changes to the Condominium Property Act and Regulations in Saskatchewan
 
Entrevista familiar para diseñar una vivienda
Entrevista familiar para diseñar una viviendaEntrevista familiar para diseñar una vivienda
Entrevista familiar para diseñar una vivienda
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงาน
 
National community presentation
National community presentationNational community presentation
National community presentation
 
History of psy
History of psyHistory of psy
History of psy
 
Partes de un Puente
Partes de un Puente Partes de un Puente
Partes de un Puente
 

Similar to K2

ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาNatnicha Nuanlaong
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)Noot Ting Tong
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)Noot Ting Tong
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)Noot Ting Tong
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)Noot Ting Tong
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)Noot Ting Tong
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานPompao
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานPoom Jotikasthira
 
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์Ekkachai Juneg
 
ใบงานท 4
ใบงานท   4ใบงานท   4
ใบงานท 4Winwin Nim
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมChorpaka Sarawat
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมChorpaka Sarawat
 

Similar to K2 (20)

งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
 
K02
K02K02
K02
 
K02
K02K02
K02
 
K02
K02K02
K02
 
K02
K02K02
K02
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
K02
K02K02
K02
 
02
0202
02
 
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานท 4
ใบงานท   4ใบงานท   4
ใบงานท 4
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 

More from Seew' Pobpon (9)

K5
K5K5
K5
 
K8
K8K8
K8
 
K7
K7K7
K7
 
K6
K6K6
K6
 
K5
K5K5
K5
 
K8
K8K8
K8
 
K7
K7K7
K7
 
K5
K5K5
K5
 
K6
K6K6
K6
 

K2

  • 1. ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสาคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ ---------------------------------------------------------------------------- ให้นัก เรีย น เปิ ด เค รื่อ ง ค อ ม พิว เต อ ร์ แ ล้ว ค้น ห า ค ว า ม ห ม า ย แ ล ะ ค ว า ม ส า คัญ ของโครงงานจากแหล่งข้อมูล (ห้องสมุด / อินเทอร์เน็ต) แล้วบันทึกลงกระดาษขนาด A4 ที่เตรียมมาพร้อมเขียน แหล่งที่มา หรือ Address ของ website ที่นักเรียนค้นหาข้อมูลเหล่านั้นด้วย ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ ความหมายของโครงงาน : โครงงาน (Project Approach) คือ กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ ผู้เรียนได้ทาการศึกษาค้นคว้าและฝึกปฏิบัติด้วยตนเองตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจ โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หรือกระบวนการอื่นๆ ไปใช้ในการศึกษาหาคาตอบ โ ด ย มีค รูผู้ส อ น ค อ ย ก ร ะ ตุ้น แ น ะ น า แ ล ะ ใ ห้ค า ป รึก ษ า แ ก่ผู้เรีย น อ ย่า ง ใ ก ล้ชิด ตั้ง แ ต่ก า ร เ ลือ ก หัว ข้อ ที่จ ะ ศึก ษ า ค้น ค ว้า ด า เ นิน ง า น ต า ม แ ผ น กา หนดขั้นตอนการดา เนินงานและการนา เสนอผลงาน ซึ่งอาจทา เป็นบุคคลหรือเป็นกลุ่มโครงงาน คือ ก าร ศึก ษ าค้น ค ว้าเกี่ย ว กับ สิ่ง ใ ด สิ่งห นึ่ง ห รือ ห ล าย ๆ สิ่งที่อ ย าก รู้ค า ต อ บ ให้ลึก ซึ้ง หรือเรียนรู้ในเรื่องนั้นๆให้มากขึ้น โดยใช้กระบวนการ วิธีการที่ศึกษาอย่างมีระบบ เป็นขั้นตอน มีก า ร ว า ง แ ผ น ใ น ก า ร ศึก ษ า อ ย่า ง ล ะ เอีย ด ป ฏิบัติง า น ต า ม แ ผ น ที่ว า ง ไ ว้ จนได้ข้อสรุปหรือผลสรุปที่เป็นคา ตอบในเรื่องนั้นๆ โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนสนใ จ โดยนักเรียนจะต้องวางแผนการดาเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง โ ด ย ใ ช้ ค ว า ม รู้ ก ร ะ บ ว น ก า ร ท า ง วิ ศ ว ก ร ร ม ซ อ ฟ ต์ แ ว ร์ เค รื่อ งค อ มพิวเต อ ร์แ ล ะวัส ดุอุป ก รณ์ต ล อด จน ทักษ ะพื้น ฐ าน ใน การพัฒ น าโค รงงาน เรื่อ ง ที่นัก เ รีย น ส น ใ จ แ ล ะ คิด จ ะ ท า โ ค ร ง ง า น ซึ่ง อ า จ มีผู้ศึก ษ า ม า ก่อ น ห รื อ เ ป็ น เ รื่ อ ง ที่ นั ก พั ฒ น า โ ป ร แ ก ร ม ไ ด้เ ค ย ค้น ค ว้า แ ล ะ พั ฒ น า แ ล้ว นักเรียน สาม ารถทาโครงงาน เรื่องดังกล่าวได้ แต่ต้องคิดดัดแปลงแนวทางใน การศึกษ า การวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนาโปรแกรม หรือศึกษาเพิ่มเติมจากผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้ จุดมุ่งหมายสา คัญของการทา โครงงานเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงในการใช้ร ะ บ บ ค อ ม พิว เต อ ร์แ ก้ปัญ ห า ป ร ะ ดิษ ฐ์คิด ค้น ห รือ ค้น ค ว้า ห า ค ว า ม รู้ต่า ง ๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการพัฒ นาสื่อการเรียนรู้เพื่อการศึกษา ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์
  • 2. หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ตลอดจนการพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ เพื่อฝึกให้นักเรียนเป็นบุคคลที่ใฝ่เรียนใฝ่รู้ การพัฒนาความคิดใหม่ๆ ความมีคุณธรรมจริยธรรม เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ให้กับเพื่อนมนุษย์ และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีผลกระทบต่อความเจริญก้าวหน้าของทุก ๆ สังคมในโลกปัจจุบันนี้ เ ท ค โ น โ ล ยีด้า น นี้มีก า ร เ ป ลี่ย น แ ป ล ง อ ย่า ง ร ว ด เ ร็ว จึงเป็น เรื่อ งยากที่ป ร ะช าช น จ ะ ค อ ย ติด ต าม ค ว าม ก้าวห น้าอ ยู่ต ล อ ด เว ล าแ ล ะ เป็น สิ่ง ที่ ไ ม่ เ กิ ด ป ร ะ โ ย ช น์ คุ้ ม ค่ า อี ก ด้ ว ย ดังนั้นการศึกษาเทคโนโลยีของคอมพิวเตอร์จึงต้องศึกษาหลักการและเนื้อหาพื้น ฐานเป็นสาคัญ การศึกษาด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์เป็นสิ่งจาเป็นเสมือนกับการศึกษาวิทยา ศาสตร์ธรรมชาติ คอมพิวเตอร์ได้เปลี่ยนแปลงโลกของเราในด้านต่าง ๆ มากมายได้แก่ - สังคมโดยส่วนใหญ่เปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมเป็นสังคมสารสนเทศ - การตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ มักขึ้นอยู่กับข้อมูลซึ่งได้จากระบบคอมพิวเตอร์ - คอมพิวเตอร์กลายเป็นเครื่องมือที่สาคัญแทนเครื่องมืออื่น ๆ ในอดีต เช่น เครื่องพิมพ์ดีด เครื่องคิดเลข เป็นต้น - คอมพิวเตอร์ถูกใช้ในการออกแบบสถานการณ์หรือปัญหาที่ซับซ้อนต่าง ๆ - คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์หลักที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารของโลกปัจจุบัน ส รุ ป ค ว า ม ห ม า ย ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ : โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนสนใจ โดยนักเรียนจะต้องวางแผนการดาเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องหรือ กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ ผู้เรียนได้ทาการศึกษาค้นคว้าและฝึกปฏิบัติด้วยตนเองตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจ โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีผลกระทบต่อความเจริญก้าวหน้าของทุก ๆ สังคมในโลกปัจจุบันนี้ เ ท ค โ น โ ล ยีด้า น นี้มีก า ร เ ป ลี่ย น แ ป ล ง อ ย่า ง ร ว ด เ ร็ว จึงเป็น เรื่อ งยากที่ป ร ะ ช าช น จ ะ ค อ ยติด ต าม ค ว าม ก้าวห น้าอ ยู่ต ล อ ด เว ล าแ ล ะ เป็น สิ่ง ที่ ไ ม่ เ กิ ด ป ร ะ โ ย ช น์ คุ้ ม ค่ า ดังนั้นการศึกษาเทคโนโลยีของคอมพิวเตอร์จึงต้องศึกษาหลักการและเนื้อหาพื้น ฐานเป็นสา คัญ
  • 3. ค ว า ม ส า คัญ ข อ ง ก า ร ท า โ ค ร ง ง า น ค อ ม พิว เต อ ร์ : โ ค ร ง ง า น ค อ ม พิว เต อ ร์ คือ ผลงานที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าตามความสนใจ ความถนัดและความสามารถของผู้เรียน โดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ โครงงานจึงเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีการเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โ ด ย ผู้เรีย น จ ะ ห า หัว ข้อ โ ค ร ง ง าน ที่ต น เอ ง ส น ใ จ ร ว ม ทั้ง เชื่อ ม โ ย ง ค ว า ม รู้ต่า ง ๆ แ ล ะ ค ว า ม รู้ ด้ า น ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ เ พื่ อ ส ร้ า ง ผ ล ง า น ต า ม ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ไ ด้ อ ย่ า ง เ ห ม า ะ ส ม โดยมีครูเป็นที่ปรึกษาและให้คา แนะนา ความสามารถที่เกิดจากการทา โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานค อมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่ทาให้ผู้เรียนเกิดความสามารถในด้านต่าง ๆ ที่สาคัญ 5 ประการ ดังนี้ 1.ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถที่เกิดจากการที่นักเรียนเป็นผู้ทา โครงงานต้องนา เส นอผลงานให้ ครูและเพื่อนนักเรียนให้เข้าใจโครงงานคอม พิวเตอร์ได้อย่างชัดเจน ดังนั้น ผู้ทาโครงงานต้องสื่อสารความคิดในการสร้างสรรค์โครงงานด้วยการเขียน หรือด้วยปากเปล่า รว ม ทั้งเลือ ก ใช้รูป แบ บ ข อ งสื่อ อ ย่างมีป ร ะสิท ธิภ าพ เพื่อน าเส น อ แ น วคิด ใน ก าร จัด โครงงานให้ผู้อื่นได้เข้าใจ 2.ความสามารถในการคิด ซึ่งผู้เรียนจะมีการคิดในลักษณะต่าง ๆ ดังนี้ - การคิดวิเคราะห์ เกิดจากการที่ผู้เรียนต้องวิเคราะห์ปัญหาและแยกแยะสาเหตุว่าเกิดเนื่องจากอะไร - ก า ร คิด สัง เค ร า ะ ห์ เกิด จ า ก ก า ร ที่ผู้เรีย น ต้อ ง น า ค ว า ม รู้ต่า ง ๆ ที่เรีย น ม า รวมทั้งความรู้จากการค้นหาข้อมูล เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาหรือการสร้างสรรค์โครงงาน - การคิดอย่างสร้างสรรค์ เกิดจากการที่ผู้เรียนนา ความรู้มาสร้างสรรค์ผลงานใหม่ ๆ - การคิดอย่างมีวิจารณญาณ เกิดจากการที่ผู้เรียนได้มีการคิดไตร่ตรองว่าควรทา โครงงานใดและไม่ควรทา โค รง งาน ใด เนื่อ งจ าก โค รงงาน ที่ส ร้างขึ้น อ าจส่งผ ล ก ระท บ ต่อสังค ม โด ยรวม เช่น โครงงานระบบคานวณเลขหวย สาหรับหาเลขที่คาดว่าสลากกินแบ่งรัฐบาลจะออกในแต่ละงวด อาจส่งผลกระทบต่อสังคม ทา ให้คนในสังคมเกิดความหมกมุ่นในกับการใช้เงินเล่นหวยมากขึ้น - ก า ร คิด อ ย่า ง เป็น ร ะ บ บ เกิด จ า ก ก า ร ที่ผู้เรีย น คิด แ ก้ปัญ ห า อ ย่า ง เป็น ขั้น ต อ น โดยใช้ขั้นตอนในการพัฒนาโครงงาน คือ ผู้เรียนเป็นผู้วางแผนในการศึกษา ค้นคว้า เก็บรวบรวมข้อมูล พัฒนา หรือประดิษฐ์คิดค้นผลงาน รวมทั้งการสรุปผลและการนา เสนอผลการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยมีผู้สอนและผู้ทรงคุณวุฒิเป็นผู้ให้คา ปรึกษา
  • 4. 3.ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร แ ก้ปัญ ห า เกิด จ า ก ก า ร ที่ผู้เรีย น วิเค ร า ะ ห์ปัญ ห า เข้า ใ จ แ ล ะ อ ธิบ า ย ปั ญ ห า ท า ง ด้า น ค อ ม พิว เต อ ร์ ร ว ม ทั้ง ป ร ะ ยุก ต์ค ว า ม รู้ ทัก ษ ะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา 4.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เกิดจากการที่ผู้เรียนได้นาความรู้และกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน การพัฒ น าโครงงาน และนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ได้อย่างเหมาะสม รวมถึงการพัฒนาโครงงาน ก่อให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง อันนา ไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต 5.ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เกิดจากการที่ผู้เรียนสามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใน การแก้ปัญหาได้ อย่างถูกต้องเหมาะสม และมีคุณธรรม พัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ตามขั้นตอนต่อไปนี้ คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ โดยทั่วไปเรื่องที่จะนามาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากปัญหา คาถาม หรือความสนใจในเรื่องต่างๆ จากการสังเกตสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ รอบตัว ปัญหาที่จะนา มาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ได้จากแหล่งต่างๆ กัน ดังนี้ 1. การอ่านค้นคว้าจากหนังสือ เอกสาร หนังสือพิมพ์ หรือวารสารต่างๆ 2. การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ 3. การฟังบรรยายทางวิชาการ รายการวิทยุและโทรทัศน์ รวมทั้งการสนทนาอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างเพื่อนนักเรียนหรือกับบุคคลอื่นๆ 4. กิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน 5. งานอดิเรกของนักเรียน 6. การเข้าชมงานนิทรรศการหรืองานประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์ ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนา มาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ควรพิจารณาองค์ประกอบสา คัญ ดังนี้
  • 5. 1. ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา 2. สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องได้ 3. มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคา ปรึกษา 4. มีเวลาเพียงพอ 5. มีงบประมาณเพียงพอ 6. มีความปลอดภัย ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอคา ปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จะช่วยให้นักเรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกา หนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดา เนินการทา โครงงานนั้ นได้อย่างเหมาะสม ในการศึกษาจะต้องได้คา ตอบว่า 1. จะทา อะไร 2. ทา ไมต้องทา 3. ต้องการให้เกิดอะไร 4. ทา อย่างไร 5. ใช้ทรัพยากรอะไร 6. ทา กับใคร 7. เสนอผลอย่างไร องค์ประกอบของเค้าโครงของโครงงาน รายงาน รายละเอียดที่ต้องระบุ ชื่อโครงงาน ทา อะไร กับใคร เพื่ออะไร ประเภทโครงงาน วิเคราะห์จากลักษณะของประโยชน์หรือผลงานที่ได้ ชื่อผู้จัดทา โครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน อาจเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มก็ได้ ครูที่ปรึกษาโครงงาน ครู-อาจารย์ผู้ทา หน้าที่เป็นที่ปรึกษา
  • 6. และควบคุมการทา โครงงานของนักเรียน ครูที่ปรึกษาร่วม ครู-อาจารย์ผู้ทา หน้าที่เป็นที่ปรึกษาร่วม ให้คา แนะนา ในการทา โครงงานของนักเรียน ระยะเวลาดา เนินงาน ระยะเวลาการดา เนินงานโครงงาน ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด กา หนดเป็นวัน หรือ เดือนก็ได้ แนวคิด ที่มา และความสาคัญ สภาพปัจจุบันที่เป็นความต้องการและความคาดหวังที่จะเกิดผล วัตถุประสงค์ สิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดโครงงานทั้งในเชิงกระบวนการ และผลผลิต หลักการและทฤษฎี หลักการและทฤษฎีที่นา มาใช้ในการพัฒนาโครงงาน วิธีดา เนินงาน กิจกรรมหรือขั้นตอนการดา เนินงาน เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ งบประมาณ และผู้รับผิดชอบ ขั้นตอนการปฏิบัติ วัน เวลา และกิจกรรมดา เนินการต่างๆ ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด ผลที่คาดว่าจะได้รับ สภาพของผลที่ต้องการให้เกิด ทั้งที่เป็นผลผลิต กระบวนการ และผลกระทบ เอกสารอ้างอิง สื่อเอกสาร ข้อมูลที่ได้จากแหล่งต่างๆ ที่นา มาใช้ในการดา เนินงาน การลงมือทาโครงงาน เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ก็เสมือนว่าการจัดทา โครงงานได้ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่าครึ่ง ขั้นตอนต่อไปจะเป็นการลงมือพัฒนาตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ ดังนี้ 4.1 การเตรียมการ ก า ร เต รีย ม ก า ร ต้อ ง เต รีย ม เค รื่ อ ง ค อ ม พิว เต อ ร์ ซ อ ฟ ต์แ ว ร์ แ ล ะ วัส ดุอื่น ๆ ที่ จ ะ ใ ช้ ใ น ก า ร พั ฒ น า ใ ห้ พ ร้ อ ม ด้ ว ย แ ล ะ ค ว ร เต รียม ส มุด บัน ทึก ห รือ บัน ทึก เป็น แ ฟ้ ม ข้อ ค ว าม ไ ว้ใน ร ะ บ บ ค อ ม พิว เต อ ร์
  • 7. สาหรับบันทึกการทากิจกรรมต่างๆ ระหว่างทาโครงงาน ได้แก่ ได้ปฏิบัติอย่างไร ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและแก้ไขได้หรือไม่อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่างๆ ที่พบ 4.2 การลงมือพัฒนา 1. ปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ในเค้าโครง แต่อาจเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมได้ถ้าพบว่าจะช่วยทา ให้ผลงานดีขึ้น 2. จัดระบบการทา งานโดยทา ส่วนที่เป็นหลักสา คัญๆ ให้แล้วเสร็จก่อน จึงค่อยทา ส่วนที่เป็นส่วนประกอบหรือส่วนเสริมเพื่อให้โครงงานมีความสมบูรณ์มากขึ้น และถ้ามีการแบ่งงานกันทา ให้ตกลงรายละเอียดในการต่อเชื่อมชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย 3. พัฒนาระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบ และบันทึกข้อมูลไว้อย่างเป็นระบบและครบถ้วน 4.3 การทดสอบผลงานและแก้ไข การตรวจสอบความถูกต้องของผลงาน เป็นความจา เป็นเพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้นทา งานได้ถูกต้องตรงกับความต้องการ ที่ระบุไว้ในเป้าหมายและทา ด้วยประสิทธิภาพสูงด้วย 4.4 การอภิปรายและข้อเสนอแนะ เมื่อพัฒนาผลงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทา สรุปด้วยข้อความที่สั้นกะทัดรัดอย่างครอบคลุม เพื่อช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงสิ่งที่ค้นพบจากการทา โครงงาน และทา การอภิปรายผลด้วย เพื่อพิจารณาข้อมูลและผลที่ได้ พร้อมกับนา ไปหาความสัมพันธ์กับหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานที่ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว ทั้งนี้ยังรวมถึงการนา หลักการ ทฤษฎี หรือผลงานของผู้อื่นมาใช้ประกอบการอภิปรายผลที่ได้ด้วย 4.5 แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ เมื่อทา โครงงานเสร็จสิ้นลงแล้ว นักเรียนอาจพบข้อสังเกต ประเด็นที่สา คัญ หรือปัญหา ซึ่งสามารถเขียนเป็นข้อเสนอแนะและสิ่งที่ควรจะศึกษาและหรือใช้ประโยชน์ต่อไปได้ การเขียนรายงาน
  • 8. ก า ร เขีย น ร า ย ง า น เป็ น วิธีก า ร สื่ อ ค ว า ม ห ม า ย เพื่อ ใ ห้ผู้อื่น ไ ด้เข้า ใ จ แ น ว คิด วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับโครงงานนั้น ใน การเขียน รายงาน นักเรียน ควรใช้ภ าษ าที่อ่าน ง่าย ชัดเจน กระชับ และตรงไป ตรงม า ให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆเหล่านี้ 5.1 ส่วนนา ส่วนนา เป็นการให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานนั้นซึ่งประกอบด้วย 1. ชื่อโครงงาน 2. ชื่อผู้ทา โครงงาน 3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 4. คา ขอบคุณ เป็นคา กล่าวขอบคุณบุคคลหรือหน่วยงาน ที่มีส่วนช่วยทา ให้โครงงานสา เร็จ 5. บทคัดย่อ อธิบายถึงที่มา ความสา คัญ วัตถุประสงค์ วิธีดา เนินการ และผลที่ได้โดยย่อ 5.2 บทนา บทนา เป็นส่วนรายละเอียดของเนื้อหาของโครงงานซึ่งประกอบด้วย 1. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 2. เป้าหมายของการศึกษาค้นคว้า 3. ขอบเขตของโครงงาน 5.3 หลักการและทฤษฎี หลักการและทฤษฎี เป็นส่วนสรุปข้อมูลที่ได้จากการศึกษาหาข้อมูลหรือหลักการ ทฤษฎี หรือวิธีการที่จะนา มาใช้ในการพัฒนาโครงงาน ซึ่งรวมถึงการระบุผลงานของผู้อื่นที่นักเรียนนา มาเปรียบเทียบหรือพัฒนาเพิ่มเติมด้วย 5.4 วิธีดาเนินการ วิธีดา เนินการ อธิบายขั้นตอนการดา เนินงานโดยละเอียด พร้อมทั้งระบุปัญหาหรืออุปสรรคที่พบพร้อมทั้งวิธีการที่ใช้แก้ไข พร้อมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการทา งาน
  • 9. 5.5 ผลการศึกษา ผลการศึกษา นา เสนอข้อมูลหรือระบบที่พัฒนาได้ โดยอาจแสดงเป็นตาราง หรือ กราฟ หรือข้อความ ทั้งนี้ให้คา นึงถึงความเข้าใจของผู้อ่านเป็นหลัก 5.6 สรุปผลและข้อเสนอแนะ สรุปผลและข้อเสนอแนะ อธิบายผลสรุปที่ได้จากการทา งาน ถ้ามีการตั้งสมมติฐานควรระบุด้วยว่าข้อมูลที่ได้สนับสนุนหรือคัดค้านสมมติฐานที่ตั้งไว้หรือยังสรุปไม่ ได้ นอกจากนั้นยังควรกล่าวถึงการนา ผลการทดลองหรือพัฒนาไปใช้ประโยชน์ อุปสรรคของการทา โครงงาน หรือข้อสังเกตที่สา คัญ หรือข้อผิดพลาดบางประการที่เกิดขึ้นจากการทา โครงงานนี้ รวมทั้งข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขหากจะมีผู้ศึกษาค้นคว้าในเรื่องทา นองนี้ต่อไปในอนาคตด้วย 5.7 ประโยชน์ ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน ระบุประโยชน์ที่นักเรียนได้รับจากการพัฒนาโครงงานนั้น และประโยชน์ที่ผู้ใช้จะได้รับจากการนา ผลงานของโครงงานไปใช้ด้วย 5.8 บรรณานุกรม บรรณานุกรม รวบรวมรายชื่อหนังสือ วารสาร เอกสาร หรือเว็บไซด์ต่างๆ ที่ผู้ทา โครงงานใช้ค้นคว้า หรืออ่านเพื่อศึกษาข้อมูลและรายละเอียดต่างๆ ที่นา มาใช้ประโยชน์ในการทา โครงงานนี้การเขียนเอกสารบรรณานุกรมต้องให้ถูกต้องตามหลักการเขียนด้วย 5.9 การจัดทา คู่มือการใช้งาน หาโครงงานที่นักเรียนจัดทา เป็นการพัฒนาระบบใหม่ขึ้นมา ให้นักเรียนจัดทา คู่มืออธิบายวิธีการใช้ผลงานนั้นโดยละเอียด ซึ่งประกอบด้วย 1. ชื่อผลงาน 2. ความต้องการของระบบคอมพิวเตอร์ ระบุรายละเอียดของคอมพิวเตอร์ที่ต้องมีเพื่อจะใช้ผลงานนั้นได้ 3. ความต้องการของซอฟต์แวร์ ระบุรายชื่อซอฟต์แวร์ที่ต้องมีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อจะให้ผลงานนั้นทา งานได้อย่างสมบูรณ์
  • 10. 4. คุณลักษณะของผลงาน อธิบายว่าผลงานนั้นทา หน้าที่อะไรบ้าง รับอะไรเป็นข้อมูลขาเข้าและส่วนอะไรออกมาเป็นข้อมูลขาออก 5. วิธีการใช้งานของแต่ละฟังก์ชัน อธิบายว่าจะต้องกดคา สั่งใด หรือกดปุ่มใด เพื่อให้ผลงานทา งานในฟังก์ชันหนึ่งๆ การนาเสนอและแสดงโครงงาน การนา เสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สา คัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทา โครงงาน เพื่อแสดงออกถึงผลิตผลความคิด ความพยายามในการทา งานที่ผู้ทา โครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีทา ให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้น การเสนอผลงานอาจทา ได้ในหลายรูปแบบต่างๆ กัน เช่น การแสดงผลงานโดยไม่มีการอธิบายประกอบการรายงานด้วยคา พูดในที่ประชุม การจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์และอธิบายด้วยคา พูด เป็นต้น โดยผลงานที่นา มาเสนอหรือจัดแสดงควรประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้ 1. ชื่อโครงงาน 2. ชื่อผู้จัดทา โครงงาน 3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 4. คา อธิบายถึงที่มาและความสา คัญของโครงงาน 5. วิธีการดา เนินการที่สา คัญ 6. การสาธิตผลงาน 7. ผลการสังเกตและข้อสรุปสา คัญที่ได้จากการทา โครงงาน แหล่งที่มา : http://pnamboay.wordpress.com/category/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E 0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E 0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0 %B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E/ http://krudarin.wordpress.com/%E0%B8%95%E0%B8%81%E0%B9%81%E0%B8%95%E0%B9%88 %E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B9%87%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%9E%
  • 11. E0%B8%88%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E 0%B8%B2%E0%B8%9F%E0%B8%B4/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E 0%B8%AA%E0%B8%B3%E0%B8%84%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%82%E0%B8%AD%E 0%B8%87%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0 %B8%99%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1/ http://www.acr.ac.th/acr/ACR_E-Learning/ CAREER_COMPUTER/COMPUTER/M4/ComputerProject/content2.html จัดทาโดย นายพบพล สิริพรคุณ เลขที่ 10 นายอนัส ดีหมัด เลขที่ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/9